SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
โครงงาน
เรื่อง การเพาะเลี้ยงหอย
จัดทาโดย
นางสาวณัชชา บัวผัด เลขที่ 10 ชั้น ม.6/5
นางสาววรพรรณ เพ็ญจันทร์ เลขที่ 15 ชั้น ม.6/5
นางสาวสุภาวดี อัศวเสนา เลขที่ 18 ชั้น ม.6/5
นางสาวเกศินี บุญสมศรี เลขที่ 22 ชั้น ม.6/5
นางสาวสุชาดา วัฒนชีพ เลขที่ 24 ชั้น ม.6/5
นางสาวปรีชญา เสริฐสูงเนิน เลขที่ 26 ชั้น ม.6/5
นายณัฐวุฒิ ศรีสนชัย เลขที่ 27 ชั้น ม.6/5
นายปวีณวัช แสงโสม เลขที่ 28 ชั้น ม.6/5
นายธนากร ภูมิสิทธิ์ เลขที่ 29 ชั้น ม.6/5
นายตรีเพชร พลังนันทกุล เลขที่ 36 ชั้น ม.6/5
นาเสนอ
มิสเขมจิรา ปลงไสว
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอร์
ปีการศึกษา 2557 ภาคเรียนที่ 2
โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
เกี่ยวกับโครงงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง การเพาะเลี้ยงหอย
ผู้จัดทา นางสาวณัชชา บัวผัด เลขที่ 10 ชั้น ม.6/5
นางสาววรพรรณ เพ็ญจันทร์ เลขที่ 15 ชั้น ม.6/5
นางสาวสุภาวดี อัศวเสนา เลขที่ 18 ชั้น ม.6/5
นางสาวเกศินี บุญสมสรี เลขที่ 22 ชั้น ม.6/5
นางสาวสุชาดา วัฒนชีพ เลขที่ 24 ชั้น ม.6/5
นางสาวปรีชญา เสริฐสูงเนิน เลขที่ 26 ชั้น ม.6/5
นายณัฐวุฒิ ศรีสนชัย เลขที่ 27 ชั้น ม.6/5
นายปวีณวัช แสงโสม เลขที่ 28 ชั้น ม.6/5
นายธนากร ภูมิสิทธิ์ เลขที่ 29 ชั้น ม.6/5
นายตรีเพชร พลังนันทกุล เลขที่ 36 ชั้น ม.6/5
ครูที่ปรึกษา มิสเขมจิรา ปลงไสว
ตาแหน่ง ครูประจาวิชา
สถานศึกษา โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
ปีการศึกษา 2557
บทคัดย่อ
การจัดทาโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเรียนรู้ชีวิตชาวบ้านกลุ่มเล็กๆในพื้นที่จังหวัด
ระยองว่าเหตุใดถึงได้มีการจัดตั้งกลุ่มประมงการเลี้ยงหอยขึ้นมาและตั้งขึ้นแล้วสามารถสร้างประโยชน์อะไร
ให้กับชาวประมงนี้ได้บ้าง สามารถนาไปต่อยอดทากิจอื่นๆได้หรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจมาก
ผลการศึกษาและจัดทาโครงงานพบว่าการเลี้ยงหอยนั้นมีวิธีการดูแลและรักษาที่ซับซ้อนเป็นอย่าง
มาก หอยแต่ละชนิดจะมีวิธีการเลี้ยงดูที่ต่างกันในหลายๆด้าน อาทิเช่น ทางด้านสภาพน้า สภาพอากาศที่
เหมาะ เป็นต้น นอกไปกว่านั้นการเลี้ยงดูหอยนั้นจะต้องให้ผู้เชี่ยวชาญเลี้ยงเท่านั้น
การเลี้ยงหอยนั้นสามารถสร้างรายได้ที่ดีให้แก่ชาวบ้านในละแวกนั้นเป็นอย่างมาก สามารถมีทุน
ในการเลี้ยงเลี้ยงและมีกาไรที่ในฝากออมทรัพย์ได้อย่างต่อเนื่อง มีการแปรรูปในหอยไปใช้ทาการค่าในด้าน
ต่างๆ
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานนี้สาเร็จขึ้นได้ด้วยความกรุณาของคุณครูที่ปรึกษาโครงงานคือมิสเขมจิรา ปลงไสว และ
คุณครูท่านอื่นๆ ที่กรุณาแนะนาในการทากิจกรรม และ แนะนาการทาโครงงานในครั้งนี้ ขอบคุณนาย
