SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
ก
รายงานผลงานสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เรื่อง Portable Air-Purifier vacuum
โดย
นายอินทัช เยี่ยงศุภพานนทร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
นางสาวรุธิรา ล่ำดี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
นางสาวธนัญญา เงาสว่างจิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ครุที่ปรึกษา
นายธนาวุฒิ โพธิ์เตี้ย
นายศิวพันธ์ ฤาชา
โรงเรียนสารสาสน์วิเทศสุวรรณภูมิ
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบโครงการประกวดสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์และโนโลยี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
เนื่องในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ส่วนภูมิภาค ประจำปี 2564
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2564
ก
เจ้าของผลงานสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1.นายอินทัช เยี่ยงศุภพานนทร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เกิดวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2548
2.นางสาวรุธิรา ล่ำดี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เกิดวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2547
3.นางสาวธนัญญา เงาสว่างจิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เกิดวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2547
โรงเรียนสารสาสน์วิเทศสุวรรณภูมิ สมุทรปราการ
189 หมู่ 4 ถนน บางพลี-หนามแดง ตำบลบางพลีใหญ่ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540
โทรศัพท์ : 02-183-9689-91
E-mail : swsb001@gmail.com
ครุที่ปรึกษา
1.นายธนาวุฒิ โพธิ์เตี้ย
2.นายศิวพันธ์ ฤาชา
PAP vacuum (Portable Air-Purifier vacuum)
ก
บทคัดย่อ
ชื่อสิ่งประดิษฐ์ : PAP vacuum (Portable Air-Purifier vacuum)
ชื่อผู้ประดิษฐ์ : นายอินทัช เยี่ยงศุภพานนทร์
นางสาวรุธิรา ล่ำดี
นางสาวธนัญญา เงาสว่างจิต
ครูที่ปรึกษา : นายธนาวุฒิ โพธิ์เตี้ย
นายศิวพันธ์ ฤาชา
โรงเรียน : โรงเรียนสารสาสน์วิเทศสุวรรณภูมิ
การศึกษาการใช้งาน PAP vacuum มีจุดมุ่งหมายเพื่อแก้ปัญหาควันภายในบ้าน
โดยเฉพาะในห้องครัว เนื่องจากปัญหาควันภายในบ้านอาจส่งผลกระทบถึงระบบทางเดิน
หายใจของผู้อยู่อาศัย โดยใช้หลักการดูดควันและฟอกให้อากาศกลับมาเป็นอากาศบริสุทธิ์
