SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
โปรตีน ( Protein ) Polymer   of   amino   acids
1. ความสำคัญของโปรตีน โปรตีนเป็นอินทรียสารที่มีความสำคัญในเชิงเป็นโครงสร้างเนื้อเยื่อร่างกาย  ในคนเรามีโปรตีนอยู่ประมาณ  1  ใน  7  ของน้ำหนักตัว  ธาตุที่เป็นองค์ประกอบหลักของโปรตีนคือ   C  H  O  N   และ  อาจจะมีกำมะถัน  (  S  )  กับฟอสฟอรัส  (  P  )  เป็นองค์ประกอบ   น้ำหนักโมเลกุลของโปรตีนมีตั้งแต่  5,000  ดาลตัน ขึ้นไปจนถึง  106  ดาลตัน ซึ่งมีน้ำหนักน้อยกว่า กรดนิวคลีอิก  (  nucleic acid  ) ชนิดดีเอนเอ (  DNA = Deoxyribonucleic acid )  ซึ่งมีน้ำหนักถึง  106  ดาลตันขึ้นไป
2. ส่วนประกอบของโปรตีน โปรตีนแต่ละโมเลกุลประกอบด้วยหน่วยย่อย ( Monomer )  คือ   กรดอะมิโน  หลายๆหน่วย  มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเคมีที่เรียกว่า พันธะเพปไทด์  ( Peptide  bond  )
สูตรทั่วไปของกรดอะมิโน
 
