SlideShare a Scribd company logo
1 of 165
บทที่ 3
เคมีที่เป็นพื้นฐาน
ของสิ่งมีชีวิต
Biology (ว 40241)
บทที่ 3 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมี
ชีวิต
3.1 สารอนินทรีย์
3.1.1 นำ้า
3.1.2 แร่ธาตุ
3.2 สารอินทรีย์
3.2.1 คาร์โบไฮเดรต
3.2.2 โปรตีน
3.2.3 ลิพิด
3.2.4 กรดนิวคลีอิก
3.2.5 วิตามิน
3.3 ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมี
จุดประสงค์การเรียนรู้
• 1. สืบค้น วิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับ
โครงสร้าง และหน้าที่ของสาร อนินทรีย์ที่เป็น
องค์ประกอบของเซลล์สิ่งมีชีวิต
• 2. อธิบายสูตรโครงสร้างของสารอินทรีย์ชนิด
ต่าง ๆ และบอกหน้าที่ของสารอินทรีย์แต่ละ
ชนิด
โมเลกุล (Molecule)
¯
ออแกเนลล์ (Organelle)
¯
เซลล์ (cell)
¯
เนื้อเยื่อ (Tissue)
¯
อวัยวะ (Organ)
¯
ระบบอวัยวะ (Organ System)
¯
ออแกนิซึม (Organism)
¯
ประชากร (Population)
¯
สังคมสิ่งมีชีวิต (Community)
¯
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/introscience.htm#The%20Organization%20of%20Life
Chemical Bonds; The "Glue"
That Holds Molecules Together.
• แต่ละอะตอมสามารถรวม
กันกลายเป็นโมเลกุลด้วย
พันธะทางเคมี ในสิ่งมีชีวิต
มีพันธะที่สำาคัญได้แก่
1. covalent bond เป็นพันธะ
ที่เกิดจากการใช้ electron
ร่วมกันของ 2  อะตอม เช่น
ก๊าซไฮโดรเจน (H2)
ออกซิเจน (O2) นำ้า (H2O)
และมีเทน (CH4) เป็นต้น
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/introchemistry.htm
1.1 nonpolar covalent เป็นการใช้อิเล็กตรอน
ร่วมกัน โดยอิเล็กตรอนวิ่งรอบอะตอมทั้งสองเท่า
กัน เช่น H2 , O2 และ CH4
1.2 polar covalent เป็นการใช้อิเล็กตรอนร่วม
กันโดยอะตอมที่มี electronegativity สูง จะดึง
อิเล็กตรอนมาใกล้ตัวมากกว่า จึงทำาให้มีประจุ
เช่น H2O
O มี electronegativity สูงสามารถดึงอิเล็กตรอน
เข้ามาวน รอบตัวเองได้มากกว่า H จึงทำาให้ O
เป็นลบ H เป็นบวก
Polar Covalent Bonds
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/introchemistry.htm
2. ionic bond เป็นพันธะที่เกิดขึ้น
ระหว่างอะตอมที่มีประจุต่างกัน เช่น
NaCl เกิดจากอะตอมของ Na
 ให้ electron แก่ Cl กลายเป็น Na+
ขณะที่ Cl กลายเป็น Cl- ผลทำาให้
electron วงนอกของอะตอม Na และ
Cl ครบ 8 กลายเป็นสารประกอบ NaCl
Ionic Bonds
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/introchemistry.htm
3. hydrogen bond เป็นพันธะที่ไม่แข็ง
แรงนัก เกิดกับ H ที่ต่อด้วย covalent bond
 กับอะตอมของธาตุที่ดึงดูด electron ได้ดี
เช่น N หรือ O โดย electron ในพันธะ
นั้น จะดึงดูดไปใกล้ N หรือ O มากจนทำาให้
H เกิดเป็นประจุ + ทำาให้สามารถดึงดูดกับ
อะตอม
อื่นที่มี electron มาก เช่น O หรือ N
เป็นแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลหรือ
ภายในโมเลกุลเดียวกัน มีผลทำาให้
เกิดรูปร่างของโมเลกุล
5. hydrophobic interaction
แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลที่ไม่ชอบ
นำ้า (hydrophobic) เช่น หยดนำ้ามัน
 เล็กๆ ลงในนำ้า หยดนำ้ามันเหล่านี้ จะ
รวมกันเป็นหยดใหญ่เพื่อสัมผัสกับ
นำ้าน้อยที่สุด แรงดึงดูดระหว่างหยด
 นี้ คือ hydrophobic interaction
Human chemistry only a few elements are
important. Here, the most abundant element
s in biological systems are shown in red,
lesser elements in blue, and 'trace' elements
in green
http://www.chem.ufl.edu/~itl/2045/lectures/lec_2.html
สารอนิ
นทรีย์
นำ้า (H2O)
• เซลล์มีนำ้าเป็นส่วน
ประกอบอยู่ภายใน 70 –
90%
ความสำาคัญของนำ้า
• 1. เป็น polar molecule
จึงเป็นตัวทำาละลายที่ดี
เช่น เกลือ NaCl ละลายใน
นำ้าได้ เนื่องจากโมเลกุลของ
นำ้ามี O ประจุลบ และ H
ประจุบวก
• ดังนั้น O- จึงจับกับ Na+
โมเลกุลนำ้าที่ล้อมรอบ Na+ หรือ Cl-
เรียก hydration shell
สารที่ชอบนำ้า เรียกว่า hydrophilic
ส่วนสารที่ไม่ชอบนำ้า เรียกว่า
hydrophobic
2. เกิด hydrogen bond
ระหว่างโมเลกุลของนำ้า
แรงดึงดูดระหว่าง
โมเลกุลของนำ้า เรียกว่า
cohesion ซึ่งจะทำาให้
นำ้าเคลื่อนที่จากรากไป
ยังส่วนต่างๆ ของพืชได้
ขณะที่มีการคายนำ้า
(Transpiration) ถ้านำ้า
เกิด hydrogen bond
กับสารอื่น เช่น ผนัง
เซลล์พืช เรียกว่า
adhesion
3. มีความร้อนจำาเพาะสูง
จึงทำาให้อุณหภูมิภายในเซลล์
สิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก
มีผลทำาให้ metabolism ภายใน
เซลล์ยังคงปกติ
          4. ความร้อนแฝง
กลายเป็นไอสูง เมื่อร่างกายสูญ
เสียเหงื่อ หรือการที่พืชคายนำ้า
จึงช่วยลดความร้อนภายในสิ่งมี
ชีวิตได้
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/water.htm
แร่ธาตุ (mineral)
– แร่ธาตุเป็นกลุ่มของสารอนินทรีย์ที่ร่างกายขาดไม่
ได้ มีการแบ่งแร่ธาตุที่คนต้องการออกเป็น 2
ประเภท คือ
– 1. แร่ธาตุที่คนต้องการในขนาดมากกว่าวันละ 100
มิลลิกรัม ได้แก่ แคลเซียม ฟอสฟอรัส โซเดียม
โพแทสเซียม คลอรีน แมกนีเซียม และกำามะถัน
– 2. แร่ธาตุที่คนต้องการในขนาดวันละ 2-3 มิลลิกรัม
ได้แก่ เหล็ก ทองแดง โคบอลต์ สังกะสี แมงกานีส
ไอโอดีน โมลิบดีนัม เซลีเนียม ฟลูออรีนและ
โครเมียม
หน้าที่ของแร่ธาตุ
– เป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อ เช่น แคลเซียม
ฟอสฟอรัส และแมกนีเซียม เป็นส่วนประกอบที่
สำาคัญของกระดูกและฟัน ทำาให้กระดูกและฟันมี
ลักษณะแข็ง
– เป็นส่วนประกอบของโปรตีน ฮอร์โมนและ
เอนไซม์ เช่น เหล็กเป็นส่วนประกอบของโปรตีน
ชนิดหนึ่ง เรียกว่า เฮโมโกลบิน (hemoglobin) ซึ่ง
จำาเป็นต่อการขนถ่ายออกซิเจนแก่เนื้อเยื่อต่าง ๆ
ทองแดงเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ ซึ่งจำาเป็นต่อ
การหายใจของเซลล์ไอโอดีนเป็นส่วนประกอบของ
ฮอร์โมนไธรอกซีน ซึ่งจำาเป็นต่อการทำางานของ
ร่างกาย ถ้าหากร่างกายขาดเกลือแร่เหล่านี้ จะมี
หน้าที่ของแร่ธาตุ
– ควบคุมความเป็นกรด - ด่างของร่างกาย
โซเดียม โพแทสเซียม คลอรีน และฟอสฟอรัส ทำา
หน้าที่สำาคัญในการควบคุมความเป็นกรด-ด่างของ
ร่างกาย เพื่อให้มีชีวิตอยู่ได้
– ควบคุมดุลนำ้า โซเดียม และโพแทสเซียมมีส่วน
ช่วยในการควบคุมความสมดุลของนำ้าภายในและ
ภายนอกเซลล์
– เร่งปฏิกิริยา ปฏิกิริยาหลายชนิดในร่างกายจะ
ดำาเนินไปได้ ต้องมีเกลือแร่เป็นตัวเร่ง เช่น
แมกนีเซียม เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่เกี่ยวกับการเผา
ผลาญกลูโคสให้เกิดกำาลังงาน
สาร
อินทรีย์
สารอินทรีย์
• สารอินทรีย์เป็นสารที่มีธาตุ C , H , O , N , P ,
S เป็นองค์ประกอบ
• สารอินทรีย์ที่พบในสิ่งมีชีวิต เรียกว่า สารชีว
โมเลกุล (biological molecule)
• C + H = hydrocarbon
• หมู่ฟังก์ชัน (functional group) คือ หมู่อะตอม
หรือกลุ่มอะตอมของธาตุที่แสดงสมบัติเฉพาะ
ของสารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เช่น CH3OH (เมทา
นอล) CH3CH2OH(เอทานอล) ซึ่งต้องเป็นสาร
อินทรีย์พวกแอลกอฮอล์ เพราะสารแต่ละชนิด
ต่างก็มีหมู่ -OH เป็นองค์ประกอบ แสดงหมู่ -OH
ตารางหมู่ฟังก์ชันบางชนิดและ
สารประกอบที่มีหมู่ฟังก์ชันเป็นองค์
ประกอบ
คาร์โบไฮเดรต
(Carbohydrate)
คาร์โบไฮเดรต
(Carbohydrate)
• คาร์โบไฮเดรต หมายถึง "คาร์บอนที่อิ่ม
ตัวด้วยนำ้า"
• เป็นสารอินทรีย์ที่ประกอบด้วย C , H , O
• โดยอัตราส่วนของ H : O = 2 : 1 (โดย
ปริมาตร)
• เป็นสารอินทรีย์ที่หมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์ (-
CHO) และหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) หรือ
หมู่คาร์บอนิล (-CO) และหมู่ไฮดรอกซิล (
-OH) เป็นหมู่ฟังก์ชัน
ประเภทของคาร์โบไฮเดรต
• คาร์โบไฮเดรตจำาแนกตามสมบัติทางกายภาพ
และทางเคมี ได้ 2 พวก คือ
1. พวกที่เป็นนำ้าตาล
2.พวกที่ไม่ใช่นำ้าตาล
• คาร์โบไฮเดรตจำาแนกตามขนาดของโมเลกุล
สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ
1. มอนอแซ็กคาไรด์ (Monosaccharide)
2. โอลิโกแซ็กคาไรด์ (Oligosaccharide)
3. พอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide)
ตาราง ชนิดของนำ้าตาลตาม
จำานวนคาร์บอนของ
monosaccharide
จำานวนคาร์บอน
(C)
ชนิด ตัวอย่าง
3 Triose Glyceraldehyde
4 Tetrose Erythrose
5 * Pentose Ribose ,
deoxyribose
6 * Hexose Glucose ,
fructose ,
galactose
7 Heptose Sedoheptulose
monosaccharide
• นำ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว ได้แก่ กลูโคส ฟรุคโตส และกาแลค
โตส
• มีสูตรโครงสร้างอย่างง่าย คือ (CH2O) n เมื่อ n คือ จำานวน
อะตอมของ C ซึ่งอาจ เป็น 3 - 7 (สูตรโครงสร้างเหมือนกัน
แต่สูตรโมเลกุลต่างกัน)
• ตัวอย่างเช่น กลูโคส มีโครงสร้างเป็นทั้งสายยาว หรือวงแหวน
และมี 2 configuration คือ แบบ หรือ configuration
• พันธะที่เชื่อมระหว่างนำ้าตาล  2 โมเลกุลเรียก glycosidic เช่น
ถ้าเชื่อมระหว่าง - glucose 2 โมเลกุล จะเรียกว่า  1 - 4
linkage และ
• เชื่อมระหว่าง - glucose จะเรียกว่า   - linkage
• นอกจากนี้นำ้าตาลโมเลกุลเดี่ยวที่มีหมู่ อยู่ปลายสาย จะ
เรียกว่า Aldose และไม่อยู่ปลายสายเรียกว่า ketose และการ
เป็น isomer กันก็ทำาให้เกิดนำ้าตาลคนละชนิด เช่น กลูโคส กับ
รูปแสดงโครงสร้างกลูโคสแบบ
หรือ
1) Monosaccharides (simple sugars)
These molecules consist of open-chain or ring forms of 3 to
8 carbon atoms. The most common type of
monosaccharide is the simple sugar "glucose".
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/carbohydrates.htm
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/carbohydrates.htm
- Glucose is an important energy source in
metabolically active cells.
- Fructose is a common sugar in fruit), and
- Galactose is the sugar found in milk
- Sugars with 6 carbons are called
"hexoses". 5 carbon sugars are "pentoses"
. Whereas 7 carbon sugars are called "hept
oses".
- Two very important "pentoses" (5 carbons)
are, Ribose found in Ribonucleic Acid, RNA,
and Deoxyribose found in Deoxyribonucleic
Acid, DNA.
Glyceraldehyde
C3
H6
O
3
Ribose
C5
H10
O5
Fructose
C6
H12
O6
Glucose
C6
H12
O6
Galactose
C6
H12
O6
disaccharide
• ประกอบด้วย 2 monosaccharide เชื่อมด้วย
glycosidic bond แล้วเสียนำ้า (dehydration)
ไป 1 โมเลกุล
• จึงมีสูตรโครงสร้าง คือ C12
H22
O11
• เช่น ซูโครส (กลูโคส + ฟรุกโทส) , มอลโทส
(กลูโคส + กลูโคส) , แลคโทส (กลูโคส + แก
แลคโทส)
• ถ้ามีนำ้าตาล monomer ตั้งแต่ 3 - 15 โมเลกุล
เรียกว่า oligosaccharide
รูปแสดง disaccharides
Disaccharides
When two monosaccharides are joined
together they form a "disaccharide".
This linking of two sugars involves the
removal of a molecule of H2O (water) and is
therefore called a "dehydration linkage". T
he reaction is called "dehydration