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานนี้สำเร็จได้ด้วยความกรุณาช่วยเหลือแนะนำอย่างดียิ่งจากอาจารย์ธนาวุฒิ
โพธิ์เตี้ย และอาจารย์ศิวพันธ์ ฤาชา อาจารย์ที่ปรึกษาที่คอยให้คำแนะนำและข้อคิดเห็นต่างๆ
ในการทำโครงงานตลอดจนสามารถแก้ไขข้อบกพร่องและปัญหาต่างๆ มาโดยตลอด
สุดท้ายนี้ผู้จัดทำโครงงานขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงที่ได้สั่งสอนมาและ
ช่วยเหลือจนสามารถทำให้โครงงานชิ้นนี้เสร็จลุล่วงไปได้ รวมไปถึงการสนับสนุนโครงงานนี้
ตลอดมา
คณะผู้จัดทำ
ค
สารบัญ
หัวข้อ หน้า
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
ความเป็นมา/แนวคิด/แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน
วัตถุประสงค์
หลักการ/แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และกระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรมที่ใช้ในการประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์
ขั้นตอนการผลิตสิ่งประดิษฐ์
วัสดุอุปกรณ์
ประโยชน์ที่ได้รับและคุณค่าของผลงาน
สถานที่ประดิษฐ์
หลักการทำงาน
ขั้นตอนการต่อวงจร
สรุป/ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ์
รูปภาพของผลงานสิ่งประดิษฐ์
ก
ข
ค
1
1
2
2
3
3
4
4
4
4
5
ค
1
การทำอาหารทุกวันเป็นวิถีชีวิตของคนไทย แต่คนไทยส่วนใหญ่ไม่ได้ตระหนักถึงมลพิษที่เกิดจากการทำอาหารซึ่ง
มีความอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะการทำอาหารภายในที่อยู่อาศัย ส่วนใหญ่แล้ววิธีการทำอาหารโดยการ
ผัด การทอด การปิ้งย่างจะมีความสัมพันธ์กับโรคระบบทางเดินหายใจควันจากการทำอาหารถือเป็นมลพิษทางอากาศ
ภายในอาคารอย่างหนึ่ง และสถานที่ในการทำอาหารภายในบ้านก็มีความสัมพันธ์กับโรคระบบทางเดินหายใจ
พวกเราได้เล็งเห็นถึงปัญหาควันภายในบ้าน โดยเฉพาะควันที่อยู่ในห้องครัวที่มีลักษณะปิด เพราะควันไม่สามารถ
ถ่ายเทออกจากห้องได้อย่างสะดวก ควันจากการทำอาหารนอกจากจะส่งกลิ่นไม่พึงประสงค์แล้วยังส่งผลต่อระบบทางเดิน
หายใจของคนในบ้านอีกด้วย
ผลงานสิ่งประดิษฐ์ชิ้นนี้เป็นผลงานที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากเครื่องฟอกอากาศรวมเข้ากับเครื่องกรองอากาศ ซึ่ง
โดยปกติแล้วมักจะเป็นแบบตั้งพื้น ไม่สามารถพกพาหรือเคลื่อนที่ได้ให้กลายเป็น เครื่องกรองพร้อมฟอกอากาศแบบพกพา
ทางผู้จัดทำได้นำหลักการทำงานของทั้ง2เครื่องมาประยุกต์ใช้กับสิ่งประดิษฐ์
วัตถุประสงค์
1.เพื่อออกแบบและสร้างอุปกรณ์สำหรับกำจัดมลพิษทางอากาศ
2.เพื่อคิดค้นวิธีสร้างความปลอดภัยต่อระบบทางเดินหายใจของผู้อยู่อาศัย