  ในธรรมชาติมีกรดอะมิโนอิสระ  อยู่ทั้งหมด  20  ชนิด  แต่มีโปรตีนมากมายหลายชนิด  เช่น  ในร่างกายคนประกอบด้วย โปรตีนมากกว่า  100,000  ชนิดเนื่องจาก  1. ชนิดของกรดอะมิโนในโปรตีน แต่ละชนิดต่างกัน 2. จำนวนโมเลกุลของกรดอะมิโนในโปรตีนแต่ละชนิดไม่เท่ากัน 3. ลำดับการจัดเรียงตัวของกรดอะมิโนที่มาเรียงต่อกัน  เรียกว่า พอลิเพปไทด์   (   polypeptide   )  ของโมเลกุลโปรตีนมีจำนวนสาย ไม่เท่ากัน
3. ประเภทของอะมิโน 3.1  กรดอะมิโนที่จำเป็น  ( essential amino acid ) เป็นกรดอะมิโนที่ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ขึ้นได้ ได้แก่ ลิวซีน ไอโซลิวซีน ไลซีน เมไธโอนีน ฟินิลอะลานีน ทรีโอนีน ทริฟโตเฟน และวาลีน  ( นอกจากนี้ในทารกอาจนับฮีสทีนรวมด้วย )
3.2  กรดอะมิโนไม่จำเป็น   (  non essential  amino  acid  )  เป็นกรดอะมิโนที่ร่างกายสังเคราะห์เอง  ได้จากกรดอะมิโน  หรือสารอินทรีย์อื่นๆได้แก่  อะลานีน  อาร์จินีน แอสพาราจีน  ซีสเทอีน  กรดแอสพาติก กรดกลูตามิก กลูตามีน ไกลซีน โปรลีน เซรีน ไทโรซีน
ประเภทของโปรตีน การจำแนกประเภทของโปรตีนมีหลายเกณฑ์  แต่ถ้าจัดประเภทของโปรตีนตามหน้าที่  องค์ประกอบ  รูปร่าง และ ความสามารถในการละลาย  จะแบ่งเป็น  3  ประเภทดังนี้ 1.  จำแนกตามหน้าที่ทางชีวภาพ   (  biological  function  )  2.  จำแนกตามความสามารถในการละลาย   (  solubility  )   3.  จำแนกตามองค์ประกอบ
1. จำแนกตามหน้าที่ทางชีวภาพ   (  biological  function  )  ได้แก่ 1.1  เอนไซม์  (  enzyme  ) 1.2  โปรตีนโครงสร้าง   (  structural  protien  )  เช่น  คอลลาเจน  (  collagen  )  และ อีลาสติน  (  elastin  )  ในเนื่อเยื่อเกี่ยวพัน  (  connective  tissue   )  เคอราติน  (  keratin  )  ในผิวหนัง เส้นผม และเล็บ 1.3  โปรตีนเกี่ยวกับการหดตัว   (  contratile  protein  )  เช่น แอกติน  (  actin  )  และ ไมโอซิน  ( myosin )  ในกล้ามเนื้อ
Actin / Myosin Interaction  - Myosin heads as they bind to actin filaments at Troponin I sites along the Tropomyosin strands.    (Chien, K.R., 1999)
1.4  โปรตีนทำหน้าที่ลำเลียง   (  transport  protien  )   เช่น  ฮีโมโกลบิน และ ไมโอโกลบิน ทำหน้าที่ลำเลียง  o 2  แอลบูบิน  (  albubin )  ลำเลียงกรดไขมันในเลือด 1.5  โปรตีนทำหน้าที่ป้องกัน   (  defense protein  )   เช่น อิมมูโนโกลบิน  (  immunoglobulin  antibody   )  ต่อสู้สิ่งแปลกปลอม  ไฟบริโนเจน  (  fibrinogen )  ในเลือดเป็นปัจจัยในการแข็งตัวของเลือด
2.  จำแนกตามความสามารถในการละลาย   (  solubility  ) 2.1  โปรตีนที่มีลักษณะเป็นก้อน   (  globular  protein  )  ละลายน้ำได้  เนื่องจากประกอบด้วยกรดอะมิโนที่มีขั้ว  (  polar  surface  )  เป็นโปรตีนกลุ่มใหญ่  ได้แก่  เอนไซม์  พลาสมาโปรตีน และ โปรตีนที่พบในเยื่อหุ้มเซลล์ 2.2  โปรตีนที่มีลักษณะเป็นเส้นใย   (  fibrous protein   )  ไม่ละลายน้ำ มีลักษณะเป็นใยยาวแข็งแรง  ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างและค้ำจุน  ได้แก่  คอลลาเจน  อีลาสติน  เคอราติน  ไมโอซิน และ ไฟบริน
3. จำแนกตามองค์ประกอบ โมเลกุลโปรตีนนอกจากประกอบด้วยส่วนที่เป็นโปรตีนที่เกิดจากการเรียงตัวของกรดอะมิโนโดยตรงแล้ว ในโมเลกุลยังประกอบด้วยส่วนอื่นที่ไม่ใช่โปรตีน  (  nonprotein  component )  เรียกโปรตีนเหล่านี้ว่า  conjugated  protein  ได้แก่ 3.1  ลิโพโปรตีน   (  lipoprotein  )  ประกอบด้วยโปรตีนและไขมัน  โปรตีนที่พบในเลือด
3.2  ไกลโคโปรตีน   (  glycoprotein  )  ประกอบด้วยโปรตีน และ คาร์โบไฮเดรต  เช่น  อิมมูโนโกลบูลิน  โปรตีน ที่เยื่อหุ้มเซลล์  คอลลาเจน  และ  โปรตีนชนิดอื่นๆ  ที่พบในเนื่อเยื่อเกี่ยวพัน 3.3  นิวคลีโอโปรตีน   (  nucleoprotein  )  ประกอบด้วยโปรตีน และ กรดนิวคลีอิก  พบในโครโมโซม และ ไวรัส
3.4  ฮีมโปรตีน หรือ โครโมโปรตีน   (  hemeprotein or chromoprotein  )  ประกอบด้วยโปรตีนกับหมู่ฮีม  (  heme group  )  เช่น ฮีโมโกลบิน  ไมโอโกลบิน  ไซโทโครม  (  cytochrome  )   3.5  เมทัลดลโปรตีน   (  metalloprotein  )   ประกอบด้วยโปรตีนและไอออนของโลหะจำนวน  1  หรือมากกว่า  1  อนุภาค เช่น เอนไซม์บางชนิด
4. โครงสร้างของโปรตีน กรดอะมิโนแต่ละโมเลกุลจะมาเชื่อมต่อกันเป็นหมู่  –  COOH  ของกรดอะมิโนตัวหนึ่งเข้าทำปฏิกิริยากับหมู่ – NH 2   ของกรดอะมิโนตัวถัดมา  แล้วทำปฏิกิริยากับน้ำเกิดพันธะเปปไทด์   เพปไทด์ ประกอบด้วย กรดอะมิโนต่อกันเป็นสาย  ผลที่ได้จาก การรวมตัวของกรดอะมิโน  2  โมเลกุล เรียกว่า ไดเปปไทด์ ( dipeptide )   และถ้ากรดอะมิโนหลายๆโมเลกุล  (  ตั้งแต่  100-800 โมเลกุลโดยประมาณ  ) หลายๆชนิดมาต่อกัน ด้วยพันธะเปปไทด์ จะเกิดพอลีเมอร์ ซึ่งมีขนาดใหญ่มากเรียกว่า  พอลีเปปไทด์   ( Polypeptide )
 
สารที่ประกอบด้วยกรดอะมิโน  2  โมเลกุล เรียกว่า ไดเพปไทด์  สารที่ประกอบด้วยกรดอะมิโน  3  โมเลกุล เรียกว่า ไตรเพปไทด์  สารที่ประกอบด้วยกรดอะมิโนตั้งแต่  100  โมเลกุลขึ้นไป เรียกว่า พอลิเพปไทด์นี้ว่า โปรตีน  อนึ่งสารสังเคราะห์บางชนิดก็เกิดพันธะเพปไทด์เหมือนกัน เช่น ไนลอน ดังนี้
 
5. ลักษณะของโปรตีนที่ดี อาหารโปรตีนที่ดีควรมีกรดอะมิโนที่จำเป็นครบถ้วน  ถ้าร่างกายมีกรดอะมิโนครบถ้วน  การสังเคราะห์โปรตีนในร่างกายก็จะเป็นไปอย่างสมบูรณ์  ถ้าขาดตัวใดตัวหนึ่ง หรือ มีปริมาณต่ำ การสังเคราะห์โปรตีนก็จะหยุด  (  หรือเกิดช้า  )
6. ประเภทของโปรตีน แบ่งออกเป็น  2  ชนิด คือ 6.1  โปรตีนชนิดสมบูรณ์   เป็นโปรตีนที่ประกอบขึ้นด้วยกรดอะมิโนชนิดจำเป็นครบถ้วน และมีปริมาณมาก พบในเนื้อสัตว์ ถ้าเด็กขาดโปรตีนประเภทนี้  จะทำให้ร่างกายไม่สมบูรณ์  อ่อนแอ เป็นโรคขาดโปรตีน  การเจริญเติบโตช้า  เป็นโรคตานขโมยง่าย
6.2  โปรตีนชนิดไม่สมบูรณ์   เป็นโปรตีนที่มีกรดอะมิโนที่จำเป็นไม่ครบถ้วน  ได้แก่ โปรตีนที่มีอยู่ในธัญพืช ถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ ถ้าบริโภคอาการประเภทนี้  โดยไม่กินอาหารประเภท เนื้อสัตว์เพิ่มเติมเลย  จะทำให้ร่างกาย  ไม่เจริญสมบูรณ์เต็มที่  เพราะโปรตีนประเภทนี้ไม่สามารถสร้างเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อได้อย่างสมบูรณ์
7. หน้าที่และความสำคัญของโปรตีนต่อสิ่งมีชีวิต 1.  ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างของร่างกาย   และ ซ่อมแซมเนื้อเยื่อต่าง ๆ ทีสึกหรอ  ในร่างกายคนเราจะมีโปรตีนเป็นองค์ประกอบประมาณ  1  ใน  7  ของน้ำหนักตัว และ ต้องการอย่างน้อย  1  กรัม ต่อ น้ำหนักตัว  1  กิโลกรัม 2.  ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว   เช่น โปรตีนแอกติน  ( Actin  ) และไมโอซีน  ( Myosin )  เป็นองค์ประกอบของเซลล์กล้ามเนื้อ
3.  เป็นอาหารที่ให้พลังงานต่อร่างกาย  รองจากคาร์โบไฮเดรต และ ไขมัน 4. โปรตีนบางชนิดทำหน้าที่เป็น เอนไซม์ ( Enzyme )  และ  เอนไซม์ทุกชนิดมีโครงสร้างเป็นโปรตีน  ปฏิกิริยาในร่างกายสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นได้  เพราะ  มีเอนไซม์เป็นตัวเร่ง ( Biocatalyst )
5.  ทำหน้าที่เกี่ยวกับการขนส่ง 5.1 ฮีโมโกบินในเซลล์เม็ดเลือดแดงลำเลียง   O 2   ไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย ไมโอเกลบินลำเลียง  O 2   ในเซลล์กล้ามเนื้อ 5.2 อัลบูมิน ( Albumin ) ทำหน้าที่ขนส่งกรดไขมัน 5.3 ทรานซิเฟอริน  ( Transferin ) ในซีรัมทำหน้าที่ขนส่งธาตุเหล็ก
6.  โปรตีนบางชนิดเป็นสารพิษ   เช่น  พิษอหิวาตกโรค (  cholera toxin  )  ซึ่งจะเปลี่ยนคุณสมบัติของเยื่อหุ้มในลำไส้ พิษงูซึ่งประกอบด้วยเอนไซม์ที่ย่อยพวกไขมัน 7.  โปรตีนบางชนิด  เช่น  อิมมูโนโกลยูลิน  ทำหน้าที่เป็นภูมิคุ้มกันโรค  (  Immunity  )  ของร่างกาย
 

