SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
)
สารชีวโมเลกุล หมายถึง สารที่สิ่งมีชีวิต
สามารถนาไปใช้ในกระบวนการดารงชีวิต
จัดทาโดย
•ด.ญ. พรลดา ชัย
เจริญ
เลขที่ 18 ชั้น
ม.3/1
ครูที่ปรึกษา
•นางสาวสร้อยทิพย์ เกษมสุข
สกุณี
สารชีวโมเลกุล เป็นสารอินทรีย์ที่มีโมเลกุล
ขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโมเลกุลของ
สารทั่วไป พบในสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
สารชีว
โมเลกุล
โปรตีน
คาร์โบไฮเด
รต
ไขมัน
(ลิพิด)
กรด
นิวคลีอิก
คาร์โบไฮเดรต
คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน
มีองค์ประกอบ
หลักเป็นธาตุ
คาร์โบไฮเดรต(Carbohydrate) คือ สารอินทรีย์ที่ประกอบด้วย
ธาตุ C H และ O อัตราส่วนโดยอะตอมของ H : O = 2 :1 เช่น C
3H 6O 3 C 6H 12O 6 (C 6H 10O 5) n โดยมีหมู่คาร์บอกซาลดี
ไฮด์ (-CHO) และหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) หรือหมู่คาร์บอนิล (-CO)
และหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) เป็นหมู่ฟังก์ชัน
คาร์โบไฮเดรตสามารถแบ่งตามโครงสร้าง
ออกเป็น 3 ประเภท
คาร์โบไฮเดรต
มอนอแซ็ก
นอแซ็กคา
คาไรด์
ไดแซ็กคาไรด์
พอ
ลีแซ็กคา
คาไรด์
มอนอแซ็กคาไรด (Monosaccharides) หรือน้าตาล
โมเลกุลเดี่ยว มีสูตรทั่วไปเป น C n H2n O n ซึ่งจะมี 2
ประเภท
 - น้าตาลอัลโดส (aldoses) เป นน้าตาลที่มีหมู คาร บอกซาล
ดีไฮด เช น กลูโคส กาแลกโตส และไรโบส เป นต
น
 น้าตาลคีโตส (ketoses) เป นน้าตาลที่มีหมู คาร บอนิล
ไ ด แก ฟรุกโตส เป นต น
ไดแซ็กคาไรด (Disaccharides) หรือน้าตาลโมเลกุลคู่
ได้แก่ แลคโตส มอลโตส และซูโครส ซึ่งเกิดจากการรวมตัว
ของ Monosacharide 2 โมเลกุล โดยกาจัดน้าออกไป 1
โมเลกุล เช น ซูโครส (C12H22O11) เกิดจากกลูโคส
รวมตัวกับฟรุกโตส
พอลีแซ็กคาไรด (Polysaccharides) เช่น แป้ง
เซลลูโลส ไกลโคเจน เกิดจาก Monosacharide หลายๆ
โมเลกุลจานวนมากมายต่อรวมกันเป็นพอลิเมอร์
แบ่งตามแหล่งที่พบ
พืช
แป ง
(Starch)
เซลลูโลส
(Cellulose)
สัตว์
ไกลโคเจน (Glycogen)
แป ง (Starch)
เป็นพอลิแซ็กคาไรด์ที่เกิดจากกลูโคสจานวนมากมาเชื่อมต่อกัน มี
โครงสร้างเป็นทั้งแบบสายยาวและแบบกิ่ง เมื่อแป้งถูกความร้อนจะ
สลายเป็นเด็กซ์ตริน ซึ่งเป็นสารที่มีรสหวานเล็กน้อยและมีสมบัติแบบ
กาวจึงใช้ทากาวติดแสตมป์ และกระดาษติดผนังห้อง
เซลลูโลส (Cellulose) เป็นพอลิแซ็กคาไรด์อีกชนิดหนึ่ง
เกิดจากกลูโคสจานวนมากมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว แต่
ละสายของเซลลูโลสเรียงขนานกันไปและมีแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างสาย ทาให้มีลักษณะเป็นเส้นใย
ไกลโคเจน (Glycogen) เป็นพอลิแซ็กคาไรด์ที่ประกอบด้วย
โมเลกุลกลูโคสจานวนมากเชื่อมต่อกัน แต่ไกลโคเจนมีขนาด
ใหญ่กว่าแป้งและเซลลูโลสมาก มีโครงสร้างเป็นสายแบบกิ่ง ไกล