3.เพื่อสร้างกำจัดกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ในพื้นที่ต่างๆอันซึ่งเกิดจากควันและมลพิษทางอากาศ
ความเป็นมา/แนวคิด/แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน
2
หลักการ/แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมที่ใช้ในการประดิษฐ์
สิ่งประดิษฐ์
ส่วนสิ่งประดิษฐ์ :
พัดลมคอมพิวเตอร์ จะมีหลักการทำงานคล้ายกับพัดลมดูดอากาศ ทำหน้าที่ดึงอากาศเข้ามาสู่ด้านในของ PAP
Vacuum ส่วนตัวกรองทั้ง2ชั้น จะใช้หลักการการกรอง(Filtration) ซึ่งเป็นการแยกสารทางกายภาพ(Physical Filtration)
เพื่อแยกสาร หรือ โมเลกุลที่มีขนาดใหญ่(Unwanted Substance) ออกจากสารที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก(Wanted
Substance) โดยตัวกรองนั้นต้องมีขนาดอยู่กึ่งกลางระหว่างสารโมเลกุลใหญ่กว่าและสารโมเลกุลเล็กกว่า
ส่วนแท่นชาร์จ :
เป็นการนำเอาพลังงานไฟฟ้า(Electrical Energy)ที่ได้รับจากโซลาร์เซลล์ ถ่ายโอนไปยังแท่นชาร์จโดยสายไฟดำ-
แดง เพื่อนำไปบรรจุเข้ากับแบตเตอรี่อีกรอบ
ขั้นตอนการผลิตสิ่งประดิษฐ์
ส่วนสิ่งประดิษฐ์ :
1.ใช้เลื่อยตัดส่วนบนของกล่องทิชชู่ 1 กล่อง และนำมาต่อกับอีกกล่องโดยใช้กาวร้อนเป็นตัวเชื่อม จากนั้นตัด
บริเวณกึ่งกลางของกล่องทิชชู่เป็นสี่เหลี่ยม 2 ที่
2.นำกระดาษลูกฟูกมาพับครึ่งแล้วตัดเป็นรูปโดนัทเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 ซม.พร้อมติ่ง โดยจะทำทั้งหมด 2 ชิ้น
3.นำสำลีและแผ่นกรองภายในหน้ากากอนามัยมาวางแผ่ให้คลุมแผ่นรูปโดนัทแล้วพับกลับเป็นทรงเดิม
4.ทุบก้อนถ่านให้เป็นชิ้นเล็กๆ จากนั้นบรรจุใส่กล่องพลาสติก และเจาะรูที่ด้านบน
5.นำองค์ประกอบทั้งหมดประกอบเข้าสู่กล่องทิชชู่
ส่วนแท่นชาร์จ :
1.ต่อสายไฟดำ-แดงของแท่นชาร์จแบตเตอรี่ และ โซลาร์เซลล์ เข้าด้วยกัน
3
วัสดุอุปกรณ์
1.กล่องใส่ทิชชู่แบบม้วน จำนวน 2 กล่อง
2.ขั้วถ่านสำหรับแบตเตอรี่ แรงดันไฟฟ้า 9V จำนวน 1 ชิ้น
3.ด้ามจับพลาสติก จำนวน 1 ชิ้น
4.พัดลมคอมขนาด 12 cm. แรงดันไฟฟ้า 12V จำนวน 1 ตัว
5.กล่องพลาสติก จำนวน 2 ชิ้น
6.กระดาษลูกฟูก จำนวน 1 แผ่น
7.แท่นชาร์จแบตเตอรี่ จำนวน 1 ชิ้น
8.แบตชาร์จ TORIYAMA 320 แรงดันไฟฟ้า 9V จำนวน 1 ก้อน
9.สำลี จำนวน 1 แผ่น
10.หน้ากากอนามัยแบบคาร์บอน จำนวน 1 ชิ้น
11.ถ่านอัดก้อน จำนวน ½ ก้อน
12.กรรไกร จำนวน 1 เล่ม
13.ปืนกาวร้อน จำนวน 1 กระบอก
14.เลื่อย จำนวน 1 ปื้น
15.แผงโซลาร์เซลล์ขนาด 10W จำนวน 1 แผง
ประโยชน์ที่ได้รับและคุณค่าของผลงาน