More Related Content

What's hot

บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลoraneehussem
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลmaechai17
 
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)kruaoijaipcccr
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลkruaoijaipcccr
 
Protein
ProteinProtein
Proteinsailom
 
Biomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุลBiomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุลJusmistic Jusmistic
 
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )PamPaul
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3sailom
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2nattapong01
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1sailom
 
Protein
Protein Protein
Protein 34361
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)BELL N JOYE
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคTANIKAN KUNTAWONG
 
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกTANIKAN KUNTAWONG
 

What's hot (20)

บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
 
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
Biomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุลBiomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุล
 
385
385385
385
 
Biochem
BiochemBiochem
Biochem
 
Biochem 5ed
Biochem 5edBiochem 5ed
Biochem 5ed
 
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
 
Protein
Protein Protein
Protein
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
 
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
 

Viewers also liked

Survey of Mobile
Survey of MobileSurvey of Mobile
Survey of Mobileamyhannah84
 
Pengenalan web browser
Pengenalan web browserPengenalan web browser
Pengenalan web browserHamdan Luthfi
 
Rendementvol Verhuur
Rendementvol VerhuurRendementvol Verhuur
Rendementvol Verhuurrenthousepro
 
Mobile Web for Libraries
Mobile Web for LibrariesMobile Web for Libraries
Mobile Web for Librariesamyhannah84
 
Rendementvol Verhuur
Rendementvol VerhuurRendementvol Verhuur
Rendementvol Verhuurrenthousepro
 
Dricon® FRT Wood: In a Class by Itself
Dricon® FRT Wood: In a Class by ItselfDricon® FRT Wood: In a Class by Itself
Dricon® FRT Wood: In a Class by ItselfWolmanizedWood
 
เรื่อง ลิพิด
เรื่อง ลิพิดเรื่อง ลิพิด
เรื่อง ลิพิดbatashi2
 
Introduction to Flickr
Introduction to FlickrIntroduction to Flickr
Introduction to Flickrjulietschwab
 
ใบงานที่13การแบ่งเซลล์
ใบงานที่13การแบ่งเซลล์ใบงานที่13การแบ่งเซลล์
ใบงานที่13การแบ่งเซลล์TANIKAN KUNTAWONG
 
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์TANIKAN KUNTAWONG
 
กล้วยหอมผ่าครึ่ง ผมแตกปลาย บุคลิกภาพแบ่งแยก split, split, split
กล้วยหอมผ่าครึ่ง ผมแตกปลาย บุคลิกภาพแบ่งแยก split, split, splitกล้วยหอมผ่าครึ่ง ผมแตกปลาย บุคลิกภาพแบ่งแยก split, split, split
กล้วยหอมผ่าครึ่ง ผมแตกปลาย บุคลิกภาพแบ่งแยก split, split, splitAj Muu
 
Mates credit de sintesis
Mates credit de sintesisMates credit de sintesis
Mates credit de sintesisAnabel1999
 
ผมหยักศก - การดูแลผมหยักศกให้มีสุขภาพดี
ผมหยักศก - การดูแลผมหยักศกให้มีสุขภาพดีผมหยักศก - การดูแลผมหยักศกให้มีสุขภาพดี
ผมหยักศก - การดูแลผมหยักศกให้มีสุขภาพดีAkotachi888
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเส้นผม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเส้นผมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเส้นผม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเส้นผมApirada Kaew
 

Viewers also liked (20)

Overview: Hartford Media
Overview: Hartford MediaOverview: Hartford Media
Overview: Hartford Media
 
Lesson 8 brand_platform
Lesson 8 brand_platformLesson 8 brand_platform
Lesson 8 brand_platform
 
ค31201
ค31201ค31201
ค31201
 
Survey of Mobile
Survey of MobileSurvey of Mobile
Survey of Mobile
 
Pengenalan web browser
Pengenalan web browserPengenalan web browser
Pengenalan web browser
 
Rendementvol Verhuur
Rendementvol VerhuurRendementvol Verhuur
Rendementvol Verhuur
 
Mobile Web for Libraries
Mobile Web for LibrariesMobile Web for Libraries
Mobile Web for Libraries
 