synthesis".
e.g. Glucose + Glucose = Maltose
Glucose + Fructose = Sucrose
Glucose + Galactose = Lactose
This forms a bond between the #1 carbon of
one glucose and the #4 carbon of the other,
therefore it is called an 1-4 linkage, (or
Glycosidic Linkage).
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/carbohydrates.htm
Lactose
C12
H22
O1
1
Maltose
C12
H22
O1
1
Sucrose
C12
H22
O1
1
polysaccharide
• ประกอบด้วย monosaccharide จำำนวนมำกเป็นหลำยพัน
โมเลกุล ได้แก่ พวกแป้ง (อำหำรสะสมในพืช) glycogen (ใน
สัตว์) และ cellulose (ส่วนประกอบของผนังเซลล์)
• แป้ง : ประกอบด้วย glucose ต่อกันเป็นจำำนวนมำกด้วย
พันธะ 1 4 ถ้ำต่อกันแบบเป็นสำยยำวไม่มีกิ่งก้ำนเรียก
amylose มีประมำณ 20% และถ้ำต่อกันเป็นกิ่งก้ำนเรียก
amylopectin มีประมำณ 80%
• เซลลูโลส : ประกอบด้วย glucose ที่ต่อกันเป็นสำยยำวด้วย
พันธะ 1 4 หลังจำกนั้นแต่ละเส้นใยเซลลูโลสมำเรียง
ขนำนกันจับกันด้วย H - bond อยู่รวมกันเป็น microfibril ซึ่ง
หลำย microfibril จะรวมกันเป็น fibril ร่ำงกำยมนุษย์ไม่
สำมำรถย่อยเซลลูโลสได้ เพรำไม่มี enzyme ที่ทำำลำยพันธะ
ที่เชื่อมระหว่ำงโมเลกุลนำ้ำตำลทั้งสอง ( - linkage) ในวัว
สำมำรถย่อยเซลลูโลสได้เนื่องจำกมีแบคทีเรียบำงชนิดย่อย
สลำยเซลลูโลสได้
Polysaccharides
These are long chains of monosaccharides
linked together by dehydration linkages.
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/carbohydrates.htm
รูปแสดง polysaccharides
The simplest polysaccharide is a long
chain (polymer) of glucose, called "starch".
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/carbohydrates.htm
There are 3 types of starch :
(1) Amylose : a non-branching straight chain of
glucose - used to store glucose in plants.
(2) Amylopectin : a branched chain, also used to
store glucose in plants.
(3) Glycogen : another branched chain molecule u
sed to store glucose in animals.
Polysaccharides can also form very important stru
ctural components in plants and animals.
Cellulose: is the principal constituent in plant c
ell walls.
This macromolecule is a long chain of
glucose subunits held together by (1-4) lin
kages. (Not (1-4) as in starch!)
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/carbohydrates.htm
Chitin : is an important structural material
in the outer coverings of insects, crabs, and
lobsters. In chitin the basic subunit is not
glucose (but N-acetyl-D-glucoseamine) in 1-4 li
nkages. These polymers are made very hard w
hen impregnated with calcium carbonate.
กำรทดสอบคำร์โบไฮเดรต
• 1. คำร์โบไฮเดรตที่มีรสหวำน
สำรอินทรีย์ที่มีหมู่ -CO และ -OH ใน
โมเลกุลเดียวกันในด่ำง เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น จะ
เปลี่ยนโครงสร้ำงเป็นหมู่ -CHO
สำรละลำยเบเนดิกต์ (Benedict solution)
เป็นสำรละลำยผสมระหว่ำง CuSO4, Na2CO3
และโซเดียมซิเตรด เป็น Cu2+/OH- มีสีนำ้ำเงิน
สำรอินทรีย์ที่มีหมู่
คำร์บอกซำลดีไฮด์ (-CHO) ต้มกับสำรละลำย
เบเนดิกต์ (Cu2+/OH-)
• 2. คำร์โบไฮเดรตที่ไม่มีรสหวำน
แป้ง + I2 -------------------->สำรเชิงซ้อน
กำรทดสอบแป้งกำรทดสอบแป้ง
• กำรทดสอบแป้ง
ทดสอบโดยใช้สำรละลำยไอโอดีน มีสีเหลือง
นำ้ำตำล ถ้ำเป็นแป้ง และเปลี่ยนเป็นสีนำ้ำเงินเข้ม
หรือ ม่วงดำำ
หน้ำที่ของคำร์โบไฮเดรต
• หน้ำที่ของคำร์โบไฮเดรต
1. ให้พลังงำนควำมร้อน คำร์โบไฮเดรต 1 กรัม
ให้พลังงำน 4 กิโลแคลอรี
2. ช่วยให้ไขมันเผำไหม้สมบูรณ์
3. ช่วยสงวนหรือประหยัดกำรใช้โปรตีนใน
ร่ำงกำย
4. สำมำรถเก็บสะสมไว้และเปลี่ยนเป็นสำร
อำหำรชนิดอื่น เช่น ไขมันและกรดอะมิโนได้
• โทษของคำร์โบไฮเดรต
ทำำให้เกิดโรคเกี่ยวกับไต ทำำให้โลหิตเป็นพิษ
โปรตีน
(Protein)
โปรตีน (Protein)
• โปรตีน มีหน้ำที่หลำยอย่ำง ดังนี้
1. เป็น enzyme เร่งปฏิกิริยำเคมี
2. เป็นโปรตีนโครงสร้ำง เช่น พวก collagen ,
elastin , keratin
3. เป็นตัวขนส่ง ทำำหน้ำที่ขนส่งสำร เช่น
hemoglobin หรือ เป็นตัวขนส่ง (transporter)
ที่ cell membrane
4. เป็นฮอร์โมน เช่น insulin
5. เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน เช่น เป็น antibody
และหมู่ R แบ่งกรดอะมิโนเป็น 5 กลุ่มตำม
โครงสร้ำงทำงเคมีของหมู่ R
- แต่ละกรดอะมิโนจะมำเชื่อมต่อกันเป็นสำยยำวด้วย
peptide bond ซึ่งเรียกว่ำ polypeptide โดยสำย
polypeptide จะมีปลำยด้ำนหนึ่งเป็นหมู่ NH2 และ
ปลำยอีกด้ำนหนึ่งเป็นหมู่ COOH
- กรดอะมิโนมีประมำณ 20 ชนิด ดังนั้นกำรจัดเรียง
ตัวของกรดอะมิโนที่แตกต่ำงกันมำก จึงก่อให้เกิด
ควำมหลำกหลำยของชนิดโปรตีน และทำำหน้ำที่ที่
แตกต่ำงกัน
- กรดอะมิโนที่ร่ำงกำยไม่สำมำรถสังเครำะห์ได้เอง
จะได้จำกอำหำรเท่ำนั้น เรียกว่ำ กรดอะมิโนที่
จำำเป็น (essential amino acid) และ
- กรดอะมิโนที่ร่ำงกำยสังเครำะห์เองได้ เรียกว่ำ
Amino acid there is
a -COOH, which is a carboxyl group (acidic).
a -NH2, which is an amino group (basic).
an -H hydrogen.
a residue R which varies depending on the
amino acid.
Proteins are polymers of amino
acids
peptide bond
Two amino acids can, under some
circumstances, react together. The result is the creat
ion of a dipeptide. A molecule of water is released in
the process. This is the basic reaction involved in the
synthesis of proteins.
Hydrolysis of adjacent amino &
carboxy termini forms peptide bon
d
peptide bond
Structure of some amino acids
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/proteins.htm
The 20 Amino Acids
- Each amino acid contains an "amine" group
(NH3) and a "carboxy" group (COOH) (shown in
black in the diagram).
- The amino acids vary in their side chains
(indicated in blue in the diagram).
- The eight amino acids in the orange area are non
polar and hydrophobic.
- The other amino acids are polar and hydrophilic (
"water loving").
- The two amino acids in the magenta box are acid
ic ("carboxy" group in the side chain).
- The three amino acids in the light blue box are ba
sic ("amine" group in the side chain).
These are very large 3 dimensional
macromolecules.
They are very important as structural
molecules in the cell, as energy sources,
and most importantly as "enzymes",
(protein catalysts which speed up chemical r
eactions in the cell without the need for high
temperature or drastic pH changes).
Proteins are often called "polypeptides" be
cause they are made of long chains of buildi
ng blocks called "amino acids".
โครงสร้ำงของโปรตีน มี 4 ระดับ
คือ• 1. primary structure กำรเรียงลำำดับของกรดอะมิโน
ในสำย polypeptide
• 2. secondary structure มีกำรสร้ำง H-bond ระหว่ำ
งกรดอะมิโนทำำให้มีกำรขดเป็น helix หรือพับทบไปทบ
มำเป็น sheet
• 3. tertiary structure หมำยถึงโครงรูปของสำย
polypeptide ทั้งสำยซึ่งประกอบด้วย secondary
structure หลำยสำยรวมกัน โดยเกิดพันธะต่ำง ๆ
ภำยในสำย secondary structure ได้แก่ พันธะ ionic
, hydrogen และ hydrophobic เป็นต้น
• 4. quaternary structure แต่ละ polypeptide มำอยู่
รวมกันเพื่อทำำหน้ำที่ เช่น hemoglobin ประกอบด้วย
สำย polypeptide  ชนิด a และ b อย่ำงละ 2 สำยมำ
Structure of Proteins
"The sequence of amino acids in the polypeptide
chain."
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/proteins.htm
The "peptide" bond. To form a "dipeptide"
molecule.
Therefore the primary structure is the sequence of
amino acids.
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/proteins.htm
Secondary Level of Organization of
Polypeptides
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/proteins.htm
The Tertiary Structure of
Proteins
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/proteins.htm
Quaternary Structure of Proteins
Hemoglobin: an oxygen carrying protein in red
blood cells which is made of 4 parts.
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/proteins.htm
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/proteins.htm
Proteins when heated can unfold or "Denature".
This loss of three dimensional shape will usually be accom
panied by a loss of the proteins function. If the denatured p
rotein is allowed to cool it will usually refold back into it’s or
iginal conformation.
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/proteins.htm
กำรทดสอบโปรตีน
• 1. ปฏิกิริยำกับนินไฮดริน     โปรตีนที่มีกรดอะมิ
โนชนิดแอลฟำจำำทำำปฏิกิริยำกับนินไฮดรินให้
สีนำ้ำเงิน
• 2.ปฏิกิริยำไบยูเรต    โดยโปรตีนทุกตัวจะให้สี
กับปฏิกิริยำกำรทดลองนี้เป็นสีนำ้ำเงินปนม่วง
 โปรตีนทำำปฏิกิริยำกับคอปเปอร์ซัลเฟตใน
สำรละลำยโซเดียมไฮดรอกไซด์
ลิพิด
(Lipid)
ลิพิด (Lipid)
• เป็นสารชีวโมเลกุลกลุ่มเดียวที่ไม่เป็น polymer
• มีคุณลักษณะเฉพาะตัวคือไม่ชอบนำ้า
(hydrophobic) เนื่องจากมีคุณสมบัติที่ไม่เป็น
ขั้ว (นำ้าเป็นโมเลกุลที่มีขั้ว) ดังนั้น lipids จึงไม่
สามารถละลายในนำ้าได้
• แม้ว่า lipids จะไม่เป็น polymer แต่ไขมันเองก็
เป็นสารที่มีขนาดใหญ่
• Lipids ได้แก่ ไขมัน (fat, oil, wax),
phospholipids และ steroids
การแบ่งประเภทลิพิด (lipid)
ทางเคมี
• ลิพิดเชิงเดี่ยว (simple lipid)
• ลิพิดเชิงซ้อน (compound lipid)
• อนุพันธ์ลิพิด (derived lipid)
ลิพิดเชิงเดี่ยว (simple lipid)
• ลิพิดธรรมดา (simple lipid) เป็นเอสเทอร์ของกรดไข
มันกับแอลกอฮอล์ชนิดต่างๆ
• ถ้าแอลกอฮอล์นั้นคือ กลีเซอรีน จะได้สารประกอบพวก
ไขมันหรือนำ้ามัน (fat หรือ oil) บางทีก็เรียก นิวทรัลลิ
พิด (neutral lipid) หรือไตรกลีเซอไรด์
• ถ้าเป็นแอลกอฮอล์ชนิดอื่นที่ไม่ใช่กลีเซอรีน จะเป็น
สารประกอบพวกขี้ผึ้ง wax
• แต่ละครั้งที่กรดไขมันรวมตัวกับกลีเซอรอล จะมีการ
เสียนำ้าออกมา 1 โมเลกุล เรียก ปฏิกิริยานี้ว่า ดี
ไฮเดรชั่น (dehydration)
• เรียกนิวทรัลลิพิดว่า มอโนกลีเซอไรด์
(monoglyceride)
• ไดกลีเซอไรด์ (diglyceride) และ
ลิพิดเชิงเดี่ยว (simple lipid)
• ไขมัน (Fat)
- ไขมันประกอบขึ้นด้วยสองส่วนคือ
- ไขมัน = กลีเซอรอล (glycerol) + กรด
ไขมัน (fatty acids) 3 หมู่
Glycerol
• Glycerol เป็นแอลกอฮอล์ที่มีคาร์บอน 3 ตัว ซึ่งมีหมู่
hydroxyl ที่สามารถเกิดปฏิกิริยากับกรดไขมันได้ 3 หมู่
Fatty acid