สิ่งประดิษฐ์ของเราสามารถใช้ในการกรองฝุ่นควันมลพิษให้กลับมาเป็นอากาศบริสุทธิ์ไม่มีกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้
อีกทั้ง จากการลงพื้นที่และสำรวจของทางคณะผู้จัดทำปรากฎว่าเครื่องดูดอากาศ เครื่องกรองอากาศและเครื่องฟอก
อากาศที่จำหน่ายอยู่ในปัจจุบันมีราคาสูงทาง คณะผู้จัดทำจึงเล็งเห็นในการประยุกต์และนำเอาวัสดุอุปกรณ์ในครัวเรือน
มาประดิษฐ์ให้กลายเป็นเครื่องที่รวมกระบวนการทั้งเครื่องดูดอากาศ เครื่องกรองอากาศ และเครื่องฟอกอากาศ เข้า
ด้วยกันและทำให้มีราคาที่ถูกลง ทำให้ผู้คนที่ประกอบอาชีพในการค้าขายหรือประกอบอาหารหรืออาชีพที่มีฝุ่นควันเข้า
มาเกี่ยวข้องสามารถทำงานและลดความเสี่ยงในการเกิดโรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจได้ดียิ่งขึ้น
4
สถานที่ที่ประดิษฐ์
โรงเรียนสารสาสน์วิเทศสุวรรณภูมิ สมุทรปราการ 189 หมู่ 4 ถนน บางพลี-หนามแดง ตำบลบางพลีใหญ่
อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540
หลักการทำงาน
PAP vacuum หรือ Portable Air-Purifier vacuum โดยหลักการทำงานของสิ่งประดิษฐ์จะมีความคล้าย
กับหลักการทำงานของเครื่องดูดฝุ่นรวมกับเครื่องกรองอากาศและเครื่องฟอกอากาศ เมื่อนำแบตเตอรี่มาใส่แล้ว พัด
ลมคอมจะเริ่มทำงานและทำหน้าที่ดูดอากาศและควันเข้ามา ควันที่ถูกดูดเข้ามาในขั้นแรกจะผ่านตัวกรองขั้นที่ 1
ซึ่งเป็นขั้นที่หยาบที่สุด นั่นก็คือสำลีเพราะสำลีคือตัวกรองแบบหยาบ เพราะสามารถกรองสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่
ทำให้เศษผง เศษเขม่าไม่สามารถผ่านการกรองของสำลีไปได้ หลังจากผ่านตัวกรองขั้นแรก อันดับถัดมาจะเป็นตัว
กรองขั้นที่ 2 ซึ่งก็คือแผ่นกรองคาร์บอนจากหน้ากากอนามัยที่มีประสิทธิภาพในการกรองที่ดี ในการกรองชั้นนี้จะ
สามารถกรองแบคทีเรียและเชื้อโรคได้ เมื่อควันและอากาศได้ผ่านการกรองขั้นที่ 2 จะมีการดูดซับกลิ่นที่ไม่พึง
ประสงค์ได้จากผงถ่านอัดก้อน อากาศจะสามารถออกสู่ภายนอกได้ตามช่องทางออกของเครื่อง
สรุป/ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ์
1.สิ่งประดิษฐ์มีข้อบกพร่องคือ ขณะใช้งานต้องนำสิ่งประดิษฐ์จ่อเข้าใกล้กับควันมากจนมือของผู้ใช้งานอาจโดนควัน
2.ถ่านหนึ่งก้อนใช้ได้นาน แต่เมื่อนำไปชาร์จก็ใช้เวลานานเช่นกัน หากสามารถบรรจุพลังงานไฟฟ้าลงในแบตเตอรี่ได้
เร็วกว่านี้จะดีมาก
ทั้งสองข้อบกพร่องนี้ถูกจำกัดโดยโซลาร์เซลล์ที่ทางกองการแข่งขันได้ส่งมาให้และเป็นวัสดุบังคับเพราะหากมีโซลาร์
เซลล์ที่สามารถรับกระแสไฟฟ้าได้มากกว่านี้จะทำให้ข้อบกพร่องทั้งสองไม่เกิดขึ้น
5
รูปภาพสิ่งประดิษฐ์