Rendementvol Verhuur
Rendementvol VerhuurRendementvol Verhuur
Rendementvol Verhuur
 
Dricon® FRT Wood: In a Class by Itself
Dricon® FRT Wood: In a Class by ItselfDricon® FRT Wood: In a Class by Itself
Dricon® FRT Wood: In a Class by Itself
 
เรื่อง ลิพิด
เรื่อง ลิพิดเรื่อง ลิพิด
เรื่อง ลิพิด
 
Introduction to Flickr
Introduction to FlickrIntroduction to Flickr
Introduction to Flickr
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10 ใบงานที่10
ใบงานที่10
 
ว30103
ว30103ว30103
ว30103
 
ใบงานที่13การแบ่งเซลล์
ใบงานที่13การแบ่งเซลล์ใบงานที่13การแบ่งเซลล์
ใบงานที่13การแบ่งเซลล์
 
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
 
กล้วยหอมผ่าครึ่ง ผมแตกปลาย บุคลิกภาพแบ่งแยก split, split, split
กล้วยหอมผ่าครึ่ง ผมแตกปลาย บุคลิกภาพแบ่งแยก split, split, splitกล้วยหอมผ่าครึ่ง ผมแตกปลาย บุคลิกภาพแบ่งแยก split, split, split
กล้วยหอมผ่าครึ่ง ผมแตกปลาย บุคลิกภาพแบ่งแยก split, split, split
 
Hair dye
Hair dyeHair dye
Hair dye
 
Mates credit de sintesis
Mates credit de sintesisMates credit de sintesis
Mates credit de sintesis
 
ผมหยักศก - การดูแลผมหยักศกให้มีสุขภาพดี
ผมหยักศก - การดูแลผมหยักศกให้มีสุขภาพดีผมหยักศก - การดูแลผมหยักศกให้มีสุขภาพดี
ผมหยักศก - การดูแลผมหยักศกให้มีสุขภาพดี
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเส้นผม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเส้นผมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเส้นผม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเส้นผม
 

Similar to ใบงานที่20 protein

Similar to ใบงานที่20 protein (20)

Protein
ProteinProtein
Protein
 
Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
Protein
Protein Protein
Protein
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจppt
ระบบหายใจpptระบบหายใจppt
ระบบหายใจppt
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
บท3เซลล์
บท3เซลล์บท3เซลล์
บท3เซลล์
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
Chemical acr56
Chemical acr56Chemical acr56
Chemical acr56
 
สมร
สมรสมร
สมร
 
สมร
สมรสมร
สมร
 
amino acid metabolism_mai2021.pdf
amino acid metabolism_mai2021.pdfamino acid metabolism_mai2021.pdf
amino acid metabolism_mai2021.pdf
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 

More from TANIKAN KUNTAWONG

ใบงานที่14วัฏจักรของเซลล์
ใบงานที่14วัฏจักรของเซลล์ใบงานที่14วัฏจักรของเซลล์
ใบงานที่14วัฏจักรของเซลล์TANIKAN KUNTAWONG
 
ใบงานที่4เซลล์
ใบงานที่4เซลล์ใบงานที่4เซลล์
ใบงานที่4เซลล์TANIKAN KUNTAWONG
 
ทางเดินแสงของกล้องจุลทรรศน์
ทางเดินแสงของกล้องจุลทรรศน์ทางเดินแสงของกล้องจุลทรรศน์
ทางเดินแสงของกล้องจุลทรรศน์TANIKAN KUNTAWONG
 
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์TANIKAN KUNTAWONG
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์TANIKAN KUNTAWONG
 

More from TANIKAN KUNTAWONG (6)

ใบงานที่14วัฏจักรของเซลล์
ใบงานที่14วัฏจักรของเซลล์ใบงานที่14วัฏจักรของเซลล์
ใบงานที่14วัฏจักรของเซลล์
 
ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1
 
ใบงานที่4เซลล์
ใบงานที่4เซลล์ใบงานที่4เซลล์
ใบงานที่4เซลล์
 
ทางเดินแสงของกล้องจุลทรรศน์
ทางเดินแสงของกล้องจุลทรรศน์ทางเดินแสงของกล้องจุลทรรศน์
ทางเดินแสงของกล้องจุลทรรศน์
 