ยุทธนา ยอดสุขา และ ลุงขุนศึก ที่ให้คาแนะนาเกี่ยวกับการเลี้ยงหอยแมลงภู่และประวัติความเป็นมาของ
กลุ่มประมงเรือเล็กอ่าวตากวน
สุดท้ายนี้ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาในเรื่องการเลี้ยง
หอยแมลงภู่ของผู้ที่สนใจต่อไป
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ข
กิตติกรรมประกาศ ค
สารบัญ ง
บทที่
1.บทนา
ที่มาและความสาคัญ 1
วัตถุประสงค์ 1
ขอบเขตการศึกษา 1
2.เอกสารที่เกี่ยวข้อง
การเพาะเลี้ยงหอย 2
ประเภทของการเลี้ยงหอย 2
3.วิธีการดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดาเนินงาน 4
วิธีการดาเนินงาน 4
4.ผลการดาเนินงาน 5
บรรณานุกรม 6
ภาคผนวก 7
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
การจัดทาโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเรียนรู้ชีวิตชาวบ้านกลุ่มเล็กๆในพื้นที่จังหวัด
ระยองว่าเหตุใดถึงได้มีการจัดตั้งกลุ่มประมงการเลี้ยงหอยขึ้นมาและตั้งขึ้นแล้วสามารถสร้างประโยชน์อะไร
ให้กับชาวประมงนี้ได้บ้าง สามารถนาไปต่อยอดทากิจอื่นๆได้หรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจมาก
ผลการศึกษาและจัดทาโครงงานพบว่าการเลี้ยงหอยนั้นมีวิธีการดูแลและรักษาที่ซับซ้อนเป็นอย่างมาก
หอยแต่ละชนิดจะมีวิธีการเลี้ยงดูที่ต่างกันในหลายๆด้าน อาทิเช่น ทางด้านสภาพน้า สภาพอากาศที่เหมาะ
เป็นต้น นอกไปกว่านั้นการเลี้ยงดูหอยนั้นจะต้องให้ผู้เชี่ยวชาญเลี้ยงเท่านั้น
การเลี้ยงหอยนั้นสามารถสร้างรายได้ที่ดีให้แก่ชาวบ้านในละแวกนั้นเป็นอย่างมาก สามารถมีทุนในการ
เลี้ยงเลี้ยงและมีกาไรที่ในฝากออมทรัพย์ได้อย่างต่อเนื่อง มีการแปรรูปในหอยไปใช้ทาการค่าในด้านต่างๆ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเรียนรู้วิถีชีวิตชาวประมงในจังหวัดระยอง
2. เพื่อเรียนรู้การเพาะเลี้ยงหอย
ขอบเขตของการค้นคว้า
1. สถานที่การทางาน : กลุ่มประมงเรือเล็ก อ่าวประดู่
2. ระยะเวลาการทางาน : ธันวาคม – มกราคม
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
การเพาะเลี้ยงหอย
หอยแมลงภู่
การเลือกสถานที่เลี้ยงหอยแมลงภู่
1. ควรเป็นแหล่งที่มีพันธุ์หอยแมลงภู่เกิดชุกชุมตามธรรมชาติ
2. ต้องเป็นแหล่งน้ากร่อยหรือน้าเค็มและคงสภาพความเค็มอยู่เป็นเวลานานประมาณ 7-9 เดือนใน
รอบปี
3. ควรเป็นพื้นที่ที่ปลอดภัยจากกระแสน้าและคลื่นลมแรง
4. ควรเป็นแหล่งน้าที่อยู่ห่างจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งอาจถ่ายเทน้าเสียอันเป็นพิษเป็นภัยต่อสัตว์
น้า
5. แหล่งเลี้ยงหอยควรเป็นแหล่งน้าตื้นชายฝั่ง ซึ่งมีความลึกประมาณ 3 -10 เมตร
6. แหล่งเลี้ยงหอยแมลงภู่หากมีทางเลือกควรอยู่ใกล้ตลาด การคมนาคมขนส่งได้สะดวก
ประเภทของการเลี้ยงหอย
1. การเลี้ยงแบบปักหลักล่อลูกหอย
เหมาะสมที่จะดาเนินการในพื้นที่ย่านน้าตื้นซึ่งมีความลึกประมาณ 4-6 เมตร ตามบริเวณ