• กรดไขมันเป็นการเรียงตัวของธาตุ
คาร์บอน( Carbon ,C)
• โดยที่ปลายด้านหนึ่งเป็น methyl group
• อีกด้านหนึ่งเป็น carboxyl group
• ความยาวของ C มีได้หลายตัวหากมีความยาว
น้อยกว่า 6 เรียก Short chains
• หากมี C มากกว่า 12 เรียก long chain fatty
acid
• กรดไขมันเป็นอาหารของกล้ามเนื้อ หัวใจ
อวัยวะภายในร่างกาย
• กรดไขมันส่วนที่เหลือใช้จะถูกสะสมในรูป
Fatty acid
Fatty acid
การแบ่งประเภทของกรดไขมัน
• การแบ่งประเภทของกรดไขมันตามความอิ่ม
ตัวเป็น 2 ประเภท
ก. กรดไขมันอิ่มตัว (saturated fatty acid)
ข. กรดไขมันไม่อิ่มตัว (unsaturaturated
fatty acid) แบ่งได้อีก 2 ประเภท
– กรดไขมันไม่อิ่มตัว เชิงเดี่ยว
Monounsaturated fatty acid
– กรดไขมันไม่อิ่มตัว เชิงซ้อน
Polyunsaturated fatty acid
- essential fatty acids
- unessential fatty acids
Saturated and Unsaturated Fatty Acids
Saturated Fatty Acid : These are fatty acids
which contain the maximum possible number of
hydrogen atoms. That is each carbon in the chain
has two hydrogen atoms attached to it. It is "satura
ted" with hydrogen atoms.
Unsaturated Fatty Acid : These are fatty acids w
hich contain carbon-to-carbon "double" bonds. The
refore since a carbon atom can have only 4 covale
nt bonds, there is one less bond available for hydr
ogen, therefore there is one less hydrogen. (The c
arbons are not "saturated" with hydrogen atoms.)
saturated fatty acid
• หมายถึง กรดไขมันที่คาร์บอนในโมเลกุล
มีไฮโดรเจนเกาะอยู่เต็มที่แล้ว
• กรดไขมันที่มีธาตุ C ต่อกันด้วย single
bond เท่านั้น
• กรดไขมันที่อิ่มตัวนี้มีสูตรทั่วไป Cn H2nO2
, n = 2, 4, 6, 8 ตัวอย่าง เช่น กรดบิวทีริก
• กรดบิวทีริก (C4H8O2 ) กรดไขมันชนิดนี้มี
อยู่มากในนำ้ามันจากสัตว์ นำ้ามันมะพร้าว
และนำ้ามันปาล์ม
• แหล่งอาหารของไขมันอิ่มตัวได้แก่ นำ้ามัน
ปาล์ม กะทิ เนย นม เนื้อแดง ช้อกโกแลต
• การรับประทานอาหารไขมันชนิดอิ่มตัวจะ
กรดไขมันอิ่มตัว Saturated fatty
acid
unsaturated fatty acid
• หมายถึง กรดไขมันที่คาร์บอนใน
โมเลกุล มีไฮโดรเจนจับเกาะอยู่ไม่
เต็มที่แล้ว
• กรดไขมันที่มีธาตุ C ต่อกันด้วย
double bond อยู่
• แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
– กรดไขมันไม่อิ่มตัว เชิงเดี่ยว
Monounsaturated fatty acid
– กรดไขมันไม่อิ่มตัว เชิงซ้อน
Polyunsaturated fatty acid
กรดไขมันไม่อิ่มตัว เชิงเดี่ยว
Monounsaturated
• เป็นกรดไขมันที่มีธาตุ C ต่อกันด้วย Double
bond เพียงหนึ่งตำาแหน่ง
• นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าการรับประทานอาหารไข
มันประเภทนี้ทดแทนไขมันอิ่มตัวจะช่วยลดระดับ
LDL Cholesterol ซึ่งเป็นไขมันที่ไม่ดีก่อให้เกิด
โรคหลอดเลือดตีบ
• อาหารที่มีไขมัน Monounsaturated ได้แก่
avocados, nuts, and olive, peanut and can
ola oils
ไขมันไม่อิ่มตัว เชิงเดี่ยว
Monounsaturated
Omega-9 (Oleic Acid)
กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน
Polyunsaturated
• หมายถึงกรดไขมันที่มีธาตุ C ต่อกันด้วย
Double bond อยู่หลายตำาแหน่ง
• หากรับประทานแทนไขมันไม่อิ่มตัวจะไม่เพิ่ม
ระดับไขมันในร่างกาย
• สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
– กรดไขมันไม่อิ่มตัวที่ไม่จำาเป็น unessential fatty
acids เช่น oleic acid
– กรดไขมันไม่อิ่มตัวที่จำาเป็น essential fatty acids
เช่น linolenic acid , linoleic acid
Omega-3 (Linolenic Acid)
• omega-3 fatty acids นำ้ามันและไขมันที่มี
ecosapentaenoic acid (EPA) และ docosah
exaenoic acid (DHA) เป็นส่วนประกอบหลัก
จะมี Double bond ที่ตำาแหน่ง C3 นับจากกลุ่ม
Methyl group
• omega-3 fatty acids จะพบมากในอาหาร
จำาพวกปลาและนำ้ามันพืช เช่น salmon,
halibut, sardines, albacore, trout, herring,
walnut, flaxseed oil, and canola oil
Omega-3 (Linolenic Acid)
Omega-6 (Linoleic Acid)
• ส่วน omega-6 fatty acids ไขมันที่มีกรดไลโน
เลอิก เป็นส่วนประกอบหลัก จะมี Double
bond ที่ตำาแหน่ง C6 นับจากกลุ่ม Methyl grou
p
• omega-6 fatty acids จะพบมากในอาหาร
จำาพวกปลาและนำ้ามันพืช corn, safflower,
sunflower, soybean, and cottonseed oil
Omega-6 (Linoleic Acid)
Linolenic acid
What are Omega-3 and Omega-6
fatty acids?
Omega-3 (ω3) and omega-6 (ω6) fatty acids
are unsaturated "Essential Fatty Acids" (EFA
s) that need to be included in the diet
because the human metabolism cannot crea
te them from other fatty acids. Since these fa
tty acids are polyunsaturated, the terms n-3
PUFAs and n-6 PUFAs are applied to omeg
a-3 and omega-6 fatty acids, respectively.
Saturated and Unsaturated Fatty Acids
Saturated Fatty Acid: These are fatty acids
which contain the maximum possible number of
hydrogen atoms. That is each carbon in the chain
has two hydrogen atoms attached to it. It is "satura
ted" with hydrogen atoms.
Unsaturated Fatty Acid: These are fatty acids whi
ch contain carbon-to-carbon "double" bonds. Ther
efore since a carbon atom can have only 4 covalen
t bonds, there is one less bond available for hydro
gen, therefore there is one less hydrogen. (The car
bons are not "saturated" with hydrogen atoms.)
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/lipids.htm
Fat
• Fat หรือไขมัน เกิดจากกรดไขมัน 3 ตัวมา
ทำาปฏิกิริยากับ glycerol มีชื่อเรียกอีกอย่าง
หนึ่งว่า triacylglycerol (triglycerides)
ไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride)
–  ไตรกลีเซอไรด์ คือ กรดไขมัน 3
   โมเลกุล
–ไตรกลีเซอไรในพืชส่วนใหญ่จะเป็น
 ของเหลวและมีจุดหลอมเหลมตำ่า มัก
 เรียกว่า   นำ้ามัน
–ส่วนไตรกลีเซอไรด์ในสัตว์ จะเรียกว่า
ไขมัน
ไขมัน (Fat)
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/lipids.htm
The Triglycerides
Both fats and oils are "triglycerides".
These molecules are made up of 3 long chai
n "fatty acids" attached to a 3 carbon
molecule called "glycerol".
The carboxyl and the fatty acids are attache
d to the -OH groups of the Glycerol via a "de
hydration synthesis" reaction to yield an "est
er" bond.
Function: storage of energy - "fat" in
animals, and "oils" in plants.
ลิพิดเชิงซ้อน (compound lipid)
• ลิพิดเชิงซ้อน (compound lipid) เป็นลิพิดที่มีสาร
อื่นเป็น องค์ประกอบด้วย ได้แก่ ฟอสโฟลิพิด , ไกลโค
ลิพิด และ ลิโพโปรตีน
• ฟอสโฟลิพิด (phospholipid) เป็นลิพิดที่มีความ
สำาคัญต่อเซลล์ประสาท เป็นสารประกอบที่พบในเซลล์
ทุกชนิด ส่วนใหญ่เป็นส่วนประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์
นอกจากนี้ยังพบในเนื้อเยื่อประสาท ในไข่แดง
ตัวอย่างของสารประกอบฟอสโฟลิพิด ได้แก่ เลซิทิน
(lecithin) เซฟาลิน (cephalin) พลาสมาโลเจน (plas
malogen)
• ไกลโคลิพิด (glycolipid) เป็นลิพิดที่มีคาร์โบไฮเดรต
เป็นองค์ประกอบอยู่ด้วย ลิพิดชนิดนี้พบที่ อวัยวะหลาย
แห่ง เช่น สมอง ไต ตับ ม้าม
Phospholipids
• โครงสร้างคล้ายไขมัน (fat) แต่มีกรดไขมัน
เพียง 2 ตัวที่ต่อกับ glycerol
• หมู่ hydroxyl อีกหนึ่งหมู่ของ glycerol ต่อกับ
หมู่ฟอสเฟต ซึ่งอาจมีหมู่เล็ก ๆ ต่อกับหมู่
ฟอสเฟต
• มีคุณสมบัติ หาง (tail) ไม่ชอบนำ้า
(hydrophobic) เนื่องมาจากคุณสมบัติของกรด
ไขมัน และ
• หัว (head) ชอบนำ้า (hydrophllic) เนื่องมาจาก
คุณสมบัติของหมู่ฟอสเฟตและหมู่ที่มาเกาะกับ
ฟอสเฟต
Phospholipids
• Since water is also a polar molecule the
polar end of the phospholipid is "attracted"
to the + ends of the water molecules.
• It is said to be "hydrophillic" (or water
loving).
• While the neutral end of the phospholipid
molecule is non-polar, i.e. is repelled by
the "polar" water molecules, it is said to be
"hydrophobic" (water fearing).
Phospholipids
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/lipids.htm
Phospholipids
This duel nature of the phospholipid
molecule makes it very useful as a component
of cell membranes.
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/lipids.htm
อนุพันธ์ลิพิด (derived lipid)
• อนุพันธ์ลิพิด (derived lipid) เป็นลิพิดที่ได้มาจา
กลิพิด 2 ชนิดแรกที่กล่าวมาแล้ว เช่น กรดไขมัน ซึ่งได้
จากปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส นอกจากนี้ยังรวมถึงสเตียรอย
ด์ ซึ่งเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่ไม่ใช่ลิพิด แต่เนื่องจาก
มีสมบัติคล้ายลิพิด จึงถูกจัดไว้ในกลุ่มลิพิด
• สารประกอบสเตียรอยด์เป็นอนุพันธ์ของไซโคลเพนทา
โนเพอร์ไฮโดรฟีแนนทรีน นิวเคลียส
(cyclopentanoperhydro phenanthrene nucleus)
ซึ่งมีสูตรโครงสร้างแตกต่างไปจากพวกลิพิด คือ
คาร์บอนของ สเตียรอยด์ เรียงกันเป็นวง 4 วงและอาจมี
คาร์บอนต่อเป็นแขนงออกไปอีก แล้วแต่จะเป็นสเตีย
รอยด์ชนิดใด
• สเตียรอยด์มีความสำาคัญต่อสิ่งมีชีวิต เช่น ฮอร์โมนที่
สร้างจากรังไข่ อัณฑะ และต่อมต่างๆ เช่น ต่อมหมวก
Steroids
• Steroids
- จัดเป็น lipids เนื่องจากมีคุณสมบัติไม่ชอบ
นำ้า
- เป็นสาย hydrocarbon ที่มีหมู่วงแหวน 4
วงมาเกาะ
- ความแตกต่างของหมู่วงแหวนนี้ทำาให้เกิด
steroids ชนิดต่าง ๆ เช่น คลอเรสเตอรอล ,
ฮอร์โมนชนิดต่าง ๆ
Steroids
รูปแสดงโครงสร้างฮอร์โมนเพศ
หญิง และชาย แตกต่างกันที่หมู่
ฟังก์ชัน
สรุป ลิพิด   แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ได้ 3 ประเภท คือ
- ลิพิดเชิงเดี่ยว    คือ ลิพิดที่เป็นเอสเทอร์ของกรดไขมันกับกลีเซ
อรอลหรือแอลกอฮอล์ตัวอื่น แบ่งย่อยได้เป็น
1. ไขมันแท้ (true fat) เป็นเอสเทอร์ของกรดไขมันกับกลีเซอรอล
เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า กลีเซอไรด์     ไตรกลีเซอไรด์ คือ กรด
ไขมัน 3    โมเลกุล ไตรกลีเซอไรด์ในพืชส่วนใหญ่จะเป็นของเหลว
   และมีจุดหลอมเหลมตำ่า มักเรียกว่า นำ้ามัน   ส่วนไตรกลีเซอไรด์ใน
สัตว์ จะเรียกว่า ไขมัน
2. ขี้ผึ้งหรือไข   จะพบได้ที่ผิวนอกของเปลือกผลไม้ ผิวใบไม้ สาร
เคลือบปีกแมลงและขนของสัตว์ปีก ปลาวาฬจะสะสมไขไว้ใช้เป็น
พลังงานแทนไตรกลีเซอไรด์
- ลิพิดเชิงซ้อน    หมายถึง ลิพิดที่มีสารอื่นประกอบอยู่ด้วย
- อนุพันธ์ลิพิด เป็นสารที่ได้จากการย่อยสลายลิพิดทั้ง 2 ประเภท
 ที่สำาคัญ ได้แก่ กรดไขมัน กลีเซอรอล
1. กรดไขมัน  สูตรทั่วไปือ R-COOH แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
-  กรดไขมันอิ่มตัว
- กรดไขมันไม่อิ่มตัว
2. สเตตอรอยด์  เป็นอนุพันธ์ของลิพิดที่สำาคัญคือ ฮอร์โมนเพศ
  