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 

ใบงานที่20 protein

  • 1. โปรตีน ( Protein ) Polymer of amino acids
  • 2. 1. ความสำคัญของโปรตีน โปรตีนเป็นอินทรียสารที่มีความสำคัญในเชิงเป็นโครงสร้างเนื้อเยื่อร่างกาย ในคนเรามีโปรตีนอยู่ประมาณ 1 ใน 7 ของน้ำหนักตัว ธาตุที่เป็นองค์ประกอบหลักของโปรตีนคือ C H O N และ อาจจะมีกำมะถัน ( S ) กับฟอสฟอรัส ( P ) เป็นองค์ประกอบ น้ำหนักโมเลกุลของโปรตีนมีตั้งแต่ 5,000 ดาลตัน ขึ้นไปจนถึง 106 ดาลตัน ซึ่งมีน้ำหนักน้อยกว่า กรดนิวคลีอิก ( nucleic acid ) ชนิดดีเอนเอ ( DNA = Deoxyribonucleic acid ) ซึ่งมีน้ำหนักถึง 106 ดาลตันขึ้นไป
  • 3. 2. ส่วนประกอบของโปรตีน โปรตีนแต่ละโมเลกุลประกอบด้วยหน่วยย่อย ( Monomer ) คือ กรดอะมิโน หลายๆหน่วย มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเคมีที่เรียกว่า พันธะเพปไทด์ ( Peptide bond )
  • 5.  
  • 6. ในธรรมชาติมีกรดอะมิโนอิสระ อยู่ทั้งหมด 20 ชนิด แต่มีโปรตีนมากมายหลายชนิด เช่น ในร่างกายคนประกอบด้วย โปรตีนมากกว่า 100,000 ชนิดเนื่องจาก 1. ชนิดของกรดอะมิโนในโปรตีน แต่ละชนิดต่างกัน 2. จำนวนโมเลกุลของกรดอะมิโนในโปรตีนแต่ละชนิดไม่เท่ากัน 3. ลำดับการจัดเรียงตัวของกรดอะมิโนที่มาเรียงต่อกัน เรียกว่า พอลิเพปไทด์ ( polypeptide ) ของโมเลกุลโปรตีนมีจำนวนสาย ไม่เท่ากัน
  • 7. 3. ประเภทของอะมิโน 3.1 กรดอะมิโนที่จำเป็น ( essential amino acid ) เป็นกรดอะมิโนที่ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ขึ้นได้ ได้แก่ ลิวซีน ไอโซลิวซีน ไลซีน เมไธโอนีน ฟินิลอะลานีน ทรีโอนีน ทริฟโตเฟน และวาลีน ( นอกจากนี้ในทารกอาจนับฮีสทีนรวมด้วย )
  • 8. 3.2 กรดอะมิโนไม่จำเป็น ( non essential amino acid ) เป็นกรดอะมิโนที่ร่างกายสังเคราะห์เอง ได้จากกรดอะมิโน หรือสารอินทรีย์อื่นๆได้แก่ อะลานีน อาร์จินีน แอสพาราจีน ซีสเทอีน กรดแอสพาติก กรดกลูตามิก กลูตามีน ไกลซีน โปรลีน เซรีน ไทโรซีน
  • 9. ประเภทของโปรตีน การจำแนกประเภทของโปรตีนมีหลายเกณฑ์ แต่ถ้าจัดประเภทของโปรตีนตามหน้าที่ องค์ประกอบ รูปร่าง และ ความสามารถในการละลาย จะแบ่งเป็น 3 ประเภทดังนี้ 1. จำแนกตามหน้าที่ทางชีวภาพ ( biological function ) 2. จำแนกตามความสามารถในการละลาย ( solubility ) 3. จำแนกตามองค์ประกอบ
  • 10. 1. จำแนกตามหน้าที่ทางชีวภาพ ( biological function ) ได้แก่ 1.1 เอนไซม์ ( enzyme ) 1.2 โปรตีนโครงสร้าง ( structural protien ) เช่น คอลลาเจน ( collagen ) และ อีลาสติน ( elastin ) ในเนื่อเยื่อเกี่ยวพัน ( connective tissue ) เคอราติน ( keratin ) ในผิวหนัง เส้นผม และเล็บ 1.3 โปรตีนเกี่ยวกับการหดตัว ( contratile protein ) เช่น แอกติน ( actin ) และ ไมโอซิน ( myosin ) ในกล้ามเนื้อ
