SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
หน่วยที่ 7ระดับการใช้สารสนเทศใน 
องค์กรธุรกิจ
6.1 ทาไมต้องใช้ระบบ 
สารสนเทศ 
วิธีการดาเนินธุรกิจที่ผ่านมาในอดีตเป็นการพบปะกับลูกค้าแบบเข้าถึงตัวซึ่ง 
เน้นความพอใจในการให้บริการโดยตรงเป็นหลักในปัจจุบันวิธีการนี้ไม่ 
สามารถนามาใช้ได้อีกต่อไปเนื่องจากขอบเขตการค้าขายได้ขยายวงออกไป 
อย่างมากคนต้องรับทราบได้อย่างรวดเร็ว และถูกต้อง ระบบสารสนเทศจึง 
กลายเป็นความจาเป็นที่ทุกคนจะต้องทาความเข้าใจ และ สามารถนามาใช้ 
งานได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อความอยู่รอด และ ความมั่งมีศรีสุขของตนเอง
6.2 สภาวะแวดล้อมของ 
การแข่งขันในการ 
ดาเนินธุรกิจ 
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของสภาวะแวดล้อมของการแข่งขันในการดา เนิน 
ธุรกิจแบ่งออกได้เป็นสามด้าน คือ การเกิดขึ้นของระบบเศรษฐกิจโลก 
(Global economy) การเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจที่เน้นการ 
ให้บริการ สังคม และ อุตสาหกรรม ไปเน้นการให้บริการด้านความรู้และ 
ข่าวสารและการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างองค์กร การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้ 
สรุปไว้ได้เกิดความท้าทายใหม่ ๆ ในการบริหารองค์กรเพื่อความอยู่รอดใน 
อนาคต
6.3 ระบบเศรษฐกิจโลก 
กระแสโลกาภิวัฒน์ การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 
การบริการและการควบคุมตลาดโลก 
การแข่งขันในตลาดโลก 
การทางานร่วมกับระดับโลก 
อุตสาหกรรมที่เน้นการให้ความรู้และข่าวสาร 
ผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ ๆ 
ความรู้แนวทางดา เนินงานส่วนกลาง 
การแข่งขันทางดา เนินความรวดเร็ว 
อายุผลิตภัณฑ์ที่สั้นลง 
ความไม่แน่นนอนของสภาวะแวดล้อม 
โครงสร้างเส้นทางบริหารทสี่ั้นลง 
การกระจายอา นาจไปสู่ส่วนต่าง ๆ 
ความอ่อนตัวในการปฏิบัติงาน 
การกระจายทตี่ั้งสานักงาน 
ค่าใช้จ่ายการดาเนินงานที่ต่าลง 
การให้อานาจแก่ส่วนต่าง ๆ 
การทางานร่วมกันภายในและระหว่าง 
การสร้างความสัมพันธ์ทางดิจิตอลกับลูกค้า 
บริษัทคู่ค้าและพนักงาน 
กระบวนการธุรกิจหลักที่ทา งานด้วยระบบ 
ดิจิตอล 
การบริหารจัดการทรัพย์สินขององค์กรด้วย 
ระบบดิจิตอล 
การตอบสนองอย่างรวดเร็วต่อการ 
เปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
6.4 การเปลี่ยนแปลง 
ของระบบเศรษฐกิจ 
การเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ (Transformation of 
Industrial Economigs) ในปัจจุบันทาในประเทศอุตสาหกรรมใหญ่อย่าง 
สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น หรือ สหพันธรัฐเยอรมัน ต้องมีการหรับตัวโดยการย้ายโรงงาน 
อุตสาหกรรมทัง้หลายไปยังประเทศอื่นที่มีค่าจ้างแรงงานต่ากว่าเพื่อลดต้นทุนการผลิต 
สินค้าให้ต่าลง ในขณะเดียวกันก็ได้เริ่มการผลิตสินค้าชนิดใหม่ขึน้ในประเทศตนเอง คือ 
การบริการด้านความรู้ด้านความรู้และข่าวสาร (Knowledge-based and 
information-based services) ซึ่งจะกลายเป็นเป็นสินค้าที่สาคัญยิ่งใน 
อนาคต 
ความรู้ และ ข่าวสารได้กลายเป็นรากฐานที่สาคัญของบริการ และ ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เช่น 
การผลิตเกมคอมพิวเตอร์ ต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์สูงมาก องค์สูงมาก 
องค์ใหม่ๆ ที่ให้บริการความรู้ และ ข่าวสาร เป็นหลักก็เกิดขึน้เป็นจานวนมาก เช่น 
บริษัทเคเอสซี หรือเอเชียเน็ต เป็นองค์กรขนาดใหญ่มีพนักงานจานวนมาก แต่ให้บริการ 
เชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแก่ผู้ใช้ทั่วไปซึ่งตัวบริษัทนัน้ไม่ได้ทางานที่ 
เกี่ยวข้องกับการใช้งานงานหนักเลย บริษัทที่ดาเนินธุรกิจในลักษณะนีมี้จานวนน้อยมาก 
ในอดีต แตก่าลังเพิ่มจานวนขึน้อย่างรวดเร็วในปัจจุบันและในอนาคต
6.5 การเปลี่ยนแปลง 
โครงสร้างองค์กร 
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ประเภทที่สาม คือการเปลี่ยนแปลง 
โครงสร้างขององค์กร (Transformation of the business 
enterprise) ซึ่งหมายถึงวิธีการดาเนินกิจกรรมภายในองค์กร และ 
วิธีการบริหารงานที่แตกต่างไป จากเดิม โครงสร้างแบบเดิมและส่วนใหญ่ใน 
ปัจจุบันโครงสร้างแบบลาดับชัน้ที่มีการสั่งงานจากศูนย์กลาง และ มีการจัด 
วางองค์ประกอบ และ วิธีปฏิบัติงานต่างๆ ตามมาตรฐานเพื่อการผลิตสินค้า 
หรือบริการในปริมาณมาก องค์กรในระบบใหม่จะมีจานวนลาดับชัน้ของ 
ผู้บริหารน้อยลง (Flattened) กระจายความรับผิดชอบการสงั่งานไป 
ตามส่วนต่าง ๆ มากขึน้และมีความอ่อนตัวในการจัดการโดยใช้ข่าวสารที่ 
ทันสมัยในขณะนัน้เพื่อเน้นการผลิตสินค้าหรือให้บริการมากที่เหมาะสมกับ 
ลูกค้าแต่ละกลุ่ม (Customized products) เป็นหลักแม้ว่า 
หลักการแบใหม่นีจ้ะยังไม่มีความแน่นอนคือมีความหลากลายในการปฏิบัติ 
แต่ก็มีความชัดเจนในทิศทางที่เป็นไปในทางเดียวกันตามที่กล่าวถึงซึ่ง 
จาเป็นต้องอาศัยระบบสารสนเทศที่ดี
6.6 การเกิดขึ้น 
ขององค์ดิจิตอล 
กระบวนการทางธุรกิจ (Business process) หมายถึง 
กระบวนทางานที่มีลักษณะเฉพาะมีโครงสร้างมีการประสานความร่วมมือ 
และมุ่งเน้นในการผลิตสินค้าหรือบริการที่มีคุณภาพ 
ทรัพย์สินหลักขององค์กร (Key corporate assets) 
หมายถึงทรัพย์สินทางปัญญา ความสามารถในการแข่งขันหลักทรัพย์สิน 
ทางการเงิน และ บุคลากรได้รับการบริหารจัดการด้วยวิธีการทางดิจิตอล 
องค์กรดิจิตอลมีลักษณะการรับรู้ และ ตอบสนอง (Sense 
and respond) ต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างรวดเร็ว มากกว่าที่องค์กร 
แบบเดิมจะสามารถทาได้ทาให้องค์กรมีความสามารถในการปรับตัวต่อ 
ความอยู่รวดได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะในภาวะคับขัน องค์กรดิจิตอล 
นาเสนอโอกาสสาหรับการจัดตัง้เป็นองค์กรที่มีการบริหารจัดการแบบ 
ดิจิตอลในการทาให้องค์กรมีขนาดที่เหมาะต่อการสร้าง ผลกาไรและมีความ 
ได้เปรียบในการแข่งขันได้อย่างดีเยี่ยม องค์กรดิจิตอลแตกต่างจากองค์กร 
แบบเก่าตรงที่มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้งานอย่างกว้างขวาง ใน 
เกือบทุกส่วนขององค์กรรวมทัง้การบริหารเครื่องมือแต่เป็นองค์ประกอบ 
หลักของการดาเนินธุรกิจ และเป็นเครื่องมือหลักสาหรับการบริหารงาน
6.7 ระบบสารสนเทศ 
คืออะไร 
ระบบสารสนเทศ (Information system) ในทางด้าน 
เทคนิค หมายถึง กลุ่มของระบบงานที่ประกอบ ด้วยฮาร์ดแวร์หรือตัว 
อุปกรณ์ และ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่รวบรวม 
ประมวลผล จัดเก็บ และแจกจ่ายข้อมูลข่าวสารเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ 
และ การควบคุมภายในองค์กรนอกจากนียั้งชาวบุคลากรในองค์กรนัน้ใน 
การประสานงานการวิเคราะห์ปัญหาการสร้างแบบจาลองวัตถุที่มีความ 
ซับซ้อน และ การสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ 
ระบบสารสนเทศ ประกอบด้วยบุคคล สถานที่ และ สิ่งของภายใน 
อ ง ค์ ก ร นั้น ห รื อ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง อ ง ค์ ก ร ค า ว่ า ” 
ข่าวสาร”(information) หมายถึง ข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลหรือ 