ความสำาคัญของ lipids ต่อสิ่งมี
ชีวิต
• เป็นโครงสร้างของร่างกาย ปกป้องร่างกายจาก
แรงภายนอก ปกป้องอวัยวะภายในที่มีความ
สำาคัญ
• ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
• ช่วยทำาให้ผมและขนมีสุขภาพดี
• มีบทบาทในการดูดซึมวิตามิน (A, D, E, K)
• ให้พลังงาน
• ฮอร์โมน
การทดสอบ Lipid
• ถูกับกระดาษไข
• ถ้าโปร่งแสง = Lipid
กรดนิวคลีอิก
(Nucleic acid)
Nucleic Acids
• Nucleic Acids are macromolecular
structures which store and express all the
information necessary for building and mai
ntaining life.
• DNA (DeoxyriboNucleic Acid) is
considered as the repository of the genetic
information.
• RNAs (RiboNucleic Acids) may be
regarded as vectors and translators of the
information
Nucleoside = base + sugar
Nucleotide = base + sugar
+ phosphate
group
Nucleoside
Nucleotides
• Nucleotides : monomers of nucleic
acids.
• All nucleic acids consist of many
nucleotides bonded together.
• 1. Sugar: 5-carbon (Pentose)
• 2. Phosphate group
• 3. Nitrogen base
1. Sugar: 5-carbon (Pentose)
• Note the absence and presence of the hydroxyl (-OH) group on the 2’
carbon in the sugars from DNA and RNA, respectively
2. Phosphate group
3. Nitrogen base
A Nucleotide consists of :
• a nitrogenous base: purine (Adenine (A)
or Guanine (G)) or pyrimidine (Cytosine
(C) or Thymine (T) (or Uracil (U)in RNA).
• a sugar : Deoxyribose (DNA) or Ribose
(RNA).
• a phosphate group
Nucleotides
Nucleotides
Nucleotides เป็นสารพลังงาน
เช่น ATP
Polynucleotide
Polynucleotides
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/nucleicacids.htm
Think
DNA and RNA
DNA Nucleotides
• a) Sugar = deoxyribose
• b) Double helix form: two intertwined chains (double
stranded)
• Specific base pairing, complementary
Guanine (G) - Cytosine (C)
Adenine(A) - Thymine (T)
RNA Nucleotides
• a) Sugar = ribose
• b) Single stranded helix
• c) Uracil (U) replaces thymine (T) in RNA
Uracil (U) - Adenine (A)
Guanine (G) - Cytosine (C)
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/nucleicacids.htm
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/nucleicacids.htm
วิตามิน
(vitamin)
วิตามิน (vitamin)
วัตถุประสงค์ของการใช้วิตามิน
•  ให้เพื่อเสริม เป็นการให้วิตามินบางชนิดเสริม
บางสภาวะที่ร่างกายมีความต้องการวิตามินและ
เกลือแร่มากกว่าปกติ เช่น หญิงตั้งครรภ์ และ
ระหว่างให้นมบุตรจะมีความต้องการสารอาหาร
เพิ่มขึ้น
•  ให้เพื่อป้องกันการขาด เป็นอาหารเสริมในคน
ที่มีความเสี่ยงต่อภาวะขาด เช่น เด็กแรกเกิด
หรือผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
•  ให้เพื่อการรักษา ให้กับผู้ป่วยที่แสดงอาการ
ขาด
หน้าที่ของวิตามิน
หน้าที่ของวิตามินโดยทั่วไป มีดั้งนี้
• ช่วยให้อวัยวะต่างๆ ทำางานตามปกติ
• ช่วยป้องกันและต้านทานโรค
• ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต
• ทำาหน้าที่เป็นเอนไซม์ หรือร่วมกับเอนไซม์ใน
การช่วยเร่งปฎิกิริยาเคมีในร่างกาย
ชนิดของวิตามิน
แบ่งตามคุณสมบัติในการละลายนำ้า แบ่งได้
เป็น 2 กลุ่ม คือ
• วิตามินที่ละลายในนำ้า (Water soluble
vitamins )
• วิตามินที่ละลายในไขมัน (Fat soluble
vitamins )
Water soluble vitamins
• วิตามินบี 1 (Thiamine)
• วิตามินบี 2 (Riboflavin)
• วิตามินบี 3 (Niacin)
• วิตามินบี 5 (Pantothenic acid)
• วิตามินบี 6 (Pyridoxine)
• วิตามินบี 9 , เอ็ม (Folic acid)
• วิตามินบี 12 (Cobalamin)
• วิตามินบี 15 (Pangamic acid)
• วิตามินบี 17 (Amygdalin หรือ Laetrille)
• วิตามินซี (Ascorbic acid)
• วิตามินพี (Bioflavonoids)
• วิตามินเอช (Biotin)
Fat soluble vitamins
• วิตามินเอ (Retinol)
• วิตามินดี (Cholecalciferol)
• วิตามินอี (Tocopherol)
• วิตามินเอฟ
• วิตามินเค
• แคโรทีน
• เทารีน
โรคขาดวิตามินเอ
( กระจกตาจะขุ่นเหลวและติดเชื้อ
ได้ง่าย , Bitot'spot )
โรคขาดวิตามินซี
( เหงือกบวมและมีเลือดออกง่าย ,
เลือดออกใต้เล็บ , ต่อมขนจะมี
ขนาดใหญ่และมีเลือดคลั่ง )
Report
• งานกลุ่ม (กลุ่มทำา Lab )
• เนื้อหา - vitamin
- mineral
• ขอบเขต (แหล่งที่พบ , ประโยชน์ , โทษ , อื่นๆ)
Reference
• http://www.wattana.ac.th/E_learning47/high_01/f
oods/
• http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/c
arbohydrates.htm
• http://rbu.qru.ac.th/~cow/science/4031102/lesso
n1/lesson1.8.html
• http://www.geocities.com/vitandmin/VITAMINS.h
tm
• http://www.siamhealth.net/Health/
good_health_living/diet/fat.htm
Thank you
Miss Lampoei Puangmalai
Major of biology
Department of science
St. Louis College Chachoengsao
The carbon and these oxygens are
in an acetal
linkage. (The bonds are heavier an
d in blue.)
385

More Related Content

What's hot

Biomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุลBiomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุลJusmistic Jusmistic
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลoraneehussem
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลmaechai17
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคTANIKAN KUNTAWONG
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3sailom
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1sailom
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)BELL N JOYE
 
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )PamPaul
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดTANIKAN KUNTAWONG
 
ใบงานที่20 protein
ใบงานที่20 proteinใบงานที่20 protein
ใบงานที่20 proteinTANIKAN KUNTAWONG
 
Protein
ProteinProtein
Proteinsailom
 

What's hot (20)

Biomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุลBiomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุล
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
 
Biochem
BiochemBiochem
Biochem
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
 
Biochem 5ed
Biochem 5edBiochem 5ed
Biochem 5ed
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
 
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิด
 
Proteins and nucleic acids
Proteins  and nucleic acidsProteins  and nucleic acids
Proteins and nucleic acids
 
ใบงานที่20 protein
ใบงานที่20 proteinใบงานที่20 protein
ใบงานที่20 protein
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
คาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรตคาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรต
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 

Similar to 385

โภชนาการ
โภชนาการโภชนาการ
โภชนาการNok Tiwung
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลNamRinNamRin
 
ติวเข้ม ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา PAT2
ติวเข้ม ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา PAT2ติวเข้ม ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา PAT2
ติวเข้ม ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา PAT2fotofocus1
 
Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4off5230
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
นำเสนออาหาร
นำเสนออาหารนำเสนออาหาร
นำเสนออาหารkanitnun
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
amino acid metabolism_mai2021.pdf
amino acid metabolism_mai2021.pdfamino acid metabolism_mai2021.pdf
amino acid metabolism_mai2021.pdfmai Vijit
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2kasidid20309
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfBoviBow
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 

Similar to 385 (20)

ไอโบโมเลกุล
ไอโบโมเลกุลไอโบโมเลกุล
ไอโบโมเลกุล
 
โภชนาการ
โภชนาการโภชนาการ
โภชนาการ
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
 
Protein
Protein Protein
Protein
 
Chemical acr56
Chemical acr56Chemical acr56
Chemical acr56
 
ติวเข้ม ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา PAT2
ติวเข้ม ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา PAT2ติวเข้ม ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา PAT2
ติวเข้ม ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา PAT2
 
Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4
 
Lipid
LipidLipid
Lipid
 
Carbohydrate
CarbohydrateCarbohydrate
Carbohydrate
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
นำเสนออาหาร
นำเสนออาหารนำเสนออาหาร
นำเสนออาหาร
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
amino acid metabolism_mai2021.pdf
amino acid metabolism_mai2021.pdfamino acid metabolism_mai2021.pdf
amino acid metabolism_mai2021.pdf
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
 
Lipid
LipidLipid
Lipid
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
 
Carbohydrate
CarbohydrateCarbohydrate
Carbohydrate
 
Bio physics period2
Bio physics period2Bio physics period2
Bio physics period2
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 