ชายฝั่งทะเลที่มีสภาพเป็นอ่าวทั่วไป พื้นทะเลคั้งแต่
เส้นขอบฝั่งออกไปไม่ลาดชันเกินไป สภาพเป็นโคลน และโคลนปนทรายระดับน้าสูงสุดและต่าสุดไม่
แตกต่างกันมากนัก และมีอาหารตามธรรมชาติที่เพียงพอ
2. การเลี้ยงแบบแพ
- การถักแพเชือก ขนาด 40 x 40 ตารางเมตร
- การผูกถังทุ่น ขนาด 20 - 30 ลิตร
- การเตรียมทุ่นสมอปูน
- การเคลื่อนย้ายทุ่นสมอปูน
- การนาแพเชือกลงทะเล
3. การเลี้ยงแบบแขวนบนราวเชือก
เหมาะสาหรับแหล่งเลี้ยงที่มีระดับน้าลึกและปลอดภัยจากกระแสคลื่นลมแรงส่วนประกอบที่
สาคัญ คือ เชือกเส้นใหญ่เส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 1/2 นิ้ว
ยาวประมาณ 100 เมตร มีทุ่นผูกเป็นระยะ 2-4 เมตร เพื่อให้หอยเกาะมีระยะห่างกัน 50 เซนติเมตร ปลาย
เชือกยาวไม่เกินระดับน้าลงต่าสุดที่ปลายเชือกเส้นใหญ่ทั้งสองข้างผูก ไว้กับสมอยึดไม่ให้เคลื่อนที่ ถ้าเป็น
ทุ่นใหญ่อาจผูกเชือกคู่ก็ได้ ผลผลิตพอๆ กับการเลี้ยงหอยแบบแพ แต่วิธีการ เชื่อว่ามีความต้านทานต่อ
คลื่นลมได้ดี
4. การเลี้ยงหอยแบบตาข่ายเชือก
การเลี้ยงแบบตาข่ายเชือกสามารถเลี้ยงได้ในระดับน้าลงต่าสุด 2 เมตร และในบริเวณดินแข็งที่
ไม่สามารถปักไม้เลี้ยงหอยได้ การเลี้ยงแบบนี้มีข้อดี คือวัสดุที่ใช้เป็นวัสดุสังเคราะห์ซึ่งหาได้ง่ายตามตลาด
ทั่วไป ขั้นตอนในการเลี้ยงหอยแบบข่ายเชือก
- การเตรียมฐานเสา เสาเส้นผ่านศูนย์กลาง 150ซม. ยาว 50 ซม. ตั้งในแบบ 4 ท่อน เทปูนสูง
ประมาณ 30ซม.
- การเตรียมเสาเหล็กสวมใส่ท่อพีวีซี
- การเตรียมราวเชือก
- การเคลื่อนย้ายฐานเสา
- การวางฐานเสา
- การสวมเสาหลัก
- การขึงเชือก 14-16 มิลลิเมตร
- การวางตาข่ายเชือก
- การเก็บเกี่ยวลูกหอย
- การเสริมฐานเสา
บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในการดาเนินงาน
1. กล้องบันทึกภาพ
2. เรือ
วิธีการดาเนินงาน
1. นาเสนอแผนโครงงานและรวบรวมข้อมูลจากกาค้นคว้า
2. ลงพื้นที่เพื่อทาการสอบถามชาวประมงและลงสารวจวิธีการเลี้ยงดูหอยวิธีต่างๆ
3. สอบถามการค่าและธุรกิจเกี่ยวกับหอย
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
จากการศึกษาในครั้งนี้ทางคณะผู้จัดทาได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงและการรักษา ด้วยวิธีต่างๆ
เรียนรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิตของชาวประมงว่ามีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย พอเพียง สามารถเลี้ยงครอบครัวได้ ได้
เรียนรู้เกี่ยวกับการค้าขายธุรกิจเกี่ยวกับหอย ที่สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนเป็นอย่างมาก ทาให้คนใน
ชุมชนนั้น มีรายได้ที่พอเพียงและเงินฝากอย่างต่อเนื่อง
บรรณานุกรม
การเลี้ยงหอย สืบค้นเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.2558
http://www.nicaonline.com/new-15.htm
ภาคผนวก
Dooshell
Dooshell
Dooshell