ปรุงแต่ง เพื่อให้มีความหมาย และ เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ ส่วนคาว่า ข้อมูล 
(data) เป็นเพียงข้อเท็จจริงที่ได้รับการรวบรวมหรือป้อนเข้าสู้ระบบ ซึ่ง 
อาจใช้แทนเหตุการณ์ ที่เกิดขึน้ภายในองค์กรหรือสิ่งแวดล้อม ก่อนที่จะถูก 
นาไปจัดการให้เหมาะสม กับการนาไปใช้งานในโอกาสต่อไป
6.8 ระบบสารสนเทศ 
ในมุมของธุรกิจ 
ในมุมมองของธุรกิจ (Business Perspective) ระบบ 
สารสนเทศ คือ กระบวนการแก้ปัญหาที่มีการจัดโครงสร้างอย่างดี 
สอดคล้องตามเทคโนโลยีข่าวสารที่นามาใช้เพื่อตอบสนองต่อความท้าทาย 
ทัง้หลายจากสิ่งแวดล้อมขององค์กร ในการทาความเข้าใจความหมายของ 
ระบบสารสนเทศอย่างลึกซึง้ผู้บริหารจึงต้องมีความเข้าใจโครงสร้างของ 
องค์กร กระบวนการบริหารงานเทคโนโลยีข่าวสาร และ ความสามารถใน 
การนาเสนอกระบวนการแก้ปัญหา การทาความเข้าใจในระบบสารสนเทศ 
รวมทัง้พฤติกรรม
6.9 องค์กร 
ระบบสารสนเทศถือว่าเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร (Organization) องค์กรบางแห่ง 
ในปัจจุบันสามารถดาเนินธุรกิจได้ก็เพราะมีระบบสารสนเทศที่ดี เช่น ธนาคารต่าง ๆ ถ้า 
ระบบสารสนเทศหยุดทางาน ธนาคารนัน้ก็จะต้องหยุดทางานในทันที องค์ประกอบที่ 
สาคัญขององค์กร ได้แก่ พนักงาน โครงสร้างและระเบียบปฏิบัติงาน นโยบายและแบบ 
ธรรมเนียม องค์กรแบบเป็นทางการจะมีโครงสร้างที่แบ่งเป็นหลายอย่างชัดเจน 
ผู้เชี่ยวชาญหลายประเภท ซึ่งเป็นการแบ่งพนักงานออกเป็นหลายกลุ่มตามหน้าที่การ 
งานอย่างชัดเจนผู้เชี่ยวชาญได้รับการว่าจ้างเข้ามา และ ฝึกฝนให้ทาหน้าที่ต่างกัน คือ 
ด้านการขายและการตลาด การเงิน การบัญชี และ การบริหารทรัพยากรบุคคล 
หน้าที่วัตถุประสงค์ 
การขายและการตลาด ขายสินค้าและบริการที่องค์กรผลิตขึน้มา 
การผลิต ผลิตสินค้าและบริการ 
การเงิน บริหารทรัพยากรด้านทรัพย์สิน 
การบัญชีจัดการด้านบัญชีรายรับ-รายจ่าย บัญชี 
เจ้าหนี้- 
ลูกหนี้ 
การบริหารทรัพยากรบคุคล พัฒนาบุคลากรที่มีอยู่ จัดหาบุคลากรใหม่ 
และเก็บทะเบียนประวัติของบุคลากร
6.10 การบริหาร 
ผู้บริหาร (Managers) รับทราบปัญหา และ ความท้าทายทางธุรกิจมา 
จากสิ่งแวดล้อม จากทัง้ภายใน และ ภายนอกองค์กร จากนั้นจึงสร้างกลยุทธ์ในการ 
แก้ปัญหา (Strategy) เพื่อตอบสนอง แล้วจัดสรรทรัพยากรมนุษย์ และ เงินทุน และ 
ประสานการทางานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรในที่สุดผู้บริหารจาเป็นจะต้อง 
เป็นบุคคลที่มีความรับผิดชอบสูงซึ่งจะต้องเป็นผู้นาที่สามารถบริหารงานช่วยให้องค์กร 
ฟันฝ่าอุปสรรค์ทัง้หลายไปได้ ระบบสารสนเทศจึงเป็นเสมือนเครื่องมือชิน้สาคัญที่จะช่วย 
ให้บริหารสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ไดอย่าง สะดวก และรวดเร็วขึน้ ผู้บริหารบางส่วนยังมี 
ความรับผิดชอบนอกจากเหนือไปจากงานทั่วไป คือ จะต้องสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการ 
ใหม่ ๆ ให้แก่องค์กร 
บทบาท และ ความรับผิดชอบในการตัดสินใจของผู้บริหาร ในแต่ละระดับนัน้ 
แตกต่างกัน ผู้บริหารอาวุโส (Senior managers) กาหนดแนวทางการผลิต 
สินค้า และบริการในระยะ ผู้บริหารระดับกลาง (middle managers) พัฒนา 
แผนการปฏิบัติงานขึน้มาเพื่อรองรับแผนการระยะที่ผู้บริหารอาวุโสกาหนด ส่วนผู้บริหาร 
ระดับปฏิบัติการ (operational managers) ควบคุมรับผิดชอบการ 
ปฏิบัติงานที่เกิดขึน้ในแต่ละวันให้เป็นด้วยความเรียบร้อย ผู้บริหารแต่ละระดับจาเป็น 
จะต้องมีแนวทางในการพัฒนาที่ตนเองรับผิดชอบ และ จะต้องมีระบบสารสนเทศที่ 
นาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่แตกต่างกัน
6.11 เทคโนโลยี 
เทคโนโลยีข่าวสาร (Information technology) เป็นหนึ่งใน 
เครื่องมือหลายอย่างที่ผู้บริหารจาเป็นต้องมีไว้ใช้งานเพื่อจัดการกับการเปลี่ยนแปลงที่ 
เกิดขนึ้อยู่เสมอ 
คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ (Computer Hardware)คือ เครื่องมือ หรือ 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ใช้สาหรับการป้อนข้อมูล การประมวลผลและการนาเสนอ ใน 
ระบบสารสนเทศ อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่ ตัวประมวลผล(CPU) อุปกรณ์สาหรับการ 
ป้อนข้อมูล เช่น แป้นพิมพ์ หน่วยแสดงผล เช่น จอภาพ อุปกรณ์บันทึกข้อมูล เช่น หน่วย 
บันทึกข้อมูลจานแม่เหล็ก 
คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์(Computer Software) คือ ชุดคาสั่งที่ใช้ 
สาหรับควบคุมการทางานและประสานงานระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในระบบ 
ข่าวสารที่ทางานตามที่ต้องการ 
เทคโนโลยีที่กล่าวถึงทัง้หมดนีเ้ป็นทรัพยากรขององค์กรที่สามารถนามาใช้ 
งานร่วมกันได้ทวั่ทัง้องค์กร และกลายเป็นสิ่งที่เรียกว่า โครงสร้างระบบสารสนเทศภายใน 
องค์กร (Information Technology Infrastructure) ซึ่งเป็น 
พืน้ฐาน (Foundation or Platform) เพื่อให้องค์กรสามารถสร้างระบบ 
ข่าวสารที่ต้องการได้
6.12 แนวทางการใช้ 
ระบบสารสนเทศในยุค 
ปัจจุบัน 
1. แนวทางกลุ่มเทคนิค (Technical approach) เน้นการทางาน 
พืน้ฐานทางคณิตศาสตร์รูปแบบจาลอง เทคโนโลยีของอุปกรณ์ที่นามาใช้ 
2. แนวทางกลุ่มพฤติกรรมองค์ประกอบที่สาคัญส่วนหนึ่งของระบบ 
สารสนเทศเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมขององค์กรซึ่งต้องนามาพิจารณาในการ 
สร้าง และ การบารุงระบบสารสนเทศในระยะยาว 
3. แนวทางศึกษากลุ่มพฤติกรรมการศึกษาเรื่องระบบสารสนเทศเพื่อการ 
จักการ(Management Information System: MIS)
6.13 บทบาทใหม่ 
ของระบบสารสนเทศ 
ภายในองค์กร 
ผู้บริหารสมัยใหม่ ไม่สามารถเพิกเฉยต่อระบบสารสนเทศได้อีกต่อไป 
เนื่องจากระบบสารสนเทศ มีบทบาทที่สาคัญเป็นอย่างยิ่ง สาหรับองค์กรใน 
ยุคปัจจุบันจนอาจกล่าวได้ว่าเทคโนโลยีดิจิตอลได้เข้ามาเปลี่ยนแปลง 
รูปแบบหรือวิธีการดาเนินธุรกิจขององค์กรสมัยใหม่แล้ว ระบบสารสนเทศ 
กลายเป็นเครื่องมือที่ชีช้ะตาหรือเป็นตัวกาหนดแนวทางการกาหนดหรือ 
ควบคุมคุณภาพของสินค้าหรือผู้บริหารระดับสูง ความรับผิดชอบของระบบ 
สารสนเทศจึงไม่ได้ขึน้อยู่กับผู้รับผิดชอบการตัดสินใจทางด้านเทคนิคแต่ 
เพียงอย่างเดียว
6.14 ขอบเขตการใช้ 
งานที่กว้างขวาง 
กว่าเดิมของระบบ 
สารสนเทศ 
แสดงความสัมพันธ์แบบใหม่ระหว่างองค์กรกับระบบสารสนเทศที่ 
เพิ่มพูนขึ้นทุกขณะด้านหนึ่ง ประกอบด้วยแนวทางการดาเนินธุรกิจ 
(business strategy) กฎระเบียบ (rules) และ กระบวนการ 
ทางาน (procedures) ส่วนอีกด้านหนึ่งประกอบด้วยซอฟต์แวร์ 
ฮาร์ดแวร์ ฐานข้อมูล (databases) และ ระบบสื่อสารข้อมูล 
(telecommunications) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในส่วนใด 
ส่วนหนึ่งมักจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในส่วนอื่นด้วยเสมอ ความสัมพันธ์ 
ระหว่างกันนีจ้ะยิ่งทวีความสาคัญยิ่งขึน้เมื่อมีการวางแผนสาหรับการจัดการ 
ในอนาคต เช่น การกาหนดแนวทางการดาเนินธุรกิจในอีกห้าปีข้างหน้า 
จะต้องกาหนดหน้าที่การทางานของระบบสารสนเทศ ให้สอดคล้องกันไป 
ด้วยความซับซ้อนของกระบวนการทางาน และ ขอบเขตของงานก็เป็นอีก 
ปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ ความสัมพันธ์ดังกล่าวมีมากยิ่งขึน้โครงสร้างขององค์กร 