More Related Content

What's hot

โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
พัน พัน
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
พัน พัน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
Champ Wachwittayakhang
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
Samorn Tara
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
ืnattakamon thongprung
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
พัน พัน
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
เทวัญ ภูพานทอง
 

What's hot (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
การเจริญเติบโตของเอมบริโอ กลุ่ม 10 ห้อง 343
การเจริญเติบโตของเอมบริโอ กลุ่ม 10 ห้อง 343การเจริญเติบโตของเอมบริโอ กลุ่ม 10 ห้อง 343
การเจริญเติบโตของเอมบริโอ กลุ่ม 10 ห้อง 343
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
 
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสสงานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
Ast.c2560.5tp
Ast.c2560.5tpAst.c2560.5tp
Ast.c2560.5tp
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)
 

Similar to รายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuum

เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
Wichai Likitponrak
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
Pimsupa Wunliam
 
งานหน วยประมวลผล (2) Present 4-11 (Group2)
งานหน วยประมวลผล (2) Present 4-11 (Group2)งานหน วยประมวลผล (2) Present 4-11 (Group2)
งานหน วยประมวลผล (2) Present 4-11 (Group2)
Supaksorn Tatongjai
 

Similar to รายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuum (10)

เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
 
รายงานแข่งขันรีไซเคิล
รายงานแข่งขันรีไซเคิลรายงานแข่งขันรีไซเคิล
รายงานแข่งขันรีไซเคิล
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
งานหน วยประมวลผล (2) Present 4-11 (Group2)
งานหน วยประมวลผล (2) Present 4-11 (Group2)งานหน วยประมวลผล (2) Present 4-11 (Group2)
งานหน วยประมวลผล (2) Present 4-11 (Group2)
 
Menstrual cycle Group 6 342
Menstrual cycle Group 6 342 Menstrual cycle Group 6 342
Menstrual cycle Group 6 342
 
Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009
 
Book Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 FullBook Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 Full
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
 
ประกาศผลสอบคัดเลือก รอบ 2 ปีการศึกษา 2558
ประกาศผลสอบคัดเลือก รอบ 2 ปีการศึกษา 2558ประกาศผลสอบคัดเลือก รอบ 2 ปีการศึกษา 2558
ประกาศผลสอบคัดเลือก รอบ 2 ปีการศึกษา 2558
 