385

  • 2. บทที่ 3 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมี ชีวิต 3.1 สารอนินทรีย์ 3.1.1 นำ้า 3.1.2 แร่ธาตุ 3.2 สารอินทรีย์ 3.2.1 คาร์โบไฮเดรต 3.2.2 โปรตีน 3.2.3 ลิพิด 3.2.4 กรดนิวคลีอิก 3.2.5 วิตามิน 3.3 ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมี
  • 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ • 1. สืบค้น วิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับ โครงสร้าง และหน้าที่ของสาร อนินทรีย์ที่เป็น องค์ประกอบของเซลล์สิ่งมีชีวิต • 2. อธิบายสูตรโครงสร้างของสารอินทรีย์ชนิด ต่าง ๆ และบอกหน้าที่ของสารอินทรีย์แต่ละ ชนิด
  • 4. โมเลกุล (Molecule) ¯ ออแกเนลล์ (Organelle) ¯ เซลล์ (cell) ¯ เนื้อเยื่อ (Tissue) ¯ อวัยวะ (Organ) ¯ ระบบอวัยวะ (Organ System) ¯ ออแกนิซึม (Organism) ¯ ประชากร (Population) ¯ สังคมสิ่งมีชีวิต (Community) ¯ ระบบนิเวศ (Ecosystem)
  • 6.
  • 7. Chemical Bonds; The "Glue" That Holds Molecules Together. • แต่ละอะตอมสามารถรวม กันกลายเป็นโมเลกุลด้วย พันธะทางเคมี ในสิ่งมีชีวิต มีพันธะที่สำาคัญได้แก่ 1. covalent bond เป็นพันธะ ที่เกิดจากการใช้ electron ร่วมกันของ 2  อะตอม เช่น ก๊าซไฮโดรเจน (H2) ออกซิเจน (O2) นำ้า (H2O) และมีเทน (CH4) เป็นต้น
  • 9. 1.1 nonpolar covalent เป็นการใช้อิเล็กตรอน ร่วมกัน โดยอิเล็กตรอนวิ่งรอบอะตอมทั้งสองเท่า กัน เช่น H2 , O2 และ CH4 1.2 polar covalent เป็นการใช้อิเล็กตรอนร่วม กันโดยอะตอมที่มี electronegativity สูง จะดึง อิเล็กตรอนมาใกล้ตัวมากกว่า จึงทำาให้มีประจุ เช่น H2O O มี electronegativity สูงสามารถดึงอิเล็กตรอน เข้ามาวน รอบตัวเองได้มากกว่า H จึงทำาให้ O เป็นลบ H เป็นบวก
  • 11. 2. ionic bond เป็นพันธะที่เกิดขึ้น ระหว่างอะตอมที่มีประจุต่างกัน เช่น NaCl เกิดจากอะตอมของ Na  ให้ electron แก่ Cl กลายเป็น Na+ ขณะที่ Cl กลายเป็น Cl- ผลทำาให้ electron วงนอกของอะตอม Na และ Cl ครบ 8 กลายเป็นสารประกอบ NaCl
  • 13. 3. hydrogen bond เป็นพันธะที่ไม่แข็ง แรงนัก เกิดกับ H ที่ต่อด้วย covalent bond  กับอะตอมของธาตุที่ดึงดูด electron ได้ดี เช่น N หรือ O โดย electron ในพันธะ นั้น จะดึงดูดไปใกล้ N หรือ O มากจนทำาให้ H เกิดเป็นประจุ + ทำาให้สามารถดึงดูดกับ อะตอม อื่นที่มี electron มาก เช่น O หรือ N
  • 14. เป็นแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลหรือ ภายในโมเลกุลเดียวกัน มีผลทำาให้ เกิดรูปร่างของโมเลกุล 5. hydrophobic interaction แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลที่ไม่ชอบ นำ้า (hydrophobic) เช่น หยดนำ้ามัน  เล็กๆ ลงในนำ้า หยดนำ้ามันเหล่านี้ จะ รวมกันเป็นหยดใหญ่เพื่อสัมผัสกับ นำ้าน้อยที่สุด แรงดึงดูดระหว่างหยด  นี้ คือ hydrophobic interaction
  • 15. Human chemistry only a few elements are important. Here, the most abundant element s in biological systems are shown in red, lesser elements in blue, and 'trace' elements in green http://www.chem.ufl.edu/~itl/2045/lectures/lec_2.html
  • 17. นำ้า (H2O) • เซลล์มีนำ้าเป็นส่วน ประกอบอยู่ภายใน 70 – 90% ความสำาคัญของนำ้า • 1. เป็น polar molecule จึงเป็นตัวทำาละลายที่ดี เช่น เกลือ NaCl ละลายใน นำ้าได้ เนื่องจากโมเลกุลของ นำ้ามี O ประจุลบ และ H ประจุบวก • ดังนั้น O- จึงจับกับ Na+
  • 18. โมเลกุลนำ้าที่ล้อมรอบ Na+ หรือ Cl- เรียก hydration shell สารที่ชอบนำ้า เรียกว่า hydrophilic ส่วนสารที่ไม่ชอบนำ้า เรียกว่า hydrophobic
  • 19. 2. เกิด hydrogen bond ระหว่างโมเลกุลของนำ้า แรงดึงดูดระหว่าง โมเลกุลของนำ้า เรียกว่า cohesion ซึ่งจะทำาให้ นำ้าเคลื่อนที่จากรากไป ยังส่วนต่างๆ ของพืชได้ ขณะที่มีการคายนำ้า (Transpiration) ถ้านำ้า เกิด hydrogen bond กับสารอื่น เช่น ผนัง เซลล์พืช เรียกว่า adhesion
  • 20. 3. มีความร้อนจำาเพาะสูง จึงทำาให้อุณหภูมิภายในเซลล์ สิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก มีผลทำาให้ metabolism ภายใน เซลล์ยังคงปกติ           4. ความร้อนแฝง กลายเป็นไอสูง เมื่อร่างกายสูญ เสียเหงื่อ หรือการที่พืชคายนำ้า จึงช่วยลดความร้อนภายในสิ่งมี ชีวิตได้
  • 22. แร่ธาตุ (mineral) – แร่ธาตุเป็นกลุ่มของสารอนินทรีย์ที่ร่างกายขาดไม่ ได้ มีการแบ่งแร่ธาตุที่คนต้องการออกเป็น 2 ประเภท คือ – 1. แร่ธาตุที่คนต้องการในขนาดมากกว่าวันละ 100 มิลลิกรัม ได้แก่ แคลเซียม ฟอสฟอรัส โซเดียม โพแทสเซียม คลอรีน แมกนีเซียม และกำามะถัน – 2. แร่ธาตุที่คนต้องการในขนาดวันละ 2-3 มิลลิกรัม ได้แก่ เหล็ก ทองแดง โคบอลต์ สังกะสี แมงกานีส ไอโอดีน โมลิบดีนัม เซลีเนียม ฟลูออรีนและ โครเมียม
  • 23. หน้าที่ของแร่ธาตุ – เป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อ เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส และแมกนีเซียม เป็นส่วนประกอบที่ สำาคัญของกระดูกและฟัน ทำาให้กระดูกและฟันมี ลักษณะแข็ง – เป็นส่วนประกอบของโปรตีน ฮอร์โมนและ เอนไซม์ เช่น เหล็กเป็นส่วนประกอบของโปรตีน ชนิดหนึ่ง เรียกว่า เฮโมโกลบิน (hemoglobin) ซึ่ง จำาเป็นต่อการขนถ่ายออกซิเจนแก่เนื้อเยื่อต่าง ๆ ทองแดงเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ ซึ่งจำาเป็นต่อ การหายใจของเซลล์ไอโอดีนเป็นส่วนประกอบของ ฮอร์โมนไธรอกซีน ซึ่งจำาเป็นต่อการทำางานของ ร่างกาย ถ้าหากร่างกายขาดเกลือแร่เหล่านี้ จะมี
  • 24. หน้าที่ของแร่ธาตุ – ควบคุมความเป็นกรด - ด่างของร่างกาย โซเดียม โพแทสเซียม คลอรีน และฟอสฟอรัส ทำา หน้าที่สำาคัญในการควบคุมความเป็นกรด-ด่างของ ร่างกาย เพื่อให้มีชีวิตอยู่ได้ – ควบคุมดุลนำ้า โซเดียม และโพแทสเซียมมีส่วน ช่วยในการควบคุมความสมดุลของนำ้าภายในและ ภายนอกเซลล์ – เร่งปฏิกิริยา ปฏิกิริยาหลายชนิดในร่างกายจะ ดำาเนินไปได้ ต้องมีเกลือแร่เป็นตัวเร่ง เช่น แมกนีเซียม เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่เกี่ยวกับการเผา ผลาญกลูโคสให้เกิดกำาลังงาน
  • 26. สารอินทรีย์ • สารอินทรีย์เป็นสารที่มีธาตุ C , H , O , N , P , S เป็นองค์ประกอบ • สารอินทรีย์ที่พบในสิ่งมีชีวิต เรียกว่า สารชีว โมเลกุล (biological molecule) • C + H = hydrocarbon • หมู่ฟังก์ชัน (functional group) คือ หมู่อะตอม หรือกลุ่มอะตอมของธาตุที่แสดงสมบัติเฉพาะ ของสารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เช่น CH3OH (เมทา นอล) CH3CH2OH(เอทานอล) ซึ่งต้องเป็นสาร อินทรีย์พวกแอลกอฮอล์ เพราะสารแต่ละชนิด ต่างก็มีหมู่ -OH เป็นองค์ประกอบ แสดงหมู่ -OH
  • 29. คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) • คาร์โบไฮเดรต หมายถึง "คาร์บอนที่อิ่ม ตัวด้วยนำ้า" • เป็นสารอินทรีย์ที่ประกอบด้วย C , H , O • โดยอัตราส่วนของ H : O = 2 : 1 (โดย ปริมาตร) • เป็นสารอินทรีย์ที่หมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์ (- CHO) และหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) หรือ หมู่คาร์บอนิล (-CO) และหมู่ไฮดรอกซิล ( -OH) เป็นหมู่ฟังก์ชัน
  • 30. ประเภทของคาร์โบไฮเดรต • คาร์โบไฮเดรตจำาแนกตามสมบัติทางกายภาพ และทางเคมี ได้ 2 พวก คือ 1. พวกที่เป็นนำ้าตาล 2.พวกที่ไม่ใช่นำ้าตาล • คาร์โบไฮเดรตจำาแนกตามขนาดของโมเลกุล สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. มอนอแซ็กคาไรด์ (Monosaccharide) 2. โอลิโกแซ็กคาไรด์ (Oligosaccharide) 3. พอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide)
  • 31. ตาราง ชนิดของนำ้าตาลตาม จำานวนคาร์บอนของ monosaccharide จำานวนคาร์บอน (C) ชนิด ตัวอย่าง 3 Triose Glyceraldehyde 4 Tetrose Erythrose 5 * Pentose Ribose , deoxyribose 6 * Hexose Glucose , fructose , galactose 7 Heptose Sedoheptulose
  • 32. monosaccharide • นำ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว ได้แก่ กลูโคส ฟรุคโตส และกาแลค โตส • มีสูตรโครงสร้างอย่างง่าย คือ (CH2O) n เมื่อ n คือ จำานวน อะตอมของ C ซึ่งอาจ เป็น 3 - 7 (สูตรโครงสร้างเหมือนกัน แต่สูตรโมเลกุลต่างกัน) • ตัวอย่างเช่น กลูโคส มีโครงสร้างเป็นทั้งสายยาว หรือวงแหวน และมี 2 configuration คือ แบบ หรือ configuration • พันธะที่เชื่อมระหว่างนำ้าตาล  2 โมเลกุลเรียก glycosidic เช่น ถ้าเชื่อมระหว่าง - glucose 2 โมเลกุล จะเรียกว่า  1 - 4 linkage และ • เชื่อมระหว่าง - glucose จะเรียกว่า   - linkage • นอกจากนี้นำ้าตาลโมเลกุลเดี่ยวที่มีหมู่ อยู่ปลายสาย จะ เรียกว่า Aldose และไม่อยู่ปลายสายเรียกว่า ketose และการ เป็น isomer กันก็ทำาให้เกิดนำ้าตาลคนละชนิด เช่น กลูโคส กับ
  • 34. 1) Monosaccharides (simple sugars) These molecules consist of open-chain or ring forms of 3 to 8 carbon atoms. The most common type of monosaccharide is the simple sugar "glucose". http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/carbohydrates.htm
  • 36.
  • 37. - Glucose is an important energy source in metabolically active cells. - Fructose is a common sugar in fruit), and - Galactose is the sugar found in milk - Sugars with 6 carbons are called "hexoses". 5 carbon sugars are "pentoses" . Whereas 7 carbon sugars are called "hept oses". - Two very important "pentoses" (5 carbons) are, Ribose found in Ribonucleic Acid, RNA, and Deoxyribose found in Deoxyribonucleic Acid, DNA.
  • 40. disaccharide • ประกอบด้วย 2 monosaccharide เชื่อมด้วย glycosidic bond แล้วเสียนำ้า (dehydration) ไป 1 โมเลกุล • จึงมีสูตรโครงสร้าง คือ C12 H22 O11 • เช่น ซูโครส (กลูโคส + ฟรุกโทส) , มอลโทส (กลูโคส + กลูโคส) , แลคโทส (กลูโคส + แก แลคโทส) • ถ้ามีนำ้าตาล monomer ตั้งแต่ 3 - 15 โมเลกุล เรียกว่า oligosaccharide
  • 42. Disaccharides When two monosaccharides are joined together they form a "disaccharide". This linking of two sugars involves the removal of a molecule of H2O (water) and is therefore called a "dehydration linkage". T he reaction is called "dehydration synthesis". e.g. Glucose + Glucose = Maltose Glucose + Fructose = Sucrose Glucose + Galactose = Lactose
  • 43. This forms a bond between the #1 carbon of one glucose and the #4 carbon of the other, therefore it is called an 1-4 linkage, (or Glycosidic Linkage). http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/carbohydrates.htm
  • 44.
  • 46. polysaccharide • ประกอบด้วย monosaccharide จำำนวนมำกเป็นหลำยพัน โมเลกุล ได้แก่ พวกแป้ง (อำหำรสะสมในพืช) glycogen (ใน สัตว์) และ cellulose (ส่วนประกอบของผนังเซลล์) • แป้ง : ประกอบด้วย glucose ต่อกันเป็นจำำนวนมำกด้วย พันธะ 1 4 ถ้ำต่อกันแบบเป็นสำยยำวไม่มีกิ่งก้ำนเรียก amylose มีประมำณ 20% และถ้ำต่อกันเป็นกิ่งก้ำนเรียก amylopectin มีประมำณ 80% • เซลลูโลส : ประกอบด้วย glucose ที่ต่อกันเป็นสำยยำวด้วย พันธะ 1 4 หลังจำกนั้นแต่ละเส้นใยเซลลูโลสมำเรียง ขนำนกันจับกันด้วย H - bond อยู่รวมกันเป็น microfibril ซึ่ง หลำย microfibril จะรวมกันเป็น fibril ร่ำงกำยมนุษย์ไม่ สำมำรถย่อยเซลลูโลสได้ เพรำไม่มี enzyme ที่ทำำลำยพันธะ ที่เชื่อมระหว่ำงโมเลกุลนำ้ำตำลทั้งสอง ( - linkage) ในวัว สำมำรถย่อยเซลลูโลสได้เนื่องจำกมีแบคทีเรียบำงชนิดย่อย สลำยเซลลูโลสได้
  • 47. Polysaccharides These are long chains of monosaccharides linked together by dehydration linkages. http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/carbohydrates.htm
  • 49. The simplest polysaccharide is a long chain (polymer) of glucose, called "starch". http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/carbohydrates.htm