  • 11. Actin / Myosin Interaction - Myosin heads as they bind to actin filaments at Troponin I sites along the Tropomyosin strands.   (Chien, K.R., 1999)
  • 12. 1.4 โปรตีนทำหน้าที่ลำเลียง ( transport protien ) เช่น ฮีโมโกลบิน และ ไมโอโกลบิน ทำหน้าที่ลำเลียง o 2 แอลบูบิน ( albubin ) ลำเลียงกรดไขมันในเลือด 1.5 โปรตีนทำหน้าที่ป้องกัน ( defense protein ) เช่น อิมมูโนโกลบิน ( immunoglobulin antibody ) ต่อสู้สิ่งแปลกปลอม ไฟบริโนเจน ( fibrinogen ) ในเลือดเป็นปัจจัยในการแข็งตัวของเลือด
  • 13. 2. จำแนกตามความสามารถในการละลาย ( solubility ) 2.1 โปรตีนที่มีลักษณะเป็นก้อน ( globular protein ) ละลายน้ำได้ เนื่องจากประกอบด้วยกรดอะมิโนที่มีขั้ว ( polar surface ) เป็นโปรตีนกลุ่มใหญ่ ได้แก่ เอนไซม์ พลาสมาโปรตีน และ โปรตีนที่พบในเยื่อหุ้มเซลล์ 2.2 โปรตีนที่มีลักษณะเป็นเส้นใย ( fibrous protein ) ไม่ละลายน้ำ มีลักษณะเป็นใยยาวแข็งแรง ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างและค้ำจุน ได้แก่ คอลลาเจน อีลาสติน เคอราติน ไมโอซิน และ ไฟบริน
  • 14. 3. จำแนกตามองค์ประกอบ โมเลกุลโปรตีนนอกจากประกอบด้วยส่วนที่เป็นโปรตีนที่เกิดจากการเรียงตัวของกรดอะมิโนโดยตรงแล้ว ในโมเลกุลยังประกอบด้วยส่วนอื่นที่ไม่ใช่โปรตีน ( nonprotein component ) เรียกโปรตีนเหล่านี้ว่า conjugated protein ได้แก่ 3.1 ลิโพโปรตีน ( lipoprotein ) ประกอบด้วยโปรตีนและไขมัน โปรตีนที่พบในเลือด
  • 15. 3.2 ไกลโคโปรตีน ( glycoprotein ) ประกอบด้วยโปรตีน และ คาร์โบไฮเดรต เช่น อิมมูโนโกลบูลิน โปรตีน ที่เยื่อหุ้มเซลล์ คอลลาเจน และ โปรตีนชนิดอื่นๆ ที่พบในเนื่อเยื่อเกี่ยวพัน 3.3 นิวคลีโอโปรตีน ( nucleoprotein ) ประกอบด้วยโปรตีน และ กรดนิวคลีอิก พบในโครโมโซม และ ไวรัส
  • 16. 3.4 ฮีมโปรตีน หรือ โครโมโปรตีน ( hemeprotein or chromoprotein ) ประกอบด้วยโปรตีนกับหมู่ฮีม ( heme group ) เช่น ฮีโมโกลบิน ไมโอโกลบิน ไซโทโครม ( cytochrome ) 3.5 เมทัลดลโปรตีน ( metalloprotein ) ประกอบด้วยโปรตีนและไอออนของโลหะจำนวน 1 หรือมากกว่า 1 อนุภาค เช่น เอนไซม์บางชนิด
  • 17. 4. โครงสร้างของโปรตีน กรดอะมิโนแต่ละโมเลกุลจะมาเชื่อมต่อกันเป็นหมู่ – COOH ของกรดอะมิโนตัวหนึ่งเข้าทำปฏิกิริยากับหมู่ – NH 2 ของกรดอะมิโนตัวถัดมา แล้วทำปฏิกิริยากับน้ำเกิดพันธะเปปไทด์ เพปไทด์ ประกอบด้วย กรดอะมิโนต่อกันเป็นสาย ผลที่ได้จาก การรวมตัวของกรดอะมิโน 2 โมเลกุล เรียกว่า ไดเปปไทด์ ( dipeptide ) และถ้ากรดอะมิโนหลายๆโมเลกุล ( ตั้งแต่ 100-800 โมเลกุลโดยประมาณ ) หลายๆชนิดมาต่อกัน ด้วยพันธะเปปไทด์ จะเกิดพอลีเมอร์ ซึ่งมีขนาดใหญ่มากเรียกว่า พอลีเปปไทด์ ( Polypeptide )
  • 18.  
  • 19. สารที่ประกอบด้วยกรดอะมิโน 2 โมเลกุล เรียกว่า ไดเพปไทด์ สารที่ประกอบด้วยกรดอะมิโน 3 โมเลกุล เรียกว่า ไตรเพปไทด์ สารที่ประกอบด้วยกรดอะมิโนตั้งแต่ 100 โมเลกุลขึ้นไป เรียกว่า พอลิเพปไทด์นี้ว่า โปรตีน อนึ่งสารสังเคราะห์บางชนิดก็เกิดพันธะเพปไทด์เหมือนกัน เช่น ไนลอน ดังนี้
  • 20.  
  • 21. 5. ลักษณะของโปรตีนที่ดี อาหารโปรตีนที่ดีควรมีกรดอะมิโนที่จำเป็นครบถ้วน ถ้าร่างกายมีกรดอะมิโนครบถ้วน การสังเคราะห์โปรตีนในร่างกายก็จะเป็นไปอย่างสมบูรณ์ ถ้าขาดตัวใดตัวหนึ่ง หรือ มีปริมาณต่ำ การสังเคราะห์โปรตีนก็จะหยุด ( หรือเกิดช้า )
  • 22. 6. ประเภทของโปรตีน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 6.1 โปรตีนชนิดสมบูรณ์ เป็นโปรตีนที่ประกอบขึ้นด้วยกรดอะมิโนชนิดจำเป็นครบถ้วน และมีปริมาณมาก พบในเนื้อสัตว์ ถ้าเด็กขาดโปรตีนประเภทนี้ จะทำให้ร่างกายไม่สมบูรณ์ อ่อนแอ เป็นโรคขาดโปรตีน การเจริญเติบโตช้า เป็นโรคตานขโมยง่าย
  • 23. 6.2 โปรตีนชนิดไม่สมบูรณ์ เป็นโปรตีนที่มีกรดอะมิโนที่จำเป็นไม่ครบถ้วน ได้แก่ โปรตีนที่มีอยู่ในธัญพืช ถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ ถ้าบริโภคอาการประเภทนี้ โดยไม่กินอาหารประเภท เนื้อสัตว์เพิ่มเติมเลย จะทำให้ร่างกาย ไม่เจริญสมบูรณ์เต็มที่ เพราะโปรตีนประเภทนี้ไม่สามารถสร้างเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อได้อย่างสมบูรณ์
  • 24. 7. หน้าที่และความสำคัญของโปรตีนต่อสิ่งมีชีวิต 1. ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างของร่างกาย และ ซ่อมแซมเนื้อเยื่อต่าง ๆ ทีสึกหรอ ในร่างกายคนเราจะมีโปรตีนเป็นองค์ประกอบประมาณ 1 ใน 7 ของน้ำหนักตัว และ ต้องการอย่างน้อย 1 กรัม ต่อ น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม 2. ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว เช่น โปรตีนแอกติน ( Actin ) และไมโอซีน ( Myosin ) เป็นองค์ประกอบของเซลล์กล้ามเนื้อ
  • 25. 3. เป็นอาหารที่ให้พลังงานต่อร่างกาย รองจากคาร์โบไฮเดรต และ ไขมัน 4. โปรตีนบางชนิดทำหน้าที่เป็น เอนไซม์ ( Enzyme ) และ เอนไซม์ทุกชนิดมีโครงสร้างเป็นโปรตีน ปฏิกิริยาในร่างกายสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นได้ เพราะ มีเอนไซม์เป็นตัวเร่ง ( Biocatalyst )
  • 26. 5. ทำหน้าที่เกี่ยวกับการขนส่ง 5.1 ฮีโมโกบินในเซลล์เม็ดเลือดแดงลำเลียง O 2 ไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย ไมโอเกลบินลำเลียง O 2 ในเซลล์กล้ามเนื้อ 5.2 อัลบูมิน ( Albumin ) ทำหน้าที่ขนส่งกรดไขมัน 5.3 ทรานซิเฟอริน ( Transferin ) ในซีรัมทำหน้าที่ขนส่งธาตุเหล็ก
  • 27. 6. โปรตีนบางชนิดเป็นสารพิษ เช่น พิษอหิวาตกโรค ( cholera toxin ) ซึ่งจะเปลี่ยนคุณสมบัติของเยื่อหุ้มในลำไส้ พิษงูซึ่งประกอบด้วยเอนไซม์ที่ย่อยพวกไขมัน 7. โปรตีนบางชนิด เช่น อิมมูโนโกลยูลิน ทำหน้าที่เป็นภูมิคุ้มกันโรค ( Immunity ) ของร่างกาย
  • 28.