SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
เฟีย เจต์
ทฤษฎีเ กี่ย ว กับ พัฒ นาการ
เชาวน์ป ัญ ญาที่ผ ู้เ ขีย นเห็น ว่า มี
ประโยชน์ สำา หรับ ครู คือ ทฤษฎี
ของนัก จิต วิท ยาชาว สวิส ชื่อ เพีย
เจต์ (P  iaget) ที่จ ริง แล้ว เพีย เจต์
ได้ร ับ ปริญ ญาเอกทาง
วิท ยาศาสตร์ สาขาสัต วิท ยา ที่
มหาวิท ยาลัย Neuchatel ประเทศ
สวิส เซอร์แ ลนด์
           หลัง จากได้ร ับ ปริญ ญา
เฟียเจต์พบคำาตอบของเด็กน่าสนใจมาก โดย
เฉพาะคำาตอบของเด็กที่เยาว์วัยเพราะมักจะตอบ
ผิด แต่เมื่อเพียเจต์ได้วิเคราะห์คำาตอบที่ผิดเหล่า
นั้นก็พบว่าคำาตอบของเด็กเล็กที่ต่างไปจากคำา
ตอบของเด็กโตเพราะมีความคิดที่ต่างกัน
คุณภาพของคำาตอบของเด็กที่วัยต่างกัน มักจะ
แตกต่างกัน แต่ไม่ควรที่จะบอกว่าเด็กโตฉลาด
กว่าเด็กเล็ก หรือคำาตอบของเด็กเล็กผิด การ
ทำางานกับนายแพทย์บีเนต์ระหว่างปีค.ศ.1919
เพีย เจต์ (P  iaget) ได้ศ ึก ษา
เกี่ย วกับ พัฒ นาการทางด้า น
ความคิด ของเด็ก ว่า มีข ั้น
ตอนหรือ กระบวนการ
อย่า งไร ทฤษฎีข องเพีย เจต์
ตั้ง อยู่บ นรากฐานของทั้ง องค์
ประกอบที่เ ป็น พัน ธุก รรม
และสิ่ง แวดล้อ ม
เฟียเจท์อธิบายว่า การเรียนรู้ของ
เด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา
ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็น
ลำาดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตาม
ธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ามจาก
พัฒนาการจากขันหนึ่งไปสูอีกขั้นหนึ่ง
                 ้         ่
เพราะจะทำาให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การ
จัดประสบการณ์สงเสริมพัฒนาการของ
                   ่
เด็กในช่วงที่เด็กกำาลังจะพัฒนาไปสู่ ขั้นที่
สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไป
อย่างไรก็ตาม เพียเจต์เน้นความ
สำาคัญของการเข้าใจธรรมชาติและ
พัฒนาการของเด็กมากกว่าการ
กระตุนเด็กให้มีพฒนาการเร็วขึ้น
      ้           ั
เพียเจต์สรุปว่า พัฒนาการของเด็ก
สามารถอธิบายได้โดยลำาดับระยะ
พัฒนาทางชีววิทยาทีคงที่ แสดงให้
                    ่
ปรากฏโดยปฏิสมพันธ์ของเด็กกับสิ่ง
                ั
แวดล้อม
เพียเจต์กล่าวว่า ระหว่างระยะเวลา
ตั้งแต่ทารกจนถึงวัยรุ่น คนเราจะค่อยๆ
สามารถปรับตัวเข้ากับสิงแวดล้อมได้มาก
                          ่
ขึ้นตามลำาดับขั้น โดยเพียเจต์ได้แบ่งลำาดับ
ขั้นของพัฒนาการเชาวน์ปญญาของมนุษย์
                            ั
ไว้ 4 ขั้น ซึ่งเป็นขั้นพัฒนาการเชาวน์
ปัญญา ดังนี้
•ขั้น ที่1 ขั้น ประสาทรับ รู้แ ละการเคลื่อ นไหว
(Sensorimotor)
        แรกเกิด - 2 ขวบ
       ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรม
ของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเป็นส่วนใหญ่
ในวัยนี