  • 50. There are 3 types of starch : (1) Amylose : a non-branching straight chain of glucose - used to store glucose in plants. (2) Amylopectin : a branched chain, also used to store glucose in plants. (3) Glycogen : another branched chain molecule u sed to store glucose in animals. Polysaccharides can also form very important stru ctural components in plants and animals. Cellulose: is the principal constituent in plant c ell walls.
  • 51. This macromolecule is a long chain of glucose subunits held together by (1-4) lin kages. (Not (1-4) as in starch!) http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/carbohydrates.htm
  • 52. Chitin : is an important structural material in the outer coverings of insects, crabs, and lobsters. In chitin the basic subunit is not glucose (but N-acetyl-D-glucoseamine) in 1-4 li nkages. These polymers are made very hard w hen impregnated with calcium carbonate.
  • 53.
  • 54. กำรทดสอบคำร์โบไฮเดรต • 1. คำร์โบไฮเดรตที่มีรสหวำน สำรอินทรีย์ที่มีหมู่ -CO และ -OH ใน โมเลกุลเดียวกันในด่ำง เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น จะ เปลี่ยนโครงสร้ำงเป็นหมู่ -CHO สำรละลำยเบเนดิกต์ (Benedict solution) เป็นสำรละลำยผสมระหว่ำง CuSO4, Na2CO3 และโซเดียมซิเตรด เป็น Cu2+/OH- มีสีนำ้ำเงิน สำรอินทรีย์ที่มีหมู่ คำร์บอกซำลดีไฮด์ (-CHO) ต้มกับสำรละลำย เบเนดิกต์ (Cu2+/OH-) • 2. คำร์โบไฮเดรตที่ไม่มีรสหวำน แป้ง + I2 -------------------->สำรเชิงซ้อน
  • 56. หน้ำที่ของคำร์โบไฮเดรต • หน้ำที่ของคำร์โบไฮเดรต 1. ให้พลังงำนควำมร้อน คำร์โบไฮเดรต 1 กรัม ให้พลังงำน 4 กิโลแคลอรี 2. ช่วยให้ไขมันเผำไหม้สมบูรณ์ 3. ช่วยสงวนหรือประหยัดกำรใช้โปรตีนใน ร่ำงกำย 4. สำมำรถเก็บสะสมไว้และเปลี่ยนเป็นสำร อำหำรชนิดอื่น เช่น ไขมันและกรดอะมิโนได้ • โทษของคำร์โบไฮเดรต ทำำให้เกิดโรคเกี่ยวกับไต ทำำให้โลหิตเป็นพิษ
  • 58. โปรตีน (Protein) • โปรตีน มีหน้ำที่หลำยอย่ำง ดังนี้ 1. เป็น enzyme เร่งปฏิกิริยำเคมี 2. เป็นโปรตีนโครงสร้ำง เช่น พวก collagen , elastin , keratin 3. เป็นตัวขนส่ง ทำำหน้ำที่ขนส่งสำร เช่น hemoglobin หรือ เป็นตัวขนส่ง (transporter) ที่ cell membrane 4. เป็นฮอร์โมน เช่น insulin 5. เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน เช่น เป็น antibody
  • 59. และหมู่ R แบ่งกรดอะมิโนเป็น 5 กลุ่มตำม โครงสร้ำงทำงเคมีของหมู่ R - แต่ละกรดอะมิโนจะมำเชื่อมต่อกันเป็นสำยยำวด้วย peptide bond ซึ่งเรียกว่ำ polypeptide โดยสำย polypeptide จะมีปลำยด้ำนหนึ่งเป็นหมู่ NH2 และ ปลำยอีกด้ำนหนึ่งเป็นหมู่ COOH - กรดอะมิโนมีประมำณ 20 ชนิด ดังนั้นกำรจัดเรียง ตัวของกรดอะมิโนที่แตกต่ำงกันมำก จึงก่อให้เกิด ควำมหลำกหลำยของชนิดโปรตีน และทำำหน้ำที่ที่ แตกต่ำงกัน - กรดอะมิโนที่ร่ำงกำยไม่สำมำรถสังเครำะห์ได้เอง จะได้จำกอำหำรเท่ำนั้น เรียกว่ำ กรดอะมิโนที่ จำำเป็น (essential amino acid) และ - กรดอะมิโนที่ร่ำงกำยสังเครำะห์เองได้ เรียกว่ำ
  • 60. Amino acid there is a -COOH, which is a carboxyl group (acidic). a -NH2, which is an amino group (basic). an -H hydrogen. a residue R which varies depending on the amino acid.
  • 61. Proteins are polymers of amino acids
  • 62. peptide bond Two amino acids can, under some circumstances, react together. The result is the creat ion of a dipeptide. A molecule of water is released in the process. This is the basic reaction involved in the synthesis of proteins.
  • 63. Hydrolysis of adjacent amino & carboxy termini forms peptide bon d
  • 65. Structure of some amino acids http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/proteins.htm
  • 66. The 20 Amino Acids
  • 67. - Each amino acid contains an "amine" group (NH3) and a "carboxy" group (COOH) (shown in black in the diagram). - The amino acids vary in their side chains (indicated in blue in the diagram). - The eight amino acids in the orange area are non polar and hydrophobic. - The other amino acids are polar and hydrophilic ( "water loving"). - The two amino acids in the magenta box are acid ic ("carboxy" group in the side chain). - The three amino acids in the light blue box are ba sic ("amine" group in the side chain).
  • 68.
  • 69.
  • 70.
  • 71.
  • 72.
  • 73. These are very large 3 dimensional macromolecules. They are very important as structural molecules in the cell, as energy sources, and most importantly as "enzymes", (protein catalysts which speed up chemical r eactions in the cell without the need for high temperature or drastic pH changes). Proteins are often called "polypeptides" be cause they are made of long chains of buildi ng blocks called "amino acids".
  • 74. โครงสร้ำงของโปรตีน มี 4 ระดับ คือ• 1. primary structure กำรเรียงลำำดับของกรดอะมิโน ในสำย polypeptide • 2. secondary structure มีกำรสร้ำง H-bond ระหว่ำ งกรดอะมิโนทำำให้มีกำรขดเป็น helix หรือพับทบไปทบ มำเป็น sheet • 3. tertiary structure หมำยถึงโครงรูปของสำย polypeptide ทั้งสำยซึ่งประกอบด้วย secondary structure หลำยสำยรวมกัน โดยเกิดพันธะต่ำง ๆ ภำยในสำย secondary structure ได้แก่ พันธะ ionic , hydrogen และ hydrophobic เป็นต้น • 4. quaternary structure แต่ละ polypeptide มำอยู่ รวมกันเพื่อทำำหน้ำที่ เช่น hemoglobin ประกอบด้วย สำย polypeptide  ชนิด a และ b อย่ำงละ 2 สำยมำ
  • 75. Structure of Proteins "The sequence of amino acids in the polypeptide chain." http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/proteins.htm
  • 76. The "peptide" bond. To form a "dipeptide" molecule. Therefore the primary structure is the sequence of amino acids. http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/proteins.htm
  • 77. Secondary Level of Organization of Polypeptides http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/proteins.htm
  • 78. The Tertiary Structure of Proteins http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/proteins.htm
  • 79. Quaternary Structure of Proteins Hemoglobin: an oxygen carrying protein in red blood cells which is made of 4 parts. http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/proteins.htm
  • 81.
  • 82. Proteins when heated can unfold or "Denature". This loss of three dimensional shape will usually be accom panied by a loss of the proteins function. If the denatured p rotein is allowed to cool it will usually refold back into it’s or iginal conformation. http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/proteins.htm
  • 83. กำรทดสอบโปรตีน • 1. ปฏิกิริยำกับนินไฮดริน     โปรตีนที่มีกรดอะมิ โนชนิดแอลฟำจำำทำำปฏิกิริยำกับนินไฮดรินให้ สีนำ้ำเงิน • 2.ปฏิกิริยำไบยูเรต    โดยโปรตีนทุกตัวจะให้สี กับปฏิกิริยำกำรทดลองนี้เป็นสีนำ้ำเงินปนม่วง  โปรตีนทำำปฏิกิริยำกับคอปเปอร์ซัลเฟตใน สำรละลำยโซเดียมไฮดรอกไซด์
  • 85. ลิพิด (Lipid) • เป็นสารชีวโมเลกุลกลุ่มเดียวที่ไม่เป็น polymer • มีคุณลักษณะเฉพาะตัวคือไม่ชอบนำ้า (hydrophobic) เนื่องจากมีคุณสมบัติที่ไม่เป็น ขั้ว (นำ้าเป็นโมเลกุลที่มีขั้ว) ดังนั้น lipids จึงไม่ สามารถละลายในนำ้าได้ • แม้ว่า lipids จะไม่เป็น polymer แต่ไขมันเองก็ เป็นสารที่มีขนาดใหญ่ • Lipids ได้แก่ ไขมัน (fat, oil, wax), phospholipids และ steroids
  • 86. การแบ่งประเภทลิพิด (lipid) ทางเคมี • ลิพิดเชิงเดี่ยว (simple lipid) • ลิพิดเชิงซ้อน (compound lipid) • อนุพันธ์ลิพิด (derived lipid)
  • 87. ลิพิดเชิงเดี่ยว (simple lipid) • ลิพิดธรรมดา (simple lipid) เป็นเอสเทอร์ของกรดไข มันกับแอลกอฮอล์ชนิดต่างๆ • ถ้าแอลกอฮอล์นั้นคือ กลีเซอรีน จะได้สารประกอบพวก ไขมันหรือนำ้ามัน (fat หรือ oil) บางทีก็เรียก นิวทรัลลิ พิด (neutral lipid) หรือไตรกลีเซอไรด์ • ถ้าเป็นแอลกอฮอล์ชนิดอื่นที่ไม่ใช่กลีเซอรีน จะเป็น สารประกอบพวกขี้ผึ้ง wax • แต่ละครั้งที่กรดไขมันรวมตัวกับกลีเซอรอล จะมีการ เสียนำ้าออกมา 1 โมเลกุล เรียก ปฏิกิริยานี้ว่า ดี ไฮเดรชั่น (dehydration) • เรียกนิวทรัลลิพิดว่า มอโนกลีเซอไรด์ (monoglyceride) • ไดกลีเซอไรด์ (diglyceride) และ
  • 88. ลิพิดเชิงเดี่ยว (simple lipid) • ไขมัน (Fat) - ไขมันประกอบขึ้นด้วยสองส่วนคือ - ไขมัน = กลีเซอรอล (glycerol) + กรด ไขมัน (fatty acids) 3 หมู่
  • 89. Glycerol • Glycerol เป็นแอลกอฮอล์ที่มีคาร์บอน 3 ตัว ซึ่งมีหมู่ hydroxyl ที่สามารถเกิดปฏิกิริยากับกรดไขมันได้ 3 หมู่
  • 90. Fatty acid • กรดไขมันเป็นการเรียงตัวของธาตุ คาร์บอน( Carbon ,C) • โดยที่ปลายด้านหนึ่งเป็น methyl group • อีกด้านหนึ่งเป็น carboxyl group • ความยาวของ C มีได้หลายตัวหากมีความยาว น้อยกว่า 6 เรียก Short chains • หากมี C มากกว่า 12 เรียก long chain fatty acid • กรดไขมันเป็นอาหารของกล้ามเนื้อ หัวใจ อวัยวะภายในร่างกาย • กรดไขมันส่วนที่เหลือใช้จะถูกสะสมในรูป
  • 93. การแบ่งประเภทของกรดไขมัน • การแบ่งประเภทของกรดไขมันตามความอิ่ม ตัวเป็น 2 ประเภท ก. กรดไขมันอิ่มตัว (saturated fatty acid) ข. กรดไขมันไม่อิ่มตัว (unsaturaturated fatty acid) แบ่งได้อีก 2 ประเภท – กรดไขมันไม่อิ่มตัว เชิงเดี่ยว Monounsaturated fatty acid – กรดไขมันไม่อิ่มตัว เชิงซ้อน Polyunsaturated fatty acid - essential fatty acids - unessential fatty acids
  • 94. Saturated and Unsaturated Fatty Acids Saturated Fatty Acid : These are fatty acids which contain the maximum possible number of hydrogen atoms. That is each carbon in the chain has two hydrogen atoms attached to it. It is "satura ted" with hydrogen atoms. Unsaturated Fatty Acid : These are fatty acids w hich contain carbon-to-carbon "double" bonds. The refore since a carbon atom can have only 4 covale nt bonds, there is one less bond available for hydr ogen, therefore there is one less hydrogen. (The c arbons are not "saturated" with hydrogen atoms.)
  • 95. saturated fatty acid • หมายถึง กรดไขมันที่คาร์บอนในโมเลกุล มีไฮโดรเจนเกาะอยู่เต็มที่แล้ว • กรดไขมันที่มีธาตุ C ต่อกันด้วย single bond เท่านั้น • กรดไขมันที่อิ่มตัวนี้มีสูตรทั่วไป Cn H2nO2 , n = 2, 4, 6, 8 ตัวอย่าง เช่น กรดบิวทีริก • กรดบิวทีริก (C4H8O2 ) กรดไขมันชนิดนี้มี อยู่มากในนำ้ามันจากสัตว์ นำ้ามันมะพร้าว และนำ้ามันปาล์ม • แหล่งอาหารของไขมันอิ่มตัวได้แก่ นำ้ามัน ปาล์ม กะทิ เนย นม เนื้อแดง ช้อกโกแลต • การรับประทานอาหารไขมันชนิดอิ่มตัวจะ
  • 97. unsaturated fatty acid • หมายถึง กรดไขมันที่คาร์บอนใน โมเลกุล มีไฮโดรเจนจับเกาะอยู่ไม่ เต็มที่แล้ว • กรดไขมันที่มีธาตุ C ต่อกันด้วย double bond อยู่ • แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ – กรดไขมันไม่อิ่มตัว เชิงเดี่ยว Monounsaturated fatty acid – กรดไขมันไม่อิ่มตัว เชิงซ้อน Polyunsaturated fatty acid
  • 98.
  • 99. กรดไขมันไม่อิ่มตัว เชิงเดี่ยว Monounsaturated • เป็นกรดไขมันที่มีธาตุ C ต่อกันด้วย Double bond เพียงหนึ่งตำาแหน่ง • นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าการรับประทานอาหารไข มันประเภทนี้ทดแทนไขมันอิ่มตัวจะช่วยลดระดับ LDL Cholesterol ซึ่งเป็นไขมันที่ไม่ดีก่อให้เกิด โรคหลอดเลือดตีบ • อาหารที่มีไขมัน Monounsaturated ได้แก่ avocados, nuts, and olive, peanut and can ola oils
  • 102. กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน Polyunsaturated • หมายถึงกรดไขมันที่มีธาตุ C ต่อกันด้วย Double bond อยู่หลายตำาแหน่ง • หากรับประทานแทนไขมันไม่อิ่มตัวจะไม่เพิ่ม ระดับไขมันในร่างกาย • สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ – กรดไขมันไม่อิ่มตัวที่ไม่จำาเป็น unessential fatty acids เช่น oleic acid – กรดไขมันไม่อิ่มตัวที่จำาเป็น essential fatty acids เช่น linolenic acid , linoleic acid
  • 103. Omega-3 (Linolenic Acid) • omega-3 fatty acids นำ้ามันและไขมันที่มี ecosapentaenoic acid (EPA) และ docosah exaenoic acid (DHA) เป็นส่วนประกอบหลัก จะมี Double bond ที่ตำาแหน่ง C3 นับจากกลุ่ม Methyl group • omega-3 fatty acids จะพบมากในอาหาร จำาพวกปลาและนำ้ามันพืช เช่น salmon, halibut, sardines, albacore, trout, herring, walnut, flaxseed oil, and canola oil
  • 105. Omega-6 (Linoleic Acid) • ส่วน omega-6 fatty acids ไขมันที่มีกรดไลโน เลอิก เป็นส่วนประกอบหลัก จะมี Double bond ที่ตำาแหน่ง C6 นับจากกลุ่ม Methyl grou p • omega-6 fatty acids จะพบมากในอาหาร จำาพวกปลาและนำ้ามันพืช corn, safflower, sunflower, soybean, and cottonseed oil
  • 108. What are Omega-3 and Omega-6 fatty acids? Omega-3 (ω3) and omega-6 (ω6) fatty acids are unsaturated "Essential Fatty Acids" (EFA s) that need to be included in the diet because the human metabolism cannot crea te them from other fatty acids. Since these fa tty acids are polyunsaturated, the terms n-3 PUFAs and n-6 PUFAs are applied to omeg a-3 and omega-6 fatty acids, respectively.
  • 109. Saturated and Unsaturated Fatty Acids Saturated Fatty Acid: These are fatty acids which contain the maximum possible number of hydrogen atoms. That is each carbon in the chain has two hydrogen atoms attached to it. It is "satura ted" with hydrogen atoms. Unsaturated Fatty Acid: These are fatty acids whi ch contain carbon-to-carbon "double" bonds. Ther efore since a carbon atom can have only 4 covalen t bonds, there is one less bond available for hydro gen, therefore there is one less hydrogen. (The car bons are not "saturated" with hydrogen atoms.)
  • 111.
  • 112. Fat • Fat หรือไขมัน เกิดจากกรดไขมัน 3 ตัวมา ทำาปฏิกิริยากับ glycerol มีชื่อเรียกอีกอย่าง หนึ่งว่า triacylglycerol (triglycerides)
  • 113. ไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) –  ไตรกลีเซอไรด์ คือ กรดไขมัน 3    โมเลกุล –ไตรกลีเซอไรในพืชส่วนใหญ่จะเป็น  ของเหลวและมีจุดหลอมเหลมตำ่า มัก  เรียกว่า   นำ้ามัน –ส่วนไตรกลีเซอไรด์ในสัตว์ จะเรียกว่า ไขมัน
  • 115.
  • 116.
  • 117. The Triglycerides Both fats and oils are "triglycerides". These molecules are made up of 3 long chai n "fatty acids" attached to a 3 carbon molecule called "glycerol". The carboxyl and the fatty acids are attache d to the -OH groups of the Glycerol via a "de hydration synthesis" reaction to yield an "est er" bond. Function: storage of energy - "fat" in animals, and "oils" in plants.
  • 118. ลิพิดเชิงซ้อน (compound lipid) • ลิพิดเชิงซ้อน (compound lipid) เป็นลิพิดที่มีสาร อื่นเป็น องค์ประกอบด้วย ได้แก่ ฟอสโฟลิพิด , ไกลโค ลิพิด และ ลิโพโปรตีน • ฟอสโฟลิพิด (phospholipid) เป็นลิพิดที่มีความ สำาคัญต่อเซลล์ประสาท เป็นสารประกอบที่พบในเซลล์ ทุกชนิด ส่วนใหญ่เป็นส่วนประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ นอกจากนี้ยังพบในเนื้อเยื่อประสาท ในไข่แดง ตัวอย่างของสารประกอบฟอสโฟลิพิด ได้แก่ เลซิทิน (lecithin) เซฟาลิน (cephalin) พลาสมาโลเจน (plas malogen) • ไกลโคลิพิด (glycolipid) เป็นลิพิดที่มีคาร์โบไฮเดรต เป็นองค์ประกอบอยู่ด้วย ลิพิดชนิดนี้พบที่ อวัยวะหลาย แห่ง เช่น สมอง ไต ตับ ม้าม
  • 119. Phospholipids • โครงสร้างคล้ายไขมัน (fat) แต่มีกรดไขมัน เพียง 2 ตัวที่ต่อกับ glycerol • หมู่ hydroxyl อีกหนึ่งหมู่ของ glycerol ต่อกับ หมู่ฟอสเฟต ซึ่งอาจมีหมู่เล็ก ๆ ต่อกับหมู่ ฟอสเฟต • มีคุณสมบัติ หาง (tail) ไม่ชอบนำ้า (hydrophobic) เนื่องมาจากคุณสมบัติของกรด ไขมัน และ • หัว (head) ชอบนำ้า (hydrophllic) เนื่องมาจาก คุณสมบัติของหมู่ฟอสเฟตและหมู่ที่มาเกาะกับ ฟอสเฟต
  • 120. Phospholipids • Since water is also a polar molecule the polar end of the phospholipid is "attracted" to the + ends of the water molecules. • It is said to be "hydrophillic" (or water loving). • While the neutral end of the phospholipid molecule is non-polar, i.e. is repelled by the "polar" water molecules, it is said to be "hydrophobic" (water fearing).
  • 121.
  • 124. This duel nature of the phospholipid molecule makes it very useful as a component of cell membranes. http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/lipids.htm
  • 125. อนุพันธ์ลิพิด (derived lipid) • อนุพันธ์ลิพิด (derived lipid) เป็นลิพิดที่ได้มาจา กลิพิด 2 ชนิดแรกที่กล่าวมาแล้ว เช่น กรดไขมัน ซึ่งได้ จากปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส นอกจากนี้ยังรวมถึงสเตียรอย ด์ ซึ่งเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่ไม่ใช่ลิพิด แต่เนื่องจาก มีสมบัติคล้ายลิพิด จึงถูกจัดไว้ในกลุ่มลิพิด • สารประกอบสเตียรอยด์เป็นอนุพันธ์ของไซโคลเพนทา โนเพอร์ไฮโดรฟีแนนทรีน นิวเคลียส (cyclopentanoperhydro phenanthrene nucleus) ซึ่งมีสูตรโครงสร้างแตกต่างไปจากพวกลิพิด คือ คาร์บอนของ สเตียรอยด์ เรียงกันเป็นวง 4 วงและอาจมี คาร์บอนต่อเป็นแขนงออกไปอีก แล้วแต่จะเป็นสเตีย รอยด์ชนิดใด • สเตียรอยด์มีความสำาคัญต่อสิ่งมีชีวิต เช่น ฮอร์โมนที่ สร้างจากรังไข่ อัณฑะ และต่อมต่างๆ เช่น ต่อมหมวก
  • 126. Steroids • Steroids - จัดเป็น lipids เนื่องจากมีคุณสมบัติไม่ชอบ นำ้า - เป็นสาย hydrocarbon ที่มีหมู่วงแหวน 4 วงมาเกาะ - ความแตกต่างของหมู่วงแหวนนี้ทำาให้เกิด steroids ชนิดต่าง ๆ เช่น คลอเรสเตอรอล , ฮอร์โมนชนิดต่าง ๆ
  • 129. สรุป ลิพิด   แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ได้ 3 ประเภท คือ - ลิพิดเชิงเดี่ยว    คือ ลิพิดที่เป็นเอสเทอร์ของกรดไขมันกับกลีเซ อรอลหรือแอลกอฮอล์ตัวอื่น แบ่งย่อยได้เป็น 1. ไขมันแท้ (true fat) เป็นเอสเทอร์ของกรดไขมันกับกลีเซอรอล เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า กลีเซอไรด์     ไตรกลีเซอไรด์ คือ กรด ไขมัน 3    โมเลกุล ไตรกลีเซอไรด์ในพืชส่วนใหญ่จะเป็นของเหลว    และมีจุดหลอมเหลมตำ่า มักเรียกว่า นำ้ามัน   ส่วนไตรกลีเซอไรด์ใน สัตว์ จะเรียกว่า ไขมัน 2. ขี้ผึ้งหรือไข   จะพบได้ที่ผิวนอกของเปลือกผลไม้ ผิวใบไม้ สาร เคลือบปีกแมลงและขนของสัตว์ปีก ปลาวาฬจะสะสมไขไว้ใช้เป็น พลังงานแทนไตรกลีเซอไรด์ - ลิพิดเชิงซ้อน    หมายถึง ลิพิดที่มีสารอื่นประกอบอยู่ด้วย - อนุพันธ์ลิพิด เป็นสารที่ได้จากการย่อยสลายลิพิดทั้ง 2 ประเภท  ที่สำาคัญ ได้แก่ กรดไขมัน กลีเซอรอล 1. กรดไขมัน  สูตรทั่วไปือ R-COOH แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ -  กรดไขมันอิ่มตัว - กรดไขมันไม่อิ่มตัว 2. สเตตอรอยด์  เป็นอนุพันธ์ของลิพิดที่สำาคัญคือ ฮอร์โมนเพศ   
  • 130. ความสำาคัญของ lipids ต่อสิ่งมี ชีวิต • เป็นโครงสร้างของร่างกาย ปกป้องร่างกายจาก แรงภายนอก ปกป้องอวัยวะภายในที่มีความ สำาคัญ • ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย • ช่วยทำาให้ผมและขนมีสุขภาพดี • มีบทบาทในการดูดซึมวิตามิน (A, D, E, K) • ให้พลังงาน • ฮอร์โมน
  • 132.
  • 134. Nucleic Acids • Nucleic Acids are macromolecular structures which store and express all the information necessary for building and mai ntaining life. • DNA (DeoxyriboNucleic Acid) is considered as the repository of the genetic information. • RNAs (RiboNucleic Acids) may be regarded as vectors and translators of the information
  • 135. Nucleoside = base + sugar Nucleotide = base + sugar + phosphate group
  • 137. Nucleotides • Nucleotides : monomers of nucleic acids. • All nucleic acids consist of many nucleotides bonded together. • 1. Sugar: 5-carbon (Pentose) • 2. Phosphate group • 3. Nitrogen base
  • 138. 1. Sugar: 5-carbon (Pentose) • Note the absence and presence of the hydroxyl (-OH) group on the 2’ carbon in the sugars from DNA and RNA, respectively
  • 139.
  • 142. A Nucleotide consists of : • a nitrogenous base: purine (Adenine (A) or Guanine (G)) or pyrimidine (Cytosine (C) or Thymine (T) (or Uracil (U)in RNA). • a sugar : Deoxyribose (DNA) or Ribose (RNA). • a phosphate group
  • 149. Think
  • 150. DNA and RNA DNA Nucleotides • a) Sugar = deoxyribose • b) Double helix form: two intertwined chains (double stranded) • Specific base pairing, complementary Guanine (G) - Cytosine (C) Adenine(A) - Thymine (T) RNA Nucleotides • a) Sugar = ribose • b) Single stranded helix • c) Uracil (U) replaces thymine (T) in RNA Uracil (U) - Adenine (A) Guanine (G) - Cytosine (C)
  • 154. วิตามิน (vitamin) วัตถุประสงค์ของการใช้วิตามิน •  ให้เพื่อเสริม เป็นการให้วิตามินบางชนิดเสริม บางสภาวะที่ร่างกายมีความต้องการวิตามินและ เกลือแร่มากกว่าปกติ เช่น หญิงตั้งครรภ์ และ ระหว่างให้นมบุตรจะมีความต้องการสารอาหาร เพิ่มขึ้น •  ให้เพื่อป้องกันการขาด เป็นอาหารเสริมในคน ที่มีความเสี่ยงต่อภาวะขาด เช่น เด็กแรกเกิด หรือผู้ป่วยโรคเรื้อรัง •  ให้เพื่อการรักษา ให้กับผู้ป่วยที่แสดงอาการ ขาด
  • 155. หน้าที่ของวิตามิน หน้าที่ของวิตามินโดยทั่วไป มีดั้งนี้ • ช่วยให้อวัยวะต่างๆ ทำางานตามปกติ • ช่วยป้องกันและต้านทานโรค • ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต • ทำาหน้าที่เป็นเอนไซม์ หรือร่วมกับเอนไซม์ใน การช่วยเร่งปฎิกิริยาเคมีในร่างกาย
  • 156. ชนิดของวิตามิน แบ่งตามคุณสมบัติในการละลายนำ้า แบ่งได้ เป็น 2 กลุ่ม คือ • วิตามินที่ละลายในนำ้า (Water soluble vitamins ) • วิตามินที่ละลายในไขมัน (Fat soluble vitamins )
  • 157. Water soluble vitamins • วิตามินบี 1 (Thiamine) • วิตามินบี 2 (Riboflavin) • วิตามินบี 3 (Niacin) • วิตามินบี 5 (Pantothenic acid) • วิตามินบี 6 (Pyridoxine) • วิตามินบี 9 , เอ็ม (Folic acid) • วิตามินบี 12 (Cobalamin) • วิตามินบี 15 (Pangamic acid) • วิตามินบี 17 (Amygdalin หรือ Laetrille) • วิตามินซี (Ascorbic acid) • วิตามินพี (Bioflavonoids) • วิตามินเอช (Biotin)
  • 158. Fat soluble vitamins • วิตามินเอ (Retinol) • วิตามินดี (Cholecalciferol) • วิตามินอี (Tocopherol) • วิตามินเอฟ • วิตามินเค • แคโรทีน • เทารีน
  • 161. Report • งานกลุ่ม (กลุ่มทำา Lab ) • เนื้อหา - vitamin - mineral • ขอบเขต (แหล่งที่พบ , ประโยชน์ , โทษ , อื่นๆ)
  • 162. Reference • http://www.wattana.ac.th/E_learning47/high_01/f oods/ • http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/c arbohydrates.htm • http://rbu.qru.ac.th/~cow/science/4031102/lesso n1/lesson1.8.html • http://www.geocities.com/vitandmin/VITAMINS.h tm • http://www.siamhealth.net/Health/ good_health_living/diet/fat.htm
  • 163. Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology Department of science St. Louis College Chachoengsao
  • 164. The carbon and these oxygens are in an acetal linkage. (The bonds are heavier an d in blue.)