ในปัจจุบันมีส่วนประกอบมากขึ้นกว่าแต่ก่อน องค์กรแบบเดิมมีการ 
เปลี่ยนแปลงเกิดขึน้ในส่วนงานด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับคนเป็นจานวน 
น้อยในขณะที่การเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันจะเกิดขึน้กับงานด้านบริหาร 
องค์กรซึ่งเกี่ยวพันกับคนส่วนใหญ่
6.15 วิวัฒนาการ 
ของระบบเครือข่าย 
และระบบเครือข่าย 
อินเทอร์เน็ต 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตให้บริการที่มีประโยชน์มากอย่างหนึ่งเรียกว่า 
โครงข่ายโลก หรือ WWW (World Wide Web) โครงข่ายโลก 
หมายถึงระบบถึงระบบที่มีมาจรฐานสากลในการเก็บรักษา การค้นหาใช้ 
รูปแบบ และ การแสดงผลข่าวสารถูกเก็บรักษาและนามาแสดงในรูปแบบ 
ของหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งแบ่งออกเป็น หลายหน้าเรียกว่า หน้าข่าวสาร 
หรือ 
“ Web pages” ข่าวสารในแต่ละหน้า ประกอบด้วยข้อความ 
(text) เสียง (sound) รูปภาพ (graphics) ภาพเคลื่อน ที่ 
(animation) และ วิดีทัศน์ (video) แต่ละหน้าอาจมีการเชื่อมโยง 
ทางอิเล็กทรอนิกส์ (electronically link) ไปยังข่าวสารที่เก็บอยู่ใน 
หน้าอื่นได้โดยไม่มีข้อจากัดว่าหน้าที่เชื่อมโยงไปนั้นจะถูกเก็บอยู่ใน 
คอมพิวเตอร์เครื่องเดียวกันหรืออยู่ในเครื่อง ฯ ที่ตัง้อยู่อีกซีกโลกหนึ่ง วิธีการ 
เรียกใช้การเชื่อมโยงซึ่งผู้ใช้สามารถทาได้ง่ายหลายวิธีก็เป็นอีกส่วนหนึ่งที่ 
กลายเป็น วิธีการพืน้ฐานสาหรับการเผยแพร่ข่าวในระบบสารสนเทศ
6.15 วิวัฒนาการ 
ของระบบเครือข่าย 
และระบบเครือข่าย 
อินเทอร์เน็ต 
หน้าข่าวสาร หรือ “ web pages” ทัง้หมดขององค์กรหนึ่ง 
เรียกว่า ที่ตัง้หน้าข่าวสาร หรือ “Web site” มกัจะได้รับการดูแลโดย 
องค์กรผู้เป็นเจ้าของนัน้เอง หรือ อาจว่าจ้างให้บริษัทอื่นทาหน้าที่ดูแลแทนก็ 
ได้ผู้รับผิดชอบจะพยายามตกแต่งหน้าข่าวสารให้มีความสวยงามและใช้ 
เทคนิคที่น่าสนใจเป็นหลักในการเรียกร้องความสนใจจากผู้เข้าชม ข่าวสารที่ 
เผยแพร่ผ่านหน้าข่าวสารนี้จัดเป็นการเผยแพร่แบบกระจายออกไปทวั่โลก 
โดยไม่มีการเจาะจงผู้รับเช่นเดียวกับการโฆษณาผ่านสื่อวิทยุหรือโทรทัศน์ 
แต่มีขีดความสามารถในการรับข้อมูล กลับมาได้ด้วย ทาให้ผู้ใช้ซึ่งอาจเป็น 
ลูกค้าหรือพนักงานขององค์กรนัน้สามารถส่งรายการสงั่ซือ้สินค้าหรือบริการ 
หรือส่งข้อมูลที่ต้องการกลับไปยังองค์กรที่เป็นเจ้าของหน้าข่าวสารนัน้ได้ 
ในทันทีและทุกสถานที่ต้องการ
6.16 ทางเลือกใหม่ 
สาหรับการออกแบบ 
โครงสร้างองค์กร: 
องค์กรดิจิตอลและ 
องค์กรเครือข่าย 
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ ระบบเครือข่ายทาให้เกิด 
รูปแบบใหม่ขององค์กร เรียกว่าองค์กรเครือข่า ย(Networked 
enterprise) ซึ่งจัดการแพร่กระจายข่าวสารไปยังบุคคลภายในและ 
ภายนอกองค์กร ในทันที ความสามารถนีน้ามาใช้ในการปรับหรือเปลี่ยน 
โครงสร้างองค์กรเพิ่มหรือขยายขอบเขตการดาเนินงาน รายงาน และ 
ควบคุมการดาเนินการ การฝึกงาน รวมทัง้การนาเสนอสินค้า และ บริการได้ 
อย่างมีประสิทธิภาพ
6.17 การลดจานวน 
ระดับชนั้ผู้บริหาร 
องค์กรดิจิตอลมีโครงสร้างการบริหารแบบลาดับขัน้ที่ได้รับการ 
พัฒนาให้มีความสามารถเหมาะสมกว่าเดิมซึ่งจะทาให้เกิดความสมดุลของ 
กระบวนการตัดสินใจที่เกิดขึน้ทัง้องค์กรทาให้สามารถลดระดับขัน้บริหารให้ 
มี ระดับขัน้น้อยกว่าเดิม (Flatter organization) ใน 
ขณะเดียวกันก็เพิ่มอานาจในการตัดสินใจแก้ปัญหา ให้แก่ผู้บริหารระดับ 
ล่าง 
ผู้บริหารกลุ่มนีจึ้งมีอานาจมากกว่าในอดีต และ มีความรับผิดชอบ 
สูงขึน้ในการทางานจึงไม่ได้ถูกจากัดชวั่โมงทางานอีกต่อไป และไม่มีความ 
จาเป็นจะต้องอยู่แต่ในห้องทางานผู้บริหาร และ พนักงาน บางส่วนอยู่ไกล 
ออกไปหลายพันกิโลเมตรจากที่ทางานของตนเองก็ได้
6.18 การแยก 
สถานที่ทางาน 
ออกจากงานที่ทา 
การทางานร่วมกันโดยที่ผู้ร่วมงานอาจอยู่ห่างกันหลายพัน 
กิโลเมตรก็อาจเป็นไปได้ ตัวอย่าง เช่น บริษัท FORD Motor ของ 
ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ออกแบบรถยนต์รุ่น Mustang ผ่าน 
ร ะ บ บ สื่อ ส า ร ค ว า ม เ ร็ว สูง แ ล ะ ใ ช้ซ อ ฟ ต์แ ว ร์ป ร ะ เ ภ ท CAD 
(Computer-Aided Design) โดยมีทีมวิศวกรที่เมือง 
Denton ในประเทศอังกฤษทางานร่วมกับวิศวกรที่เมือง 
Dearborn ในรัฐมิชิเกน และ มีข้อมูลเพิ่มเติมจากวิศวกรในประเทศ 
ญี่ปุ่น และ ออสเตรเลีย เมื่อออกแบบเสร็จแล้วทีมวิศวกรที่เมือง Turin ใน 
ประเทศอิตาลีก็นาแบบนัน้ไปสร้างเป็นรถยนต์คันต้นแบบได้ในทันที บริษัท 
FORD ยังคงใช้วิธีการนีใ้นการพัฒนารถยนต์รุ่นใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง
6.19 การทบทวน 
กระบวนการทางาน 
ระบบสารสนเทศได้เข้ามาแทนที่กระบวนการทางานแบบเดิม 
อย่างรวดเร็ว และ กว้างขวางทาให้เกิดเป็นกระบวนการทางานแบบ 
อิเล็กทรอนิกส์(Electronic Workflow) ซึ่งช่วยลดค่าใช้จ่ายใน 
การดาเนินงานขององค์การลงได้เป็นอย่างมาก แ ละ ยังช่วยเพิ่ม 
ประสิทธิภาพในการบริการให้สูงขึน้ด้วยตัวอย่างเช่น บริษัทประกันภัยแห่ง 
หนึ่งสามารถลดกระบวนการทางานในระบบเดิมซึ่งต้องใช้ทรัพยากรบุคคล 
ถึง 17 คน และ ใช้ระยะเวลา ทางาน ถึง 33 วัน ลงมาเหลือเพียง 5 วัน 
โดยใช้ทรัพยากรบุคคลเพียง 7 คนเท่านัน้การเปลี่ยนแปลงกระบวนการ 
ทางานในลักษณะนี้จะมีผลกระทบโดยตรงต่อโครงสร้างขององค์กร 
ผลิตภัณฑ์ และบริการ
6.20 การเพิ่มความ 
คล่องตัวขององค์กร 
องค์กรขนาดเล็ก 
เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ซอฟต์แวร์ราคาถูกและเครื่องควบคุมเครื่องจักรที่มีความ 
เที่ยงตรงและคุณภาพสูงเทียบเท่ากับระบบที่มีใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ 
การใช้งานข่าวสารผ่านระบบเครือข่ายโทรศัพท์และการเชื่อมต่อผ่านระบบเครือข่าย ช่วย 
ลดการใช้งานผู้เชี่ยวชาญและการค้นคว้า 
ผู้บริหารสามารถใช้งานระบบสารสนเทศที่ต้องการเพื่อจัดการบริหารพนักงานจานวนมาก 
ที่ทางานกระจายกันอยู๋ในหลายพื้นที่ 
องค์กรขนาดใหญ่ 
สามารถสร้างระบบการผลิตเฉพาะแบบที่ช่วยสนองความต้องการเฉพาะด้านของกลุ่ม 
ลูกค้าแต่ละกลุ่มซึ่งมีขนาดเล็ก 
การเก็บฐานข้อมูลขนาดใหญ่ช่วยให้การวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้ามีความ 
เที่ยงตรงมากขึ้น 
สามารถกระจายข่าวสารลงไปยังผู้ปฏิบัติงานระดับล่างเพื่อช่วยให้พนักงานเหล่านั้นมี 
ข้อมูลมากเพียงพอสาหรับการแก้ปัญหาต่างๆ ได้ดีขึ้น
6.21 วิธีการ 
บริหารองค์กร 
ที่เปลี่ยนแปลงไป 
ระบบสารสนเทศ ช่วยให้ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารองค์กรเพิ่มขึน้ 
เช่น ผู้บริหารสามารถมองเห็นรายละเอียด และ ประสิทธิภาพของการทางานระบบใด ๆ 
ภายในองค์กรไดเตลอดเวลาผู้บริหารบริษัท Frito-Lay ซงึ่เป็นผู้ผลิตอาหารขบเคีย้ว 
เช่น มันฝรั่งทอดกรอบรายใหญ่ที่สุดในโลกสามารถมองเห็นตัวเลขยอดขาย สินค้าของ 
บริษัททวั่ประเทศสหรัฐอมเมริกา รวมทัง้ยอดขายของบริษัทคู่แข่ง และ ราคาขายปลีกได้ 
ภายในระยะเวลา ไม่กี่ชั่วโมงองค์กรหลายแห่งได้นาเทคโนโลยีข่าวสารเข้ามาใช้ใน 
กระบวนการวางแผนความต้องการทรัพยากรขององค์กร เรียกว่า Enterprise 
Resource Planning (ERP) ซึ่งเป็นระบบการบริหารงานทางธุรกิจที่รวมการ 