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
 

รายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuum

  • 1. ก รายงานผลงานสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง Portable Air-Purifier vacuum โดย นายอินทัช เยี่ยงศุภพานนทร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 นางสาวรุธิรา ล่ำดี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 นางสาวธนัญญา เงาสว่างจิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครุที่ปรึกษา นายธนาวุฒิ โพธิ์เตี้ย นายศิวพันธ์ ฤาชา โรงเรียนสารสาสน์วิเทศสุวรรณภูมิ รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบโครงการประกวดสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์และโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เนื่องในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ส่วนภูมิภาค ประจำปี 2564 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2564
  • 2. ก เจ้าของผลงานสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1.นายอินทัช เยี่ยงศุภพานนทร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เกิดวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2548 2.นางสาวรุธิรา ล่ำดี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เกิดวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2547 3.นางสาวธนัญญา เงาสว่างจิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เกิดวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2547 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศสุวรรณภูมิ สมุทรปราการ 189 หมู่ 4 ถนน บางพลี-หนามแดง ตำบลบางพลีใหญ่ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์ : 02-183-9689-91 E-mail : swsb001@gmail.com ครุที่ปรึกษา 1.นายธนาวุฒิ โพธิ์เตี้ย 2.นายศิวพันธ์ ฤาชา PAP vacuum (Portable Air-Purifier vacuum)
  • 3. ก บทคัดย่อ ชื่อสิ่งประดิษฐ์ : PAP vacuum (Portable Air-Purifier vacuum) ชื่อผู้ประดิษฐ์ : นายอินทัช เยี่ยงศุภพานนทร์ นางสาวรุธิรา ล่ำดี นางสาวธนัญญา เงาสว่างจิต ครูที่ปรึกษา : นายธนาวุฒิ โพธิ์เตี้ย นายศิวพันธ์ ฤาชา โรงเรียน : โรงเรียนสารสาสน์วิเทศสุวรรณภูมิ การศึกษาการใช้งาน PAP vacuum มีจุดมุ่งหมายเพื่อแก้ปัญหาควันภายในบ้าน โดยเฉพาะในห้องครัว เนื่องจากปัญหาควันภายในบ้านอาจส่งผลกระทบถึงระบบทางเดิน หายใจของผู้อยู่อาศัย โดยใช้หลักการดูดควันและฟอกให้อากาศกลับมาเป็นอากาศบริสุทธิ์
  • 4. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานนี้สำเร็จได้ด้วยความกรุณาช่วยเหลือแนะนำอย่างดียิ่งจากอาจารย์ธนาวุฒิ โพธิ์เตี้ย และอาจารย์ศิวพันธ์ ฤาชา อาจารย์ที่ปรึกษาที่คอยให้คำแนะนำและข้อคิดเห็นต่างๆ ในการทำโครงงานตลอดจนสามารถแก้ไขข้อบกพร่องและปัญหาต่างๆ มาโดยตลอด สุดท้ายนี้ผู้จัดทำโครงงานขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงที่ได้สั่งสอนมาและ ช่วยเหลือจนสามารถทำให้โครงงานชิ้นนี้เสร็จลุล่วงไปได้ รวมไปถึงการสนับสนุนโครงงานนี้ ตลอดมา คณะผู้จัดทำ
  • 5. ค สารบัญ หัวข้อ หน้า บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ ความเป็นมา/แนวคิด/แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน วัตถุประสงค์ หลักการ/แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรมที่ใช้ในการประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์ ขั้นตอนการผลิตสิ่งประดิษฐ์ วัสดุอุปกรณ์ ประโยชน์ที่ได้รับและคุณค่าของผลงาน สถานที่ประดิษฐ์ หลักการทำงาน ขั้นตอนการต่อวงจร สรุป/ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ์ รูปภาพของผลงานสิ่งประดิษฐ์ ก ข ค 1 1 2 2 3 3 4 4 4 4 5 ค
  • 6. 1 การทำอาหารทุกวันเป็นวิถีชีวิตของคนไทย แต่คนไทยส่วนใหญ่ไม่ได้ตระหนักถึงมลพิษที่เกิดจากการทำอาหารซึ่ง มีความอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะการทำอาหารภายในที่อยู่อาศัย ส่วนใหญ่แล้ววิธีการทำอาหารโดยการ ผัด การทอด การปิ้งย่างจะมีความสัมพันธ์กับโรคระบบทางเดินหายใจควันจากการทำอาหารถือเป็นมลพิษทางอากาศ ภายในอาคารอย่างหนึ่ง และสถานที่ในการทำอาหารภายในบ้านก็มีความสัมพันธ์กับโรคระบบทางเดินหายใจ พวกเราได้เล็งเห็นถึงปัญหาควันภายในบ้าน โดยเฉพาะควันที่อยู่ในห้องครัวที่มีลักษณะปิด เพราะควันไม่สามารถ ถ่ายเทออกจากห้องได้อย่างสะดวก ควันจากการทำอาหารนอกจากจะส่งกลิ่นไม่พึงประสงค์แล้วยังส่งผลต่อระบบทางเดิน หายใจของคนในบ้านอีกด้วย ผลงานสิ่งประดิษฐ์ชิ้นนี้เป็นผลงานที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากเครื่องฟอกอากาศรวมเข้ากับเครื่องกรองอากาศ ซึ่ง โดยปกติแล้วมักจะเป็นแบบตั้งพื้น ไม่สามารถพกพาหรือเคลื่อนที่ได้ให้กลายเป็น เครื่องกรองพร้อมฟอกอากาศแบบพกพา ทางผู้จัดทำได้นำหลักการทำงานของทั้ง2เครื่องมาประยุกต์ใช้กับสิ่งประดิษฐ์ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อออกแบบและสร้างอุปกรณ์สำหรับกำจัดมลพิษทางอากาศ 2.เพื่อคิดค้นวิธีสร้างความปลอดภัยต่อระบบทางเดินหายใจของผู้อยู่อาศัย 3.เพื่อสร้างกำจัดกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ในพื้นที่ต่างๆอันซึ่งเกิดจากควันและมลพิษทางอากาศ ความเป็นมา/แนวคิด/แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน
  • 7. 2 หลักการ/แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมที่ใช้ในการประดิษฐ์ สิ่งประดิษฐ์ ส่วนสิ่งประดิษฐ์ : พัดลมคอมพิวเตอร์ จะมีหลักการทำงานคล้ายกับพัดลมดูดอากาศ ทำหน้าที่ดึงอากาศเข้ามาสู่ด้านในของ PAP Vacuum ส่วนตัวกรองทั้ง2ชั้น จะใช้หลักการการกรอง(Filtration) ซึ่งเป็นการแยกสารทางกายภาพ(Physical Filtration) เพื่อแยกสาร หรือ โมเลกุลที่มีขนาดใหญ่(Unwanted Substance) ออกจากสารที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก(Wanted Substance) โดยตัวกรองนั้นต้องมีขนาดอยู่กึ่งกลางระหว่างสารโมเลกุลใหญ่กว่าและสารโมเลกุลเล็กกว่า ส่วนแท่นชาร์จ : เป็นการนำเอาพลังงานไฟฟ้า(Electrical Energy)ที่ได้รับจากโซลาร์เซลล์ ถ่ายโอนไปยังแท่นชาร์จโดยสายไฟดำ- แดง เพื่อนำไปบรรจุเข้ากับแบตเตอรี่อีกรอบ ขั้นตอนการผลิตสิ่งประดิษฐ์ ส่วนสิ่งประดิษฐ์ : 1.ใช้เลื่อยตัดส่วนบนของกล่องทิชชู่ 1 กล่อง และนำมาต่อกับอีกกล่องโดยใช้กาวร้อนเป็นตัวเชื่อม จากนั้นตัด บริเวณกึ่งกลางของกล่องทิชชู่เป็นสี่เหลี่ยม 2 ที่ 2.นำกระดาษลูกฟูกมาพับครึ่งแล้วตัดเป็นรูปโดนัทเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 ซม.พร้อมติ่ง โดยจะทำทั้งหมด 2 ชิ้น 3.นำสำลีและแผ่นกรองภายในหน้ากากอนามัยมาวางแผ่ให้คลุมแผ่นรูปโดนัทแล้วพับกลับเป็นทรงเดิม 4.ทุบก้อนถ่านให้เป็นชิ้นเล็กๆ จากนั้นบรรจุใส่กล่องพลาสติก และเจาะรูที่ด้านบน 5.นำองค์ประกอบทั้งหมดประกอบเข้าสู่กล่องทิชชู่ ส่วนแท่นชาร์จ : 1.ต่อสายไฟดำ-แดงของแท่นชาร์จแบตเตอรี่ และ โซลาร์เซลล์ เข้าด้วยกัน