More Related Content

What's hot

คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพการเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพYaowaluck Promdee
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอนKobwit Piriyawat
 
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศแบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศkruuni
 
ตัวละครในกัณฑ์ชูชก
ตัวละครในกัณฑ์ชูชกตัวละครในกัณฑ์ชูชก
ตัวละครในกัณฑ์ชูชกnnbtt
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันPannaray Kaewmarueang
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5Puet Mp
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตThanawut Rattanadon
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1Parich Suriya
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจPadvee Academy
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยNattha Namm
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
โครงการสนามเด็กเล่น
โครงการสนามเด็กเล่นโครงการสนามเด็กเล่น
โครงการสนามเด็กเล่นPratuan Kumjudpai
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 

What's hot (20)

คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพการเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน
 
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศแบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
 
ตัวละครในกัณฑ์ชูชก
ตัวละครในกัณฑ์ชูชกตัวละครในกัณฑ์ชูชก
ตัวละครในกัณฑ์ชูชก
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัย
 
Formations
FormationsFormations
Formations
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
โครงการสนามเด็กเล่น
โครงการสนามเด็กเล่นโครงการสนามเด็กเล่น
โครงการสนามเด็กเล่น
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 

Viewers also liked

(CV) Karen Reed
(CV) Karen Reed(CV) Karen Reed
(CV) Karen ReedKAREN REED
 
Computer Programming Grade 9 for Students
Computer Programming Grade 9 for StudentsComputer Programming Grade 9 for Students
Computer Programming Grade 9 for StudentsJayMungcal
 
Amazing samosir
Amazing samosirAmazing samosir
Amazing samosirgogo_17
 
Jual pulsa elektrik
Jual pulsa elektrikJual pulsa elektrik
Jual pulsa elektrikdianrahayu77
 
Junaid Ahmed - Resume
Junaid Ahmed - ResumeJunaid Ahmed - Resume
Junaid Ahmed - ResumeJunaid Ahmed
 

Viewers also liked (8)

KariAzevedoCV
KariAzevedoCVKariAzevedoCV
KariAzevedoCV
 
(CV) Karen Reed
(CV) Karen Reed(CV) Karen Reed
(CV) Karen Reed
 
Menambah admin page
Menambah admin pageMenambah admin page
Menambah admin page
 
CIRRICULUMEugene.DOC
CIRRICULUMEugene.DOCCIRRICULUMEugene.DOC
CIRRICULUMEugene.DOC
 
Computer Programming Grade 9 for Students
Computer Programming Grade 9 for StudentsComputer Programming Grade 9 for Students
Computer Programming Grade 9 for Students
 
Amazing samosir
Amazing samosirAmazing samosir
Amazing samosir
 
Jual pulsa elektrik
Jual pulsa elektrikJual pulsa elektrik
Jual pulsa elektrik
 
Junaid Ahmed - Resume
Junaid Ahmed - ResumeJunaid Ahmed - Resume
Junaid Ahmed - Resume
 

Similar to Dooshell

โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานtongkesmanee
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง (Green young investigator)
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง (Green young investigator)โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง (Green young investigator)
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง (Green young investigator)Sircom Smarnbua
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันพัน พัน
 
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okรายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okDhanee Chant
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...รัชศวรรณ มูลหา
 
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาโครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาNattakarntick
 
โครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาNattakarntick
 
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาPandora Fern
 
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาNattakarntick
 
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาPandora Fern
 
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาโครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาNattakarntick
 
โครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spitโครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spitsledped39
 

Similar to Dooshell (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
Koy
KoyKoy
Koy
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง (Green young investigator)
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง (Green young investigator)โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง (Green young investigator)
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง (Green young investigator)
 
Myteacher54
Myteacher54Myteacher54
Myteacher54
 
Myteacher54
Myteacher54Myteacher54
Myteacher54
 
krongkan
krongkankrongkan
krongkan
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
 
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okรายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
 
Focus5
Focus5Focus5
Focus5
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
 
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาโครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
 
โครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
 
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
 
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาโครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
 
โครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spitโครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spit
 

Dooshell

  • 1. โครงงาน เรื่อง การเพาะเลี้ยงหอย จัดทาโดย นางสาวณัชชา บัวผัด เลขที่ 10 ชั้น ม.6/5 นางสาววรพรรณ เพ็ญจันทร์ เลขที่ 15 ชั้น ม.6/5 นางสาวสุภาวดี อัศวเสนา เลขที่ 18 ชั้น ม.6/5 นางสาวเกศินี บุญสมศรี เลขที่ 22 ชั้น ม.6/5 นางสาวสุชาดา วัฒนชีพ เลขที่ 24 ชั้น ม.6/5 นางสาวปรีชญา เสริฐสูงเนิน เลขที่ 26 ชั้น ม.6/5 นายณัฐวุฒิ ศรีสนชัย เลขที่ 27 ชั้น ม.6/5 นายปวีณวัช แสงโสม เลขที่ 28 ชั้น ม.6/5 นายธนากร ภูมิสิทธิ์ เลขที่ 29 ชั้น ม.6/5 นายตรีเพชร พลังนันทกุล เลขที่ 36 ชั้น ม.6/5 นาเสนอ มิสเขมจิรา ปลงไสว รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2557 ภาคเรียนที่ 2 โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
  • 2. เกี่ยวกับโครงงาน โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การเพาะเลี้ยงหอย ผู้จัดทา นางสาวณัชชา บัวผัด เลขที่ 10 ชั้น ม.6/5 นางสาววรพรรณ เพ็ญจันทร์ เลขที่ 15 ชั้น ม.6/5 นางสาวสุภาวดี อัศวเสนา เลขที่ 18 ชั้น ม.6/5 นางสาวเกศินี บุญสมสรี เลขที่ 22 ชั้น ม.6/5 นางสาวสุชาดา วัฒนชีพ เลขที่ 24 ชั้น ม.6/5 นางสาวปรีชญา เสริฐสูงเนิน เลขที่ 26 ชั้น ม.6/5 นายณัฐวุฒิ ศรีสนชัย เลขที่ 27 ชั้น ม.6/5 นายปวีณวัช แสงโสม เลขที่ 28 ชั้น ม.6/5 นายธนากร ภูมิสิทธิ์ เลขที่ 29 ชั้น ม.6/5 นายตรีเพชร พลังนันทกุล เลขที่ 36 ชั้น ม.6/5 ครูที่ปรึกษา มิสเขมจิรา ปลงไสว ตาแหน่ง ครูประจาวิชา สถานศึกษา โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง ปีการศึกษา 2557 บทคัดย่อ การจัดทาโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเรียนรู้ชีวิตชาวบ้านกลุ่มเล็กๆในพื้นที่จังหวัด ระยองว่าเหตุใดถึงได้มีการจัดตั้งกลุ่มประมงการเลี้ยงหอยขึ้นมาและตั้งขึ้นแล้วสามารถสร้างประโยชน์อะไร ให้กับชาวประมงนี้ได้บ้าง สามารถนาไปต่อยอดทากิจอื่นๆได้หรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจมาก ผลการศึกษาและจัดทาโครงงานพบว่าการเลี้ยงหอยนั้นมีวิธีการดูแลและรักษาที่ซับซ้อนเป็นอย่าง มาก หอยแต่ละชนิดจะมีวิธีการเลี้ยงดูที่ต่างกันในหลายๆด้าน อาทิเช่น ทางด้านสภาพน้า สภาพอากาศที่ เหมาะ เป็นต้น นอกไปกว่านั้นการเลี้ยงดูหอยนั้นจะต้องให้ผู้เชี่ยวชาญเลี้ยงเท่านั้น การเลี้ยงหอยนั้นสามารถสร้างรายได้ที่ดีให้แก่ชาวบ้านในละแวกนั้นเป็นอย่างมาก สามารถมีทุน ในการเลี้ยงเลี้ยงและมีกาไรที่ในฝากออมทรัพย์ได้อย่างต่อเนื่อง มีการแปรรูปในหอยไปใช้ทาการค่าในด้าน ต่างๆ