วางแผนการดาเนินงาน แผนการผลิตแผนการขาย และ แผนการเงิน เข้าด้วยกันเพื่อให้ 
ระบบเหล่านี้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบ ERP ช่วยในการ 
ทางานอัตโนมัติหลายอย่าง เช่น การบันทึก รายการสั่งซือ้สินค้าหรือการจัดตารางการส่ง 
สินค้า โดยมีจุดประสงค์ในการรวบรวมข้อมูลข่าวสารของทัง้องค์กร ซึ่งจะช่วยขจัดความ 
ซับซ้อน และ ค่าใช้จ่ายในการเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์ของส่วนต่างๆ เข้าด้วยกัน เช่น 
พนักงานฝ่ายขายป้อนข้อมูลการสงั่ซือ้สินค้าจากสถานที่หนึ่งในทวีปยุโรปข้อมูลนีจ้ะถูก 
นาส่งไปยังบุคลากรในส่วนต่าง ๆ ขององค์กรที่จาเป็นต้องทราบตัวเลขนีโ้ดยอัตโนมัติ 
โรงงานผลิตในฮ่องกงสามารถดาเนินการผลิตสินค้าที่สั่งได้ในทันทีในขณะทีฝ่าย 
คลังสินค้าจัดการวางตารางการส่งสินค้าไดเรียบร้อยก่อนที่จะผลิตสินค้าเสร็จ ข้อมูลที่ 
ผ่านการจัดการบางส่วนจะส่งต่อไปยังฝ่ายบัญชีเพื่อบันทึกหลักฐาน ส่วนผู้บริหารที่ 
สานักงานใหญ่ในกรุงเทพก็จะสามารถมองเห็นตัวเลขทางบัญชีได้
6.22 การกาหนด 
ขอบเขต 
การดาเนินการใหม่ 
ระบบสารสนเทศที่มีการเชื่อมต่อผ่านระบบเครือข่าย ช่วยเพิ่มความสามารถในการ 
แลกเปลี่ยนข้อมูล เช่น ใบรายการสั่งซื้อสินค้า หรือรายการชาระเงินในรูปแบบ 
อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์กร ซึ่งช่วยลดค่าใช้จ่าย ในการสงั่ซือ้สินค้า และ บริการจาก 
ภายนอกลงได้มาก องค์ต่างๆ สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลอื่นระหว่างกัน เช่น รายการ 
สินค้า และ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบนี้ได้ ซึ่งทาให้เกิดประสิทธิภาพสร้าง 
ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรแบบใหม่ขึน้ในหมู่ลูกค้า และ บริษัทคู่ค้า เรียกว่าเป็นการ 
กาหนดขอบเขตการดาเนินงานในรูปแบบ ใหม่ เช่น บริษัทไครสเลอร์ (Chrysler 
Corp.) เชื่อมต่อข้อมูลการผลิตรถยนต์ของตนเองเข้ากับระบบสารสนเทศของบริษัท 
บัดด์(Budd Company of Racheshester) ซงึ่เป็นผู้ผลิตเหล็กแผ่น 
สาหรับการผลิตรถยนต์ บริษัทบัดด์สามารถตรวจสอบสถานการณ์ผลิตรถยนต์ของบริษัท 
ไครสเลอร์ผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ และ จัดการส่งเหล็กแผ่นมาให้ในระยะเวลาที่ 
ต้องใช้โดยอัตโนมัติ ซงึ่ทางไครเลอร์ไม่ต้องออกใบสงั่ซือ้เลย ทัง้สองบริษัทนีจึ้งกลายเป็น 
ผู้รับผิดชอบร่วมกันในการดาเนินการผลิตรถยนต์ แทนที่จะเป็นบริษัทไครสเลอร์เพียง 
แห่งเดียว ระบบสารสนเทศเช่นนี้เรียกว่า ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร (Inter 
organization Information System) ซึ่งจะเชื่อมต่อระบบสารสนเทศ 
ขององค์กรหนึ่งเข้ากับระบบสารสนเทศของอีกองค์กรหนึ่ง โดยที่ทัง้สององค์กรจะใช้ 
ข้อมูลข่าวสารร่วมกัน และ เป็นกระบวนการที่เกิดขนึ้โดยอัตโนมัติ
6.23 องค์กรดิจิตอล 
: การพาณิชย์ 
อิเล็กทรอนิกส์ 
และระบบธุรกิจ 
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 
Amazon.comเป็นบริษัทที่ทาการค้าผ่านระบบเครือค่ายอินเทอร์เน็ตที่เสนอขายหนังสือมากกว่า 3 
ล้านเรื่อง ลูกค้าสามารถสัง่ซื้อหนังสือทางอิเล็กทรอนิกส์และหนังสือจะถูกส่งมาทางไปรษณีย์ 
Travelocity เป็นเว็บไซท์ที่เปิดให้ลูกค้าเข้ามาหาข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวรวมทั้งการวาง 
แผนการเดินทาง ลูกค้าที่สามารถส่งจองที่พัก พาหนะและบริการต่าง ๆได้ 
Mobil Corporation สร้างระบบเครือข่ายส่วนตัวขึ้นใช้งานโดยใช้เทคโนโลยีเดียวกันที่ใช้ในระบบ 
อินเทอร์เน็ต ซึ่งช่วยให้ตัวแทนจาหน่ายของบริษัทมากกว่า 300 แห่งสามารถสัง่ซื้อสินค้าผ่านเว็บได้โดยตรง 
การทาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ 
Roche Bioscience นักวิทยาศาสตร์ จากทัว่โลกใช้ระบบอินทราเน็ตในการแลกเปลี่ยนผลงานค้นคว้า 
และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน ระบบอินทราเน็ตยังให้บริการหมายเลขโทรศัพท์ของบริษัทและสถานที่ 
เกี่ยวข้องด้วย 
University of Texas Medical Branch at Galveston เผยแพร่เอกสาร เช่น นโยบาย 
การให้บริการพยาบาลระบบอินทราเน็ตซึ่งช่วยลดปริมาณการใช้กระดาษและปรับปรุงประสิทธิภาพการบริการ 
Dream Words SKG ใช้ระบบอินทราเน็ตในการตรวจสถานการณ์ทางานของโครงงานต่าง ๆ และ 
การทางานร่วมกันของการผลิตฉากในภาพยนตร์
6.24 การเรียนรู้การ 
นาระบบสารสนเทศ 
มาใช้งาน : โอกาส 
ใหม่เทคโนโลยี 
1. ความท้าทายในแนวทางการบริหารธุรกิจจะการนาระบบสารสนเทศเข้ามาใช้ในการ 
บริหารองค์กร เพื่อให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขันและมีประสิทธิภาพ 
2. ความท้าทายในยุคโลกาภิวัตน์: องค์กรมีความเข้าใจในวิธีการดาเนินธุรกิจและ 
ความต้องการสาหรับสิ่งแวดล้อมในระบบเศรษฐกิจระดับโลก ซึ่งต้องการระบบ 
สารสนเทศที่สามารถระหว่างประเทศทาให้เกิดเป็นแนวทางระบบเศรษฐกิจระดับโลก 
3.ความท้าทายในด้านโครสร้างระบบสารสนเทศ : องค์กรจะมีวิธีอย่างไรในการพัฒนา 
โครงสร้างระบบสารสนเทศสาหรับโครงสร้างข่ายข่าวสารภายในซึ่งจะต้องสนับสนุน 
วัตถุประสงค์ในการดาเนินธุรกิจ การสร้างระบบสารสนเทศในปัจจุบันเป็นมากกว่าการ 
ติดต่ออุปกรณ์ชิน้หนงึ่ในบ้านพัก 
4. ความท้าทายในการลงทุนด้านระบบสารสนเทศ : องค์กรจะมีวิธีการอย่างไรในการ 
ประเมินค่า ในเชิงธุรกิจของระบบสารสนเทศที่ได้ลงทุนสร้างขึน้มาใช้งาน ปัญหาหลัก 
เกิดขึน้จากความต้องการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้มีขีดความสามารถสูงแต่มีการ 
ลงทุนต่า 
5.ความท้าทายในด้านความรับผิดชอบ และ การควบคุม : องค์กรจะสร้างระบบ 
สารสนเทศขึน้มาอย่างไร เพื่อให้บุคลากรสามารถควบคุม และ เข้าใจระบบได้อย่างมี 
ประสิทธิภาพ องค์กรจะแน่ใจได้อย่างว่าระบบสารสนเทศที่ได้ลงทุนได้ลงทุนสร้างขึน้มา 
นัน้ ถูกนาไปใช้อย่างถูกต้อง ตามจริยธรรมและ มีความรับผิดชอบที่ดีตอ่สังคม
6.24 การเรียนรู้การ 
นาระบบสารสนเทศ 
มาใช้งาน : โอกาส 
ใหม่เทคโนโลยี 
ผลประโยชน์ของระบบสารสนเทศ ผลกระทบในแง่ลบ 
 ระบบสารสนเทศสามารถทาการคานวณและ 
ประมวลผลงานได้เร็วกว่าคนมาก 
 ระบบสารสนเทศช่วยเหลือองค์กรในการเรียนรู้ 
รูปแบบการซอื้สินค้าและความชอบของลูกค้า 
ระบบสารสนเทศนาเสนอประสิทธิภาพผ่านการ 
ให้บริการต่าง ๆ เช่น ตู้เบิกเงินอัตโนมัติ เอทีเอ็ม 
ระบบโทรศัพท์ หรือ เครื่องบินที่ใช้คอมพิวเตอร์ 
ควบคุมเป็นต้น 
 ระบบสารสนเทศสนับสนุนระบบการรักษาโรคขึน้ 
ก้าวหน้า รังสีวิทยา และ การเฝ้าตรวจคนไข้ 
 ระบบอินเทอร์เน็ตช่วยในการเผยแพร่ข่าวสาร 
ไปสู้คนทัว่โลก 
 ระบบงานที่สามารถทางานได้โดยอัตโนมัติอาจ 
ทาให้มีคนตกงานเพิ่มขึน้อย่างรวดเร็ว 
ระบบสารสนเทศช่วยให้สามารถบันทึก 
รายละเอียดของตนได้อย่างง่ายดายซึ่งอาจเป็น 
การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล 
 ระบบสารสนเทศถูกนามาใช้งานอย่างกว้างขวาง 
แทบจะในทุกเรื่อง การล้มเหลวของระบบงานอาจ 
นาไปสู้ความล้มเหลวขององค์กร ระบบขนสง่ 
มวลชนหยุดทางานหรืออาจร้ายแรงถงึขัน้ทาให้ 
ชุมชนเป็นอัมพาตได้ 
 ผู้คนที่ใช้ระบบสารสนเทศเป็นอย่างมากจะ 
ประสบปัญหาการเจ็บป่วยในรูปแบบใหม่ๆ 
 ระบบอินเทอร์เน็ตอาจถูกนามาใช้ในการ 
ถ่ายทอดข้อมูลหรือโปรแกรมที่ละเมิดลิขสิทธิ์ได้