  • 8. 3 วัสดุอุปกรณ์ 1.กล่องใส่ทิชชู่แบบม้วน จำนวน 2 กล่อง 2.ขั้วถ่านสำหรับแบตเตอรี่ แรงดันไฟฟ้า 9V จำนวน 1 ชิ้น 3.ด้ามจับพลาสติก จำนวน 1 ชิ้น 4.พัดลมคอมขนาด 12 cm. แรงดันไฟฟ้า 12V จำนวน 1 ตัว 5.กล่องพลาสติก จำนวน 2 ชิ้น 6.กระดาษลูกฟูก จำนวน 1 แผ่น 7.แท่นชาร์จแบตเตอรี่ จำนวน 1 ชิ้น 8.แบตชาร์จ TORIYAMA 320 แรงดันไฟฟ้า 9V จำนวน 1 ก้อน 9.สำลี จำนวน 1 แผ่น 10.หน้ากากอนามัยแบบคาร์บอน จำนวน 1 ชิ้น 11.ถ่านอัดก้อน จำนวน ½ ก้อน 12.กรรไกร จำนวน 1 เล่ม 13.ปืนกาวร้อน จำนวน 1 กระบอก 14.เลื่อย จำนวน 1 ปื้น 15.แผงโซลาร์เซลล์ขนาด 10W จำนวน 1 แผง ประโยชน์ที่ได้รับและคุณค่าของผลงาน สิ่งประดิษฐ์ของเราสามารถใช้ในการกรองฝุ่นควันมลพิษให้กลับมาเป็นอากาศบริสุทธิ์ไม่มีกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้ อีกทั้ง จากการลงพื้นที่และสำรวจของทางคณะผู้จัดทำปรากฎว่าเครื่องดูดอากาศ เครื่องกรองอากาศและเครื่องฟอก อากาศที่จำหน่ายอยู่ในปัจจุบันมีราคาสูงทาง คณะผู้จัดทำจึงเล็งเห็นในการประยุกต์และนำเอาวัสดุอุปกรณ์ในครัวเรือน มาประดิษฐ์ให้กลายเป็นเครื่องที่รวมกระบวนการทั้งเครื่องดูดอากาศ เครื่องกรองอากาศ และเครื่องฟอกอากาศ เข้า ด้วยกันและทำให้มีราคาที่ถูกลง ทำให้ผู้คนที่ประกอบอาชีพในการค้าขายหรือประกอบอาหารหรืออาชีพที่มีฝุ่นควันเข้า มาเกี่ยวข้องสามารถทำงานและลดความเสี่ยงในการเกิดโรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจได้ดียิ่งขึ้น
  • 9. 4 สถานที่ที่ประดิษฐ์ โรงเรียนสารสาสน์วิเทศสุวรรณภูมิ สมุทรปราการ 189 หมู่ 4 ถนน บางพลี-หนามแดง ตำบลบางพลีใหญ่ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 หลักการทำงาน PAP vacuum หรือ Portable Air-Purifier vacuum โดยหลักการทำงานของสิ่งประดิษฐ์จะมีความคล้าย กับหลักการทำงานของเครื่องดูดฝุ่นรวมกับเครื่องกรองอากาศและเครื่องฟอกอากาศ เมื่อนำแบตเตอรี่มาใส่แล้ว พัด ลมคอมจะเริ่มทำงานและทำหน้าที่ดูดอากาศและควันเข้ามา ควันที่ถูกดูดเข้ามาในขั้นแรกจะผ่านตัวกรองขั้นที่ 1 ซึ่งเป็นขั้นที่หยาบที่สุด นั่นก็คือสำลีเพราะสำลีคือตัวกรองแบบหยาบ เพราะสามารถกรองสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ทำให้เศษผง เศษเขม่าไม่สามารถผ่านการกรองของสำลีไปได้ หลังจากผ่านตัวกรองขั้นแรก อันดับถัดมาจะเป็นตัว กรองขั้นที่ 2 ซึ่งก็คือแผ่นกรองคาร์บอนจากหน้ากากอนามัยที่มีประสิทธิภาพในการกรองที่ดี ในการกรองชั้นนี้จะ สามารถกรองแบคทีเรียและเชื้อโรคได้ เมื่อควันและอากาศได้ผ่านการกรองขั้นที่ 2 จะมีการดูดซับกลิ่นที่ไม่พึง ประสงค์ได้จากผงถ่านอัดก้อน อากาศจะสามารถออกสู่ภายนอกได้ตามช่องทางออกของเครื่อง สรุป/ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ์ 1.สิ่งประดิษฐ์มีข้อบกพร่องคือ ขณะใช้งานต้องนำสิ่งประดิษฐ์จ่อเข้าใกล้กับควันมากจนมือของผู้ใช้งานอาจโดนควัน 2.ถ่านหนึ่งก้อนใช้ได้นาน แต่เมื่อนำไปชาร์จก็ใช้เวลานานเช่นกัน หากสามารถบรรจุพลังงานไฟฟ้าลงในแบตเตอรี่ได้ เร็วกว่านี้จะดีมาก ทั้งสองข้อบกพร่องนี้ถูกจำกัดโดยโซลาร์เซลล์ที่ทางกองการแข่งขันได้ส่งมาให้และเป็นวัสดุบังคับเพราะหากมีโซลาร์ เซลล์ที่สามารถรับกระแสไฟฟ้าได้มากกว่านี้จะทำให้ข้อบกพร่องทั้งสองไม่เกิดขึ้น