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานนี้สาเร็จขึ้นได้ด้วยความกรุณาของคุณครูที่ปรึกษาโครงงานคือมิสเขมจิรา ปลงไสว และ คุณครูท่านอื่นๆ ที่กรุณาแนะนาในการทากิจกรรม และ แนะนาการทาโครงงานในครั้งนี้ ขอบคุณนาย ยุทธนา ยอดสุขา และ ลุงขุนศึก ที่ให้คาแนะนาเกี่ยวกับการเลี้ยงหอยแมลงภู่และประวัติความเป็นมาของ กลุ่มประมงเรือเล็กอ่าวตากวน สุดท้ายนี้ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาในเรื่องการเลี้ยง หอยแมลงภู่ของผู้ที่สนใจต่อไป คณะผู้จัดทา
  • 4. สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ข กิตติกรรมประกาศ ค สารบัญ ง บทที่ 1.บทนา ที่มาและความสาคัญ 1 วัตถุประสงค์ 1 ขอบเขตการศึกษา 1 2.เอกสารที่เกี่ยวข้อง การเพาะเลี้ยงหอย 2 ประเภทของการเลี้ยงหอย 2 3.วิธีการดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดาเนินงาน 4 วิธีการดาเนินงาน 4 4.ผลการดาเนินงาน 5 บรรณานุกรม 6 ภาคผนวก 7
  • 5. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ การจัดทาโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเรียนรู้ชีวิตชาวบ้านกลุ่มเล็กๆในพื้นที่จังหวัด ระยองว่าเหตุใดถึงได้มีการจัดตั้งกลุ่มประมงการเลี้ยงหอยขึ้นมาและตั้งขึ้นแล้วสามารถสร้างประโยชน์อะไร ให้กับชาวประมงนี้ได้บ้าง สามารถนาไปต่อยอดทากิจอื่นๆได้หรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจมาก ผลการศึกษาและจัดทาโครงงานพบว่าการเลี้ยงหอยนั้นมีวิธีการดูแลและรักษาที่ซับซ้อนเป็นอย่างมาก หอยแต่ละชนิดจะมีวิธีการเลี้ยงดูที่ต่างกันในหลายๆด้าน อาทิเช่น ทางด้านสภาพน้า สภาพอากาศที่เหมาะ เป็นต้น นอกไปกว่านั้นการเลี้ยงดูหอยนั้นจะต้องให้ผู้เชี่ยวชาญเลี้ยงเท่านั้น การเลี้ยงหอยนั้นสามารถสร้างรายได้ที่ดีให้แก่ชาวบ้านในละแวกนั้นเป็นอย่างมาก สามารถมีทุนในการ เลี้ยงเลี้ยงและมีกาไรที่ในฝากออมทรัพย์ได้อย่างต่อเนื่อง มีการแปรรูปในหอยไปใช้ทาการค่าในด้านต่างๆ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเรียนรู้วิถีชีวิตชาวประมงในจังหวัดระยอง 2. เพื่อเรียนรู้การเพาะเลี้ยงหอย ขอบเขตของการค้นคว้า 1. สถานที่การทางาน : กลุ่มประมงเรือเล็ก อ่าวประดู่ 2. ระยะเวลาการทางาน : ธันวาคม – มกราคม
  • 6. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การเพาะเลี้ยงหอย หอยแมลงภู่ การเลือกสถานที่เลี้ยงหอยแมลงภู่ 1. ควรเป็นแหล่งที่มีพันธุ์หอยแมลงภู่เกิดชุกชุมตามธรรมชาติ 2. ต้องเป็นแหล่งน้ากร่อยหรือน้าเค็มและคงสภาพความเค็มอยู่เป็นเวลานานประมาณ 7-9 เดือนใน รอบปี 3. ควรเป็นพื้นที่ที่ปลอดภัยจากกระแสน้าและคลื่นลมแรง 4. ควรเป็นแหล่งน้าที่อยู่ห่างจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งอาจถ่ายเทน้าเสียอันเป็นพิษเป็นภัยต่อสัตว์ น้า 5. แหล่งเลี้ยงหอยควรเป็นแหล่งน้าตื้นชายฝั่ง ซึ่งมีความลึกประมาณ 3 -10 เมตร 6. แหล่งเลี้ยงหอยแมลงภู่หากมีทางเลือกควรอยู่ใกล้ตลาด การคมนาคมขนส่งได้สะดวก ประเภทของการเลี้ยงหอย 1. การเลี้ยงแบบปักหลักล่อลูกหอย เหมาะสมที่จะดาเนินการในพื้นที่ย่านน้าตื้นซึ่งมีความลึกประมาณ 4-6 เมตร ตามบริเวณ ชายฝั่งทะเลที่มีสภาพเป็นอ่าวทั่วไป พื้นทะเลคั้งแต่ เส้นขอบฝั่งออกไปไม่ลาดชันเกินไป สภาพเป็นโคลน และโคลนปนทรายระดับน้าสูงสุดและต่าสุดไม่ แตกต่างกันมากนัก และมีอาหารตามธรรมชาติที่เพียงพอ 2. การเลี้ยงแบบแพ - การถักแพเชือก ขนาด 40 x 40 ตารางเมตร - การผูกถังทุ่น ขนาด 20 - 30 ลิตร - การเตรียมทุ่นสมอปูน - การเคลื่อนย้ายทุ่นสมอปูน - การนาแพเชือกลงทะเล 3. การเลี้ยงแบบแขวนบนราวเชือก เหมาะสาหรับแหล่งเลี้ยงที่มีระดับน้าลึกและปลอดภัยจากกระแสคลื่นลมแรงส่วนประกอบที่ สาคัญ คือ เชือกเส้นใหญ่เส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 1/2 นิ้ว ยาวประมาณ 100 เมตร มีทุ่นผูกเป็นระยะ 2-4 เมตร เพื่อให้หอยเกาะมีระยะห่างกัน 50 เซนติเมตร ปลาย เชือกยาวไม่เกินระดับน้าลงต่าสุดที่ปลายเชือกเส้นใหญ่ทั้งสองข้างผูก ไว้กับสมอยึดไม่ให้เคลื่อนที่ ถ้าเป็น
  • 7. ทุ่นใหญ่อาจผูกเชือกคู่ก็ได้ ผลผลิตพอๆ กับการเลี้ยงหอยแบบแพ แต่วิธีการ เชื่อว่ามีความต้านทานต่อ คลื่นลมได้ดี 4. การเลี้ยงหอยแบบตาข่ายเชือก การเลี้ยงแบบตาข่ายเชือกสามารถเลี้ยงได้ในระดับน้าลงต่าสุด 2 เมตร และในบริเวณดินแข็งที่ ไม่สามารถปักไม้เลี้ยงหอยได้ การเลี้ยงแบบนี้มีข้อดี คือวัสดุที่ใช้เป็นวัสดุสังเคราะห์ซึ่งหาได้ง่ายตามตลาด ทั่วไป ขั้นตอนในการเลี้ยงหอยแบบข่ายเชือก - การเตรียมฐานเสา เสาเส้นผ่านศูนย์กลาง 150ซม. ยาว 50 ซม. ตั้งในแบบ 4 ท่อน เทปูนสูง ประมาณ 30ซม. - การเตรียมเสาเหล็กสวมใส่ท่อพีวีซี - การเตรียมราวเชือก - การเคลื่อนย้ายฐานเสา - การวางฐานเสา - การสวมเสาหลัก - การขึงเชือก 14-16 มิลลิเมตร - การวางตาข่ายเชือก - การเก็บเกี่ยวลูกหอย - การเสริมฐานเสา
  • 8. บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในการดาเนินงาน 1. กล้องบันทึกภาพ 2. เรือ วิธีการดาเนินงาน 1. นาเสนอแผนโครงงานและรวบรวมข้อมูลจากกาค้นคว้า 2. ลงพื้นที่เพื่อทาการสอบถามชาวประมงและลงสารวจวิธีการเลี้ยงดูหอยวิธีต่างๆ 3. สอบถามการค่าและธุรกิจเกี่ยวกับหอย
  • 9. บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน จากการศึกษาในครั้งนี้ทางคณะผู้จัดทาได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงและการรักษา ด้วยวิธีต่างๆ เรียนรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิตของชาวประมงว่ามีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย พอเพียง สามารถเลี้ยงครอบครัวได้ ได้ เรียนรู้เกี่ยวกับการค้าขายธุรกิจเกี่ยวกับหอย ที่สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนเป็นอย่างมาก ทาให้คนใน ชุมชนนั้น มีรายได้ที่พอเพียงและเงินฝากอย่างต่อเนื่อง