More Related Content

What's hot

Chapter 11 ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ในองค์กร
Chapter 11 ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ในองค์กรChapter 11 ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ในองค์กร
Chapter 11 ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ในองค์กรAkkadate.Com
 
906702 Strengthening B2B Relationships via Supply Chain Management and CRM
906702 Strengthening B2B Relationships via Supply Chain Management and CRM906702 Strengthening B2B Relationships via Supply Chain Management and CRM
906702 Strengthening B2B Relationships via Supply Chain Management and CRMsiroros
 
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศChapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศAkkadate.Com
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเขมิกา หวานเสนาะ
 

What's hot (7)

Chapter 11 ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ในองค์กร
Chapter 11 ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ในองค์กรChapter 11 ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ในองค์กร
Chapter 11 ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ในองค์กร
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
Mis
MisMis
Mis
 
906702 Strengthening B2B Relationships via Supply Chain Management and CRM
906702 Strengthening B2B Relationships via Supply Chain Management and CRM906702 Strengthening B2B Relationships via Supply Chain Management and CRM
906702 Strengthening B2B Relationships via Supply Chain Management and CRM
 
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศChapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 

Similar to บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ป...
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ป...หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ป...
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ป...Pawit Chamruang
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจthawiwat dasdsadas
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศWanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ053681478
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]orathai
 
องค์กรในฝัน front to-back-office
องค์กรในฝัน front to-back-officeองค์กรในฝัน front to-back-office
องค์กรในฝัน front to-back-officeNavik Numsiang
 
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2siroros
 
อาชีพด้านสารสนเทศและการสื่อสาร
อาชีพด้านสารสนเทศและการสื่อสารอาชีพด้านสารสนเทศและการสื่อสาร
อาชีพด้านสารสนเทศและการสื่อสารPimpisa Sunhatham
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1Sangduan12345
 

Similar to บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ป...
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ป...หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ป...
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ป...
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Ch6
Ch6Ch6
Ch6
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
งานคอม บท2
งานคอม บท2งานคอม บท2
งานคอม บท2
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]
 
องค์กรในฝัน front to-back-office
องค์กรในฝัน front to-back-officeองค์กรในฝัน front to-back-office
องค์กรในฝัน front to-back-office
 
Mi sch5
Mi sch5Mi sch5
Mi sch5
 
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
 
อาชีพด้านสารสนเทศและการสื่อสาร
อาชีพด้านสารสนเทศและการสื่อสารอาชีพด้านสารสนเทศและการสื่อสาร
อาชีพด้านสารสนเทศและการสื่อสาร
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 

บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

  • 2. 6.1 ทาไมต้องใช้ระบบ สารสนเทศ วิธีการดาเนินธุรกิจที่ผ่านมาในอดีตเป็นการพบปะกับลูกค้าแบบเข้าถึงตัวซึ่ง เน้นความพอใจในการให้บริการโดยตรงเป็นหลักในปัจจุบันวิธีการนี้ไม่ สามารถนามาใช้ได้อีกต่อไปเนื่องจากขอบเขตการค้าขายได้ขยายวงออกไป อย่างมากคนต้องรับทราบได้อย่างรวดเร็ว และถูกต้อง ระบบสารสนเทศจึง กลายเป็นความจาเป็นที่ทุกคนจะต้องทาความเข้าใจ และ สามารถนามาใช้ งานได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อความอยู่รอด และ ความมั่งมีศรีสุขของตนเอง
  • 3. 6.2 สภาวะแวดล้อมของ การแข่งขันในการ ดาเนินธุรกิจ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของสภาวะแวดล้อมของการแข่งขันในการดา เนิน ธุรกิจแบ่งออกได้เป็นสามด้าน คือ การเกิดขึ้นของระบบเศรษฐกิจโลก (Global economy) การเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจที่เน้นการ ให้บริการ สังคม และ อุตสาหกรรม ไปเน้นการให้บริการด้านความรู้และ ข่าวสารและการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างองค์กร การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้ สรุปไว้ได้เกิดความท้าทายใหม่ ๆ ในการบริหารองค์กรเพื่อความอยู่รอดใน อนาคต
  • 4. 6.3 ระบบเศรษฐกิจโลก กระแสโลกาภิวัฒน์ การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจอุตสาหกรรม การบริการและการควบคุมตลาดโลก การแข่งขันในตลาดโลก การทางานร่วมกับระดับโลก อุตสาหกรรมที่เน้นการให้ความรู้และข่าวสาร ผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ ๆ ความรู้แนวทางดา เนินงานส่วนกลาง การแข่งขันทางดา เนินความรวดเร็ว อายุผลิตภัณฑ์ที่สั้นลง ความไม่แน่นนอนของสภาวะแวดล้อม โครงสร้างเส้นทางบริหารทสี่ั้นลง การกระจายอา นาจไปสู่ส่วนต่าง ๆ ความอ่อนตัวในการปฏิบัติงาน การกระจายทตี่ั้งสานักงาน ค่าใช้จ่ายการดาเนินงานที่ต่าลง การให้อานาจแก่ส่วนต่าง ๆ การทางานร่วมกันภายในและระหว่าง การสร้างความสัมพันธ์ทางดิจิตอลกับลูกค้า บริษัทคู่ค้าและพนักงาน กระบวนการธุรกิจหลักที่ทา งานด้วยระบบ ดิจิตอล การบริหารจัดการทรัพย์สินขององค์กรด้วย ระบบดิจิตอล การตอบสนองอย่างรวดเร็วต่อการ เปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
  • 5. 6.4 การเปลี่ยนแปลง ของระบบเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ (Transformation of Industrial Economigs) ในปัจจุบันทาในประเทศอุตสาหกรรมใหญ่อย่าง สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น หรือ สหพันธรัฐเยอรมัน ต้องมีการหรับตัวโดยการย้ายโรงงาน อุตสาหกรรมทัง้หลายไปยังประเทศอื่นที่มีค่าจ้างแรงงานต่ากว่าเพื่อลดต้นทุนการผลิต สินค้าให้ต่าลง ในขณะเดียวกันก็ได้เริ่มการผลิตสินค้าชนิดใหม่ขึน้ในประเทศตนเอง คือ การบริการด้านความรู้ด้านความรู้และข่าวสาร (Knowledge-based and information-based services) ซึ่งจะกลายเป็นเป็นสินค้าที่สาคัญยิ่งใน อนาคต ความรู้ และ ข่าวสารได้กลายเป็นรากฐานที่สาคัญของบริการ และ ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เช่น การผลิตเกมคอมพิวเตอร์ ต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์สูงมาก องค์สูงมาก องค์ใหม่ๆ ที่ให้บริการความรู้ และ ข่าวสาร เป็นหลักก็เกิดขึน้เป็นจานวนมาก เช่น บริษัทเคเอสซี หรือเอเชียเน็ต เป็นองค์กรขนาดใหญ่มีพนักงานจานวนมาก แต่ให้บริการ เชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแก่ผู้ใช้ทั่วไปซึ่งตัวบริษัทนัน้ไม่ได้ทางานที่ เกี่ยวข้องกับการใช้งานงานหนักเลย บริษัทที่ดาเนินธุรกิจในลักษณะนีมี้จานวนน้อยมาก ในอดีต แตก่าลังเพิ่มจานวนขึน้อย่างรวดเร็วในปัจจุบันและในอนาคต
  • 6. 6.5 การเปลี่ยนแปลง โครงสร้างองค์กร การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ประเภทที่สาม คือการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างขององค์กร (Transformation of the business enterprise) ซึ่งหมายถึงวิธีการดาเนินกิจกรรมภายในองค์กร และ วิธีการบริหารงานที่แตกต่างไป จากเดิม โครงสร้างแบบเดิมและส่วนใหญ่ใน ปัจจุบันโครงสร้างแบบลาดับชัน้ที่มีการสั่งงานจากศูนย์กลาง และ มีการจัด วางองค์ประกอบ และ วิธีปฏิบัติงานต่างๆ ตามมาตรฐานเพื่อการผลิตสินค้า หรือบริการในปริมาณมาก องค์กรในระบบใหม่จะมีจานวนลาดับชัน้ของ ผู้บริหารน้อยลง (Flattened) กระจายความรับผิดชอบการสงั่งานไป ตามส่วนต่าง ๆ มากขึน้และมีความอ่อนตัวในการจัดการโดยใช้ข่าวสารที่ ทันสมัยในขณะนัน้เพื่อเน้นการผลิตสินค้าหรือให้บริการมากที่เหมาะสมกับ ลูกค้าแต่ละกลุ่ม (Customized products) เป็นหลักแม้ว่า หลักการแบใหม่นีจ้ะยังไม่มีความแน่นอนคือมีความหลากลายในการปฏิบัติ แต่ก็มีความชัดเจนในทิศทางที่เป็นไปในทางเดียวกันตามที่กล่าวถึงซึ่ง จาเป็นต้องอาศัยระบบสารสนเทศที่ดี
  • 7. 6.6 การเกิดขึ้น ขององค์ดิจิตอล กระบวนการทางธุรกิจ (Business process) หมายถึง กระบวนทางานที่มีลักษณะเฉพาะมีโครงสร้างมีการประสานความร่วมมือ และมุ่งเน้นในการผลิตสินค้าหรือบริการที่มีคุณภาพ ทรัพย์สินหลักขององค์กร (Key corporate assets) หมายถึงทรัพย์สินทางปัญญา ความสามารถในการแข่งขันหลักทรัพย์สิน ทางการเงิน และ บุคลากรได้รับการบริหารจัดการด้วยวิธีการทางดิจิตอล องค์กรดิจิตอลมีลักษณะการรับรู้ และ ตอบสนอง (Sense and respond) ต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างรวดเร็ว มากกว่าที่องค์กร แบบเดิมจะสามารถทาได้ทาให้องค์กรมีความสามารถในการปรับตัวต่อ ความอยู่รวดได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะในภาวะคับขัน องค์กรดิจิตอล นาเสนอโอกาสสาหรับการจัดตัง้เป็นองค์กรที่มีการบริหารจัดการแบบ ดิจิตอลในการทาให้องค์กรมีขนาดที่เหมาะต่อการสร้าง ผลกาไรและมีความ ได้เปรียบในการแข่งขันได้อย่างดีเยี่ยม องค์กรดิจิตอลแตกต่างจากองค์กร แบบเก่าตรงที่มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้งานอย่างกว้างขวาง ใน เกือบทุกส่วนขององค์กรรวมทัง้การบริหารเครื่องมือแต่เป็นองค์ประกอบ หลักของการดาเนินธุรกิจ และเป็นเครื่องมือหลักสาหรับการบริหารงาน
  • 8. 6.7 ระบบสารสนเทศ คืออะไร ระบบสารสนเทศ (Information system) ในทางด้าน เทคนิค หมายถึง กลุ่มของระบบงานที่ประกอบ ด้วยฮาร์ดแวร์หรือตัว อุปกรณ์ และ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่รวบรวม ประมวลผล จัดเก็บ และแจกจ่ายข้อมูลข่าวสารเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ และ การควบคุมภายในองค์กรนอกจากนียั้งชาวบุคลากรในองค์กรนัน้ใน การประสานงานการวิเคราะห์ปัญหาการสร้างแบบจาลองวัตถุที่มีความ ซับซ้อน และ การสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ ระบบสารสนเทศ ประกอบด้วยบุคคล สถานที่ และ สิ่งของภายใน อ ง ค์ ก ร นั้น ห รื อ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง อ ง ค์ ก ร ค า ว่ า ” ข่าวสาร”(information) หมายถึง ข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลหรือ ปรุงแต่ง เพื่อให้มีความหมาย และ เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ ส่วนคาว่า ข้อมูล (data) เป็นเพียงข้อเท็จจริงที่ได้รับการรวบรวมหรือป้อนเข้าสู้ระบบ ซึ่ง อาจใช้แทนเหตุการณ์ ที่เกิดขึน้ภายในองค์กรหรือสิ่งแวดล้อม ก่อนที่จะถูก นาไปจัดการให้เหมาะสม กับการนาไปใช้งานในโอกาสต่อไป
  • 9. 6.8 ระบบสารสนเทศ ในมุมของธุรกิจ ในมุมมองของธุรกิจ (Business Perspective) ระบบ สารสนเทศ คือ กระบวนการแก้ปัญหาที่มีการจัดโครงสร้างอย่างดี สอดคล้องตามเทคโนโลยีข่าวสารที่นามาใช้เพื่อตอบสนองต่อความท้าทาย ทัง้หลายจากสิ่งแวดล้อมขององค์กร ในการทาความเข้าใจความหมายของ ระบบสารสนเทศอย่างลึกซึง้ผู้บริหารจึงต้องมีความเข้าใจโครงสร้างของ องค์กร กระบวนการบริหารงานเทคโนโลยีข่าวสาร และ ความสามารถใน การนาเสนอกระบวนการแก้ปัญหา การทาความเข้าใจในระบบสารสนเทศ รวมทัง้พฤติกรรม
  • 10. 6.9 องค์กร ระบบสารสนเทศถือว่าเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร (Organization) องค์กรบางแห่ง ในปัจจุบันสามารถดาเนินธุรกิจได้ก็เพราะมีระบบสารสนเทศที่ดี เช่น ธนาคารต่าง ๆ ถ้า ระบบสารสนเทศหยุดทางาน ธนาคารนัน้ก็จะต้องหยุดทางานในทันที องค์ประกอบที่ สาคัญขององค์กร ได้แก่ พนักงาน โครงสร้างและระเบียบปฏิบัติงาน นโยบายและแบบ ธรรมเนียม องค์กรแบบเป็นทางการจะมีโครงสร้างที่แบ่งเป็นหลายอย่างชัดเจน ผู้เชี่ยวชาญหลายประเภท ซึ่งเป็นการแบ่งพนักงานออกเป็นหลายกลุ่มตามหน้าที่การ งานอย่างชัดเจนผู้เชี่ยวชาญได้รับการว่าจ้างเข้ามา และ ฝึกฝนให้ทาหน้าที่ต่างกัน คือ ด้านการขายและการตลาด การเงิน การบัญชี และ การบริหารทรัพยากรบุคคล หน้าที่วัตถุประสงค์ การขายและการตลาด ขายสินค้าและบริการที่องค์กรผลิตขึน้มา การผลิต ผลิตสินค้าและบริการ การเงิน บริหารทรัพยากรด้านทรัพย์สิน การบัญชีจัดการด้านบัญชีรายรับ-รายจ่าย บัญชี เจ้าหนี้- ลูกหนี้ การบริหารทรัพยากรบคุคล พัฒนาบุคลากรที่มีอยู่ จัดหาบุคลากรใหม่ และเก็บทะเบียนประวัติของบุคลากร
  • 11. 6.10 การบริหาร ผู้บริหาร (Managers) รับทราบปัญหา และ ความท้าทายทางธุรกิจมา จากสิ่งแวดล้อม จากทัง้ภายใน และ ภายนอกองค์กร จากนั้นจึงสร้างกลยุทธ์ในการ แก้ปัญหา (Strategy) เพื่อตอบสนอง แล้วจัดสรรทรัพยากรมนุษย์ และ เงินทุน และ ประสานการทางานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรในที่สุดผู้บริหารจาเป็นจะต้อง เป็นบุคคลที่มีความรับผิดชอบสูงซึ่งจะต้องเป็นผู้นาที่สามารถบริหารงานช่วยให้องค์กร ฟันฝ่าอุปสรรค์ทัง้หลายไปได้ ระบบสารสนเทศจึงเป็นเสมือนเครื่องมือชิน้สาคัญที่จะช่วย ให้บริหารสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ไดอย่าง สะดวก และรวดเร็วขึน้ ผู้บริหารบางส่วนยังมี ความรับผิดชอบนอกจากเหนือไปจากงานทั่วไป คือ จะต้องสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการ ใหม่ ๆ ให้แก่องค์กร บทบาท และ ความรับผิดชอบในการตัดสินใจของผู้บริหาร ในแต่ละระดับนัน้ แตกต่างกัน ผู้บริหารอาวุโส (Senior managers) กาหนดแนวทางการผลิต สินค้า และบริการในระยะ ผู้บริหารระดับกลาง (middle managers) พัฒนา แผนการปฏิบัติงานขึน้มาเพื่อรองรับแผนการระยะที่ผู้บริหารอาวุโสกาหนด ส่วนผู้บริหาร ระดับปฏิบัติการ (operational managers) ควบคุมรับผิดชอบการ ปฏิบัติงานที่เกิดขึน้ในแต่ละวันให้เป็นด้วยความเรียบร้อย ผู้บริหารแต่ละระดับจาเป็น จะต้องมีแนวทางในการพัฒนาที่ตนเองรับผิดชอบ และ จะต้องมีระบบสารสนเทศที่ นาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่แตกต่างกัน
  • 12. 6.11 เทคโนโลยี เทคโนโลยีข่าวสาร (Information technology) เป็นหนึ่งใน เครื่องมือหลายอย่างที่ผู้บริหารจาเป็นต้องมีไว้ใช้งานเพื่อจัดการกับการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขนึ้อยู่เสมอ คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ (Computer Hardware)คือ เครื่องมือ หรือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ใช้สาหรับการป้อนข้อมูล การประมวลผลและการนาเสนอ ใน ระบบสารสนเทศ อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่ ตัวประมวลผล(CPU) อุปกรณ์สาหรับการ ป้อนข้อมูล เช่น แป้นพิมพ์ หน่วยแสดงผล เช่น จอภาพ อุปกรณ์บันทึกข้อมูล เช่น หน่วย บันทึกข้อมูลจานแม่เหล็ก คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์(Computer Software) คือ ชุดคาสั่งที่ใช้ สาหรับควบคุมการทางานและประสานงานระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในระบบ ข่าวสารที่ทางานตามที่ต้องการ เทคโนโลยีที่กล่าวถึงทัง้หมดนีเ้ป็นทรัพยากรขององค์กรที่สามารถนามาใช้ งานร่วมกันได้ทวั่ทัง้องค์กร และกลายเป็นสิ่งที่เรียกว่า โครงสร้างระบบสารสนเทศภายใน องค์กร (Information Technology Infrastructure) ซึ่งเป็น พืน้ฐาน (Foundation or Platform) เพื่อให้องค์กรสามารถสร้างระบบ ข่าวสารที่ต้องการได้
  • 13. 6.12 แนวทางการใช้ ระบบสารสนเทศในยุค ปัจจุบัน 1. แนวทางกลุ่มเทคนิค (Technical approach) เน้นการทางาน พืน้ฐานทางคณิตศาสตร์รูปแบบจาลอง เทคโนโลยีของอุปกรณ์ที่นามาใช้ 2. แนวทางกลุ่มพฤติกรรมองค์ประกอบที่สาคัญส่วนหนึ่งของระบบ สารสนเทศเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมขององค์กรซึ่งต้องนามาพิจารณาในการ สร้าง และ การบารุงระบบสารสนเทศในระยะยาว 3. แนวทางศึกษากลุ่มพฤติกรรมการศึกษาเรื่องระบบสารสนเทศเพื่อการ จักการ(Management Information System: MIS)
  • 14. 6.13 บทบาทใหม่ ของระบบสารสนเทศ ภายในองค์กร ผู้บริหารสมัยใหม่ ไม่สามารถเพิกเฉยต่อระบบสารสนเทศได้อีกต่อไป เนื่องจากระบบสารสนเทศ มีบทบาทที่สาคัญเป็นอย่างยิ่ง สาหรับองค์กรใน ยุคปัจจุบันจนอาจกล่าวได้ว่าเทคโนโลยีดิจิตอลได้เข้ามาเปลี่ยนแปลง รูปแบบหรือวิธีการดาเนินธุรกิจขององค์กรสมัยใหม่แล้ว ระบบสารสนเทศ กลายเป็นเครื่องมือที่ชีช้ะตาหรือเป็นตัวกาหนดแนวทางการกาหนดหรือ ควบคุมคุณภาพของสินค้าหรือผู้บริหารระดับสูง ความรับผิดชอบของระบบ สารสนเทศจึงไม่ได้ขึน้อยู่กับผู้รับผิดชอบการตัดสินใจทางด้านเทคนิคแต่ เพียงอย่างเดียว
  • 15. 6.14 ขอบเขตการใช้ งานที่กว้างขวาง กว่าเดิมของระบบ สารสนเทศ แสดงความสัมพันธ์แบบใหม่ระหว่างองค์กรกับระบบสารสนเทศที่ เพิ่มพูนขึ้นทุกขณะด้านหนึ่ง ประกอบด้วยแนวทางการดาเนินธุรกิจ (business strategy) กฎระเบียบ (rules) และ กระบวนการ ทางาน (procedures) ส่วนอีกด้านหนึ่งประกอบด้วยซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ ฐานข้อมูล (databases) และ ระบบสื่อสารข้อมูล (telecommunications) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในส่วนใด ส่วนหนึ่งมักจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในส่วนอื่นด้วยเสมอ ความสัมพันธ์ ระหว่างกันนีจ้ะยิ่งทวีความสาคัญยิ่งขึน้เมื่อมีการวางแผนสาหรับการจัดการ ในอนาคต เช่น การกาหนดแนวทางการดาเนินธุรกิจในอีกห้าปีข้างหน้า จะต้องกาหนดหน้าที่การทางานของระบบสารสนเทศ ให้สอดคล้องกันไป ด้วยความซับซ้อนของกระบวนการทางาน และ ขอบเขตของงานก็เป็นอีก ปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ ความสัมพันธ์ดังกล่าวมีมากยิ่งขึน้โครงสร้างขององค์กร ในปัจจุบันมีส่วนประกอบมากขึ้นกว่าแต่ก่อน องค์กรแบบเดิมมีการ เปลี่ยนแปลงเกิดขึน้ในส่วนงานด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับคนเป็นจานวน น้อยในขณะที่การเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันจะเกิดขึน้กับงานด้านบริหาร องค์กรซึ่งเกี่ยวพันกับคนส่วนใหญ่
  • 16. 6.15 วิวัฒนาการ ของระบบเครือข่าย และระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตให้บริการที่มีประโยชน์มากอย่างหนึ่งเรียกว่า โครงข่ายโลก หรือ WWW (World Wide Web) โครงข่ายโลก หมายถึงระบบถึงระบบที่มีมาจรฐานสากลในการเก็บรักษา การค้นหาใช้ รูปแบบ และ การแสดงผลข่าวสารถูกเก็บรักษาและนามาแสดงในรูปแบบ ของหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งแบ่งออกเป็น หลายหน้าเรียกว่า หน้าข่าวสาร หรือ “ Web pages” ข่าวสารในแต่ละหน้า ประกอบด้วยข้อความ (text) เสียง (sound) รูปภาพ (graphics) ภาพเคลื่อน ที่ (animation) และ วิดีทัศน์ (video) แต่ละหน้าอาจมีการเชื่อมโยง ทางอิเล็กทรอนิกส์ (electronically link) ไปยังข่าวสารที่เก็บอยู่ใน หน้าอื่นได้โดยไม่มีข้อจากัดว่าหน้าที่เชื่อมโยงไปนั้นจะถูกเก็บอยู่ใน คอมพิวเตอร์เครื่องเดียวกันหรืออยู่ในเครื่อง ฯ ที่ตัง้อยู่อีกซีกโลกหนึ่ง วิธีการ เรียกใช้การเชื่อมโยงซึ่งผู้ใช้สามารถทาได้ง่ายหลายวิธีก็เป็นอีกส่วนหนึ่งที่ กลายเป็น วิธีการพืน้ฐานสาหรับการเผยแพร่ข่าวในระบบสารสนเทศ
  • 17. 6.15 วิวัฒนาการ ของระบบเครือข่าย และระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต หน้าข่าวสาร หรือ “ web pages” ทัง้หมดขององค์กรหนึ่ง เรียกว่า ที่ตัง้หน้าข่าวสาร หรือ “Web site” มกัจะได้รับการดูแลโดย องค์กรผู้เป็นเจ้าของนัน้เอง หรือ อาจว่าจ้างให้บริษัทอื่นทาหน้าที่ดูแลแทนก็ ได้ผู้รับผิดชอบจะพยายามตกแต่งหน้าข่าวสารให้มีความสวยงามและใช้ เทคนิคที่น่าสนใจเป็นหลักในการเรียกร้องความสนใจจากผู้เข้าชม ข่าวสารที่ เผยแพร่ผ่านหน้าข่าวสารนี้จัดเป็นการเผยแพร่แบบกระจายออกไปทวั่โลก โดยไม่มีการเจาะจงผู้รับเช่นเดียวกับการโฆษณาผ่านสื่อวิทยุหรือโทรทัศน์ แต่มีขีดความสามารถในการรับข้อมูล กลับมาได้ด้วย ทาให้ผู้ใช้ซึ่งอาจเป็น ลูกค้าหรือพนักงานขององค์กรนัน้สามารถส่งรายการสงั่ซือ้สินค้าหรือบริการ หรือส่งข้อมูลที่ต้องการกลับไปยังองค์กรที่เป็นเจ้าของหน้าข่าวสารนัน้ได้ ในทันทีและทุกสถานที่ต้องการ
  • 18. 6.16 ทางเลือกใหม่ สาหรับการออกแบบ โครงสร้างองค์กร: องค์กรดิจิตอลและ องค์กรเครือข่าย ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ ระบบเครือข่ายทาให้เกิด รูปแบบใหม่ขององค์กร เรียกว่าองค์กรเครือข่า ย(Networked enterprise) ซึ่งจัดการแพร่กระจายข่าวสารไปยังบุคคลภายในและ ภายนอกองค์กร ในทันที ความสามารถนีน้ามาใช้ในการปรับหรือเปลี่ยน โครงสร้างองค์กรเพิ่มหรือขยายขอบเขตการดาเนินงาน รายงาน และ ควบคุมการดาเนินการ การฝึกงาน รวมทัง้การนาเสนอสินค้า และ บริการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 19. 6.17 การลดจานวน ระดับชนั้ผู้บริหาร องค์กรดิจิตอลมีโครงสร้างการบริหารแบบลาดับขัน้ที่ได้รับการ พัฒนาให้มีความสามารถเหมาะสมกว่าเดิมซึ่งจะทาให้เกิดความสมดุลของ กระบวนการตัดสินใจที่เกิดขึน้ทัง้องค์กรทาให้สามารถลดระดับขัน้บริหารให้ มี ระดับขัน้น้อยกว่าเดิม (Flatter organization) ใน ขณะเดียวกันก็เพิ่มอานาจในการตัดสินใจแก้ปัญหา ให้แก่ผู้บริหารระดับ ล่าง ผู้บริหารกลุ่มนีจึ้งมีอานาจมากกว่าในอดีต และ มีความรับผิดชอบ สูงขึน้ในการทางานจึงไม่ได้ถูกจากัดชวั่โมงทางานอีกต่อไป และไม่มีความ จาเป็นจะต้องอยู่แต่ในห้องทางานผู้บริหาร และ พนักงาน บางส่วนอยู่ไกล ออกไปหลายพันกิโลเมตรจากที่ทางานของตนเองก็ได้
  • 20. 6.18 การแยก สถานที่ทางาน ออกจากงานที่ทา การทางานร่วมกันโดยที่ผู้ร่วมงานอาจอยู่ห่างกันหลายพัน กิโลเมตรก็อาจเป็นไปได้ ตัวอย่าง เช่น บริษัท FORD Motor ของ ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ออกแบบรถยนต์รุ่น Mustang ผ่าน ร ะ บ บ สื่อ ส า ร ค ว า ม เ ร็ว สูง แ ล ะ ใ ช้ซ อ ฟ ต์แ ว ร์ป ร ะ เ ภ ท CAD (Computer-Aided Design) โดยมีทีมวิศวกรที่เมือง Denton ในประเทศอังกฤษทางานร่วมกับวิศวกรที่เมือง Dearborn ในรัฐมิชิเกน และ มีข้อมูลเพิ่มเติมจากวิศวกรในประเทศ ญี่ปุ่น และ ออสเตรเลีย เมื่อออกแบบเสร็จแล้วทีมวิศวกรที่เมือง Turin ใน ประเทศอิตาลีก็นาแบบนัน้ไปสร้างเป็นรถยนต์คันต้นแบบได้ในทันที บริษัท FORD ยังคงใช้วิธีการนีใ้นการพัฒนารถยนต์รุ่นใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง
  • 21. 6.19 การทบทวน กระบวนการทางาน ระบบสารสนเทศได้เข้ามาแทนที่กระบวนการทางานแบบเดิม อย่างรวดเร็ว และ กว้างขวางทาให้เกิดเป็นกระบวนการทางานแบบ อิเล็กทรอนิกส์(Electronic Workflow) ซึ่งช่วยลดค่าใช้จ่ายใน การดาเนินงานขององค์การลงได้เป็นอย่างมาก แ ละ ยังช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการบริการให้สูงขึน้ด้วยตัวอย่างเช่น บริษัทประกันภัยแห่ง หนึ่งสามารถลดกระบวนการทางานในระบบเดิมซึ่งต้องใช้ทรัพยากรบุคคล ถึง 17 คน และ ใช้ระยะเวลา ทางาน ถึง 33 วัน ลงมาเหลือเพียง 5 วัน โดยใช้ทรัพยากรบุคคลเพียง 7 คนเท่านัน้การเปลี่ยนแปลงกระบวนการ ทางานในลักษณะนี้จะมีผลกระทบโดยตรงต่อโครงสร้างขององค์กร ผลิตภัณฑ์ และบริการ
  • 22. 6.20 การเพิ่มความ คล่องตัวขององค์กร องค์กรขนาดเล็ก เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ซอฟต์แวร์ราคาถูกและเครื่องควบคุมเครื่องจักรที่มีความ เที่ยงตรงและคุณภาพสูงเทียบเท่ากับระบบที่มีใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ การใช้งานข่าวสารผ่านระบบเครือข่ายโทรศัพท์และการเชื่อมต่อผ่านระบบเครือข่าย ช่วย ลดการใช้งานผู้เชี่ยวชาญและการค้นคว้า ผู้บริหารสามารถใช้งานระบบสารสนเทศที่ต้องการเพื่อจัดการบริหารพนักงานจานวนมาก ที่ทางานกระจายกันอยู๋ในหลายพื้นที่ องค์กรขนาดใหญ่ สามารถสร้างระบบการผลิตเฉพาะแบบที่ช่วยสนองความต้องการเฉพาะด้านของกลุ่ม ลูกค้าแต่ละกลุ่มซึ่งมีขนาดเล็ก การเก็บฐานข้อมูลขนาดใหญ่ช่วยให้การวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้ามีความ เที่ยงตรงมากขึ้น สามารถกระจายข่าวสารลงไปยังผู้ปฏิบัติงานระดับล่างเพื่อช่วยให้พนักงานเหล่านั้นมี ข้อมูลมากเพียงพอสาหรับการแก้ปัญหาต่างๆ ได้ดีขึ้น
  • 23. 6.21 วิธีการ บริหารองค์กร ที่เปลี่ยนแปลงไป ระบบสารสนเทศ ช่วยให้ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารองค์กรเพิ่มขึน้ เช่น ผู้บริหารสามารถมองเห็นรายละเอียด และ ประสิทธิภาพของการทางานระบบใด ๆ ภายในองค์กรไดเตลอดเวลาผู้บริหารบริษัท Frito-Lay ซงึ่เป็นผู้ผลิตอาหารขบเคีย้ว เช่น มันฝรั่งทอดกรอบรายใหญ่ที่สุดในโลกสามารถมองเห็นตัวเลขยอดขาย สินค้าของ บริษัททวั่ประเทศสหรัฐอมเมริกา รวมทัง้ยอดขายของบริษัทคู่แข่ง และ ราคาขายปลีกได้ ภายในระยะเวลา ไม่กี่ชั่วโมงองค์กรหลายแห่งได้นาเทคโนโลยีข่าวสารเข้ามาใช้ใน กระบวนการวางแผนความต้องการทรัพยากรขององค์กร เรียกว่า Enterprise Resource Planning (ERP) ซึ่งเป็นระบบการบริหารงานทางธุรกิจที่รวมการ วางแผนการดาเนินงาน แผนการผลิตแผนการขาย และ แผนการเงิน เข้าด้วยกันเพื่อให้ ระบบเหล่านี้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบ ERP ช่วยในการ ทางานอัตโนมัติหลายอย่าง เช่น การบันทึก รายการสั่งซือ้สินค้าหรือการจัดตารางการส่ง สินค้า โดยมีจุดประสงค์ในการรวบรวมข้อมูลข่าวสารของทัง้องค์กร ซึ่งจะช่วยขจัดความ ซับซ้อน และ ค่าใช้จ่ายในการเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์ของส่วนต่างๆ เข้าด้วยกัน เช่น พนักงานฝ่ายขายป้อนข้อมูลการสงั่ซือ้สินค้าจากสถานที่หนึ่งในทวีปยุโรปข้อมูลนีจ้ะถูก นาส่งไปยังบุคลากรในส่วนต่าง ๆ ขององค์กรที่จาเป็นต้องทราบตัวเลขนีโ้ดยอัตโนมัติ โรงงานผลิตในฮ่องกงสามารถดาเนินการผลิตสินค้าที่สั่งได้ในทันทีในขณะทีฝ่าย คลังสินค้าจัดการวางตารางการส่งสินค้าไดเรียบร้อยก่อนที่จะผลิตสินค้าเสร็จ ข้อมูลที่ ผ่านการจัดการบางส่วนจะส่งต่อไปยังฝ่ายบัญชีเพื่อบันทึกหลักฐาน ส่วนผู้บริหารที่ สานักงานใหญ่ในกรุงเทพก็จะสามารถมองเห็นตัวเลขทางบัญชีได้
  • 24. 6.22 การกาหนด ขอบเขต การดาเนินการใหม่ ระบบสารสนเทศที่มีการเชื่อมต่อผ่านระบบเครือข่าย ช่วยเพิ่มความสามารถในการ แลกเปลี่ยนข้อมูล เช่น ใบรายการสั่งซื้อสินค้า หรือรายการชาระเงินในรูปแบบ อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์กร ซึ่งช่วยลดค่าใช้จ่าย ในการสงั่ซือ้สินค้า และ บริการจาก ภายนอกลงได้มาก องค์ต่างๆ สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลอื่นระหว่างกัน เช่น รายการ สินค้า และ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบนี้ได้ ซึ่งทาให้เกิดประสิทธิภาพสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรแบบใหม่ขึน้ในหมู่ลูกค้า และ บริษัทคู่ค้า เรียกว่าเป็นการ กาหนดขอบเขตการดาเนินงานในรูปแบบ ใหม่ เช่น บริษัทไครสเลอร์ (Chrysler Corp.) เชื่อมต่อข้อมูลการผลิตรถยนต์ของตนเองเข้ากับระบบสารสนเทศของบริษัท บัดด์(Budd Company of Racheshester) ซงึ่เป็นผู้ผลิตเหล็กแผ่น สาหรับการผลิตรถยนต์ บริษัทบัดด์สามารถตรวจสอบสถานการณ์ผลิตรถยนต์ของบริษัท ไครสเลอร์ผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ และ จัดการส่งเหล็กแผ่นมาให้ในระยะเวลาที่ ต้องใช้โดยอัตโนมัติ ซงึ่ทางไครเลอร์ไม่ต้องออกใบสงั่ซือ้เลย ทัง้สองบริษัทนีจึ้งกลายเป็น ผู้รับผิดชอบร่วมกันในการดาเนินการผลิตรถยนต์ แทนที่จะเป็นบริษัทไครสเลอร์เพียง แห่งเดียว ระบบสารสนเทศเช่นนี้เรียกว่า ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร (Inter organization Information System) ซึ่งจะเชื่อมต่อระบบสารสนเทศ ขององค์กรหนึ่งเข้ากับระบบสารสนเทศของอีกองค์กรหนึ่ง โดยที่ทัง้สององค์กรจะใช้ ข้อมูลข่าวสารร่วมกัน และ เป็นกระบวนการที่เกิดขนึ้โดยอัตโนมัติ
  • 25. 6.23 องค์กรดิจิตอล : การพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ และระบบธุรกิจ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Amazon.comเป็นบริษัทที่ทาการค้าผ่านระบบเครือค่ายอินเทอร์เน็ตที่เสนอขายหนังสือมากกว่า 3 ล้านเรื่อง ลูกค้าสามารถสัง่ซื้อหนังสือทางอิเล็กทรอนิกส์และหนังสือจะถูกส่งมาทางไปรษณีย์ Travelocity เป็นเว็บไซท์ที่เปิดให้ลูกค้าเข้ามาหาข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวรวมทั้งการวาง แผนการเดินทาง ลูกค้าที่สามารถส่งจองที่พัก พาหนะและบริการต่าง ๆได้ Mobil Corporation สร้างระบบเครือข่ายส่วนตัวขึ้นใช้งานโดยใช้เทคโนโลยีเดียวกันที่ใช้ในระบบ อินเทอร์เน็ต ซึ่งช่วยให้ตัวแทนจาหน่ายของบริษัทมากกว่า 300 แห่งสามารถสัง่ซื้อสินค้าผ่านเว็บได้โดยตรง การทาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ Roche Bioscience นักวิทยาศาสตร์ จากทัว่โลกใช้ระบบอินทราเน็ตในการแลกเปลี่ยนผลงานค้นคว้า และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน ระบบอินทราเน็ตยังให้บริการหมายเลขโทรศัพท์ของบริษัทและสถานที่ เกี่ยวข้องด้วย University of Texas Medical Branch at Galveston เผยแพร่เอกสาร เช่น นโยบาย การให้บริการพยาบาลระบบอินทราเน็ตซึ่งช่วยลดปริมาณการใช้กระดาษและปรับปรุงประสิทธิภาพการบริการ Dream Words SKG ใช้ระบบอินทราเน็ตในการตรวจสถานการณ์ทางานของโครงงานต่าง ๆ และ การทางานร่วมกันของการผลิตฉากในภาพยนตร์
  • 26. 6.24 การเรียนรู้การ นาระบบสารสนเทศ มาใช้งาน : โอกาส ใหม่เทคโนโลยี 1. ความท้าทายในแนวทางการบริหารธุรกิจจะการนาระบบสารสนเทศเข้ามาใช้ในการ บริหารองค์กร เพื่อให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขันและมีประสิทธิภาพ 2. ความท้าทายในยุคโลกาภิวัตน์: องค์กรมีความเข้าใจในวิธีการดาเนินธุรกิจและ ความต้องการสาหรับสิ่งแวดล้อมในระบบเศรษฐกิจระดับโลก ซึ่งต้องการระบบ สารสนเทศที่สามารถระหว่างประเทศทาให้เกิดเป็นแนวทางระบบเศรษฐกิจระดับโลก 3.ความท้าทายในด้านโครสร้างระบบสารสนเทศ : องค์กรจะมีวิธีอย่างไรในการพัฒนา โครงสร้างระบบสารสนเทศสาหรับโครงสร้างข่ายข่าวสารภายในซึ่งจะต้องสนับสนุน วัตถุประสงค์ในการดาเนินธุรกิจ การสร้างระบบสารสนเทศในปัจจุบันเป็นมากกว่าการ ติดต่ออุปกรณ์ชิน้หนงึ่ในบ้านพัก 4. ความท้าทายในการลงทุนด้านระบบสารสนเทศ : องค์กรจะมีวิธีการอย่างไรในการ ประเมินค่า ในเชิงธุรกิจของระบบสารสนเทศที่ได้ลงทุนสร้างขึน้มาใช้งาน ปัญหาหลัก เกิดขึน้จากความต้องการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้มีขีดความสามารถสูงแต่มีการ ลงทุนต่า 5.ความท้าทายในด้านความรับผิดชอบ และ การควบคุม : องค์กรจะสร้างระบบ สารสนเทศขึน้มาอย่างไร เพื่อให้บุคลากรสามารถควบคุม และ เข้าใจระบบได้อย่างมี ประสิทธิภาพ องค์กรจะแน่ใจได้อย่างว่าระบบสารสนเทศที่ได้ลงทุนได้ลงทุนสร้างขึน้มา นัน้ ถูกนาไปใช้อย่างถูกต้อง ตามจริยธรรมและ มีความรับผิดชอบที่ดีตอ่สังคม
  • 27. 6.24 การเรียนรู้การ นาระบบสารสนเทศ มาใช้งาน : โอกาส ใหม่เทคโนโลยี ผลประโยชน์ของระบบสารสนเทศ ผลกระทบในแง่ลบ  ระบบสารสนเทศสามารถทาการคานวณและ ประมวลผลงานได้เร็วกว่าคนมาก  ระบบสารสนเทศช่วยเหลือองค์กรในการเรียนรู้ รูปแบบการซอื้สินค้าและความชอบของลูกค้า ระบบสารสนเทศนาเสนอประสิทธิภาพผ่านการ ให้บริการต่าง ๆ เช่น ตู้เบิกเงินอัตโนมัติ เอทีเอ็ม ระบบโทรศัพท์ หรือ เครื่องบินที่ใช้คอมพิวเตอร์ ควบคุมเป็นต้น  ระบบสารสนเทศสนับสนุนระบบการรักษาโรคขึน้ ก้าวหน้า รังสีวิทยา และ การเฝ้าตรวจคนไข้  ระบบอินเทอร์เน็ตช่วยในการเผยแพร่ข่าวสาร ไปสู้คนทัว่โลก  ระบบงานที่สามารถทางานได้โดยอัตโนมัติอาจ ทาให้มีคนตกงานเพิ่มขึน้อย่างรวดเร็ว ระบบสารสนเทศช่วยให้สามารถบันทึก รายละเอียดของตนได้อย่างง่ายดายซึ่งอาจเป็น การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล  ระบบสารสนเทศถูกนามาใช้งานอย่างกว้างขวาง แทบจะในทุกเรื่อง การล้มเหลวของระบบงานอาจ นาไปสู้ความล้มเหลวขององค์กร ระบบขนสง่ มวลชนหยุดทางานหรืออาจร้ายแรงถงึขัน้ทาให้ ชุมชนเป็นอัมพาตได้  ผู้คนที่ใช้ระบบสารสนเทศเป็นอย่างมากจะ ประสบปัญหาการเจ็บป่วยในรูปแบบใหม่ๆ  ระบบอินเทอร์เน็ตอาจถูกนามาใช้ในการ ถ่ายทอดข้อมูลหรือโปรแกรมที่ละเมิดลิขสิทธิ์ได้