โคเจนพบเฉพาะในคนและสัตว์เท่านั้น ร่างกายจะเปลื่ยนกลูโคส
เป็นไกลโคเจนและเก็บสะสมไว้ในกล้ามเนื้อและตับ
สมบัติของ
คาร ์โบไฮเดรต มอนอแซ็กคาไรด
(Monosaccharides)
มีสถานะเป็นของแข็ง ละลายน้า มีรสหวาน ทาปฏิกิริยากับ
สารละลายเบเนดิกต์เกิดตะกอนสีแดงอิฐ (Cu 2O)
 ไดแซ็กคาไรด (Disaccharides)
มีสถานะเป็นของแข็ง ละลายน้า มีรสหวาน สามารถเกิดการ
ไฮโดรลิซิสได้ Monosaccharide 2 โมเลกุล และทาปฏิกิริยากับ
สารละลายเบเนดิกต์เกิดตะกอนสีแดงอิฐ (Cu 2O) ยกเว้นซูโครส
 พอลีแซ็กคาไรด (Polysaccharides)
มี สถานะเป็นของแข็ง ไม่ละลายน้า ไม่มีรสหวาน เกิดการไฮโดร
ลิซิสได้ Monosaccharide ที่เป็นกลูโคสจานวนมากมาย
การทดสอบ
คาร ์โบไฮเดรต มอนอแซ็กคาไรด์และไดแซ็กคาไรด์ซึ่งเป็น สารอินทรีย์
ที่มีหมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์ (-CHO) เมื่อต้มกับสารละลายเบเนดิกต์
(Cu 2+/ OH -)
 สารละลายเบเนดิกต์ (Benedict solution) เป็นสารละลายผสม
ระหว่าง CuSO 4 Na 2CO 3 และโซเดียมซิเตรด เป็น Cu 2+/ OH -
มีสีน้าเงิน
พอลีแซ็กคาไรด์
 แป ง : เติมสารละลายไอโอดีนจะได้ตะกอนสีน้าเงิน แต ไม
ให้ ตะกอนสีแดงกับสารละลายเบเนดิกต์
 น้าตาลโมเลกุลใหญ เช่น แป ง และสาลี ( เซลลูโลส) เมื่อ
นามาเติมสารละลายเบเนดิกซ จะไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง แต
ถ าเติมกรดแล วนามาต มจะเกิดปฎิกริยาไฮโดรลิซิส
ซึ่งสามารถเกิดตะกอนสีแดงอิฐกับสารละลายเบเนดิกซ ได
เกร็ดความรู้เพิ่มเติม
 เมื่อรับประทานพวกแป งในน้าลายจะมีเอนไซม อะไมเลส
(Amylase) จะเปลี่ยนเป นน้าตาลที่ร างกายนาไปใช ได
ถ ามีเหลือจะเก็บสะสมไว ที่ตับหรือกล ามเนื้อ
การหมัก (Fermentation) คือ กระบวนการเปลี่ยนสารอินทรีย์ใน
การที่ไม่ใช้ O 2 โดยมีสิ่งมีชีวิต เช่น ยีสต์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ได้
สารผลิตภัณฑ์ เช่น แอลกอฮอล์
 อินซูลิน (Insulin) เป็นฮอร์โมนที่มีหน้าที่ปรับกลูโคสในเลือดให้
อยู่ในระดับปกติ
 ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานที่มีอาการหนักจะต้องฉีดอินซูลินทุกวันไป
ตลอดชีวิต
 แอสปาร์แตม ( Aspartame )
เป็นสารให้ความหวานประมาณ 160 เท่าของน้าตาลทราย ใช้
เป็นน้าตาลเทียมสาหรับผู้ต้องการลดความอ้วนและผู้ป่วยที่ต้อง
ควบคุมปริมาณน้าตาลในร่างกาย
 แซ็กคาริน ( Saccharin) หรือ ขัณฑสกร
เป็นสารให้ความหวานประมาณ 300 เท่าของน้าตาลทรายนิยมใส่
ในผลไม้ดองและผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มการใช้สารนี้ต้องได้รับความ
เห็นชอบจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยาพร้อมทั้งมีคา
เตือนในฉลากว่า การใช้ผลิตภัณฑ์นี้อาจทาให้เกิดอันตรายได้
เนื่องจากสารแซ็กคารินทาให้เกิดมะเร็งในสัตว์ทดลอง
หากมีข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
จบการนาเสนอแล้วขอบคุณค่ะ

More Related Content

What's hot

เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลkruaoijaipcccr
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3sailom
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคTANIKAN KUNTAWONG
 
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)kruaoijaipcccr
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1sailom
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2nattapong01
 
Protein
ProteinProtein
Proteinsailom
 
ใบงานที่20 protein
ใบงานที่20 proteinใบงานที่20 protein
ใบงานที่20 proteinTANIKAN KUNTAWONG
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดTANIKAN KUNTAWONG
 

What's hot (20)

เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
 
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
 
Biochem 5ed
Biochem 5edBiochem 5ed
Biochem 5ed
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
 
Proteins and nucleic acids
Proteins  and nucleic acidsProteins  and nucleic acids
Proteins and nucleic acids
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
385
385385
385
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
คาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรตคาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรต
 
ใบงานที่20 protein
ใบงานที่20 proteinใบงานที่20 protein
ใบงานที่20 protein
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิด
 
Protein
Protein Protein
Protein
 
ชีวเคมี
ชีวเคมีชีวเคมี
ชีวเคมี
 

Similar to สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )

โภชนาการ
โภชนาการโภชนาการ
โภชนาการNok Tiwung
 
Biomolecule
BiomoleculeBiomolecule
BiomoleculeYow Yowa
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.Katewaree Yosyingyong
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยาwisita42
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2Wichai Likitponrak
 

Similar to สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular ) (12)

โภชนาการ
โภชนาการโภชนาการ
โภชนาการ
 
Biomolecule
BiomoleculeBiomolecule
Biomolecule
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
Bio physics period2
Bio physics period2Bio physics period2
Bio physics period2
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
Biomolecule
BiomoleculeBiomolecule
Biomolecule
 
Chemical acr56
Chemical acr56Chemical acr56
Chemical acr56
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2
 
4
44
4
 

More from PamPaul

อารยธรรมอียิปต์โบราณ
อารยธรรมอียิปต์โบราณอารยธรรมอียิปต์โบราณ
อารยธรรมอียิปต์โบราณPamPaul
 
การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอในครรภ์ 29,30
การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอในครรภ์ 29,30การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอในครรภ์ 29,30
การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอในครรภ์ 29,30PamPaul
 
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30PamPaul
 
ฟิสิกส์ ไฟฟ้าสถิต
ฟิสิกส์ ไฟฟ้าสถิต ฟิสิกส์ ไฟฟ้าสถิต
ฟิสิกส์ ไฟฟ้าสถิต PamPaul
 
English slang
English slangEnglish slang
English slangPamPaul
 
การประดับธงชาติ กลุ่ม 3
การประดับธงชาติ กลุ่ม 3การประดับธงชาติ กลุ่ม 3
การประดับธงชาติ กลุ่ม 3PamPaul
 
พระมโหสถ
พระมโหสถพระมโหสถ
พระมโหสถPamPaul
 
สังคม สถานภาพ
สังคม สถานภาพสังคม สถานภาพ
สังคม สถานภาพPamPaul
 
พรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษพรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษPamPaul
 
รวมเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม ต้น
รวมเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม ต้นรวมเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม ต้น
รวมเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม ต้นPamPaul
 
เรื่องความรุนแรง
เรื่องความรุนแรงเรื่องความรุนแรง
เรื่องความรุนแรงPamPaul
 

More from PamPaul (11)

อารยธรรมอียิปต์โบราณ
อารยธรรมอียิปต์โบราณอารยธรรมอียิปต์โบราณ
อารยธรรมอียิปต์โบราณ
 
การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอในครรภ์ 29,30
การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอในครรภ์ 29,30การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอในครรภ์ 29,30
การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอในครรภ์ 29,30
 
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
 
ฟิสิกส์ ไฟฟ้าสถิต
ฟิสิกส์ ไฟฟ้าสถิต ฟิสิกส์ ไฟฟ้าสถิต
ฟิสิกส์ ไฟฟ้าสถิต
 
English slang
English slangEnglish slang
English slang
 
การประดับธงชาติ กลุ่ม 3
การประดับธงชาติ กลุ่ม 3การประดับธงชาติ กลุ่ม 3
การประดับธงชาติ กลุ่ม 3
 
พระมโหสถ
พระมโหสถพระมโหสถ
พระมโหสถ
 
สังคม สถานภาพ
สังคม สถานภาพสังคม สถานภาพ
สังคม สถานภาพ
 
พรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษพรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษ
 
รวมเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม ต้น
รวมเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม ต้นรวมเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม ต้น
รวมเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม ต้น
 
เรื่องความรุนแรง
เรื่องความรุนแรงเรื่องความรุนแรง
เรื่องความรุนแรง
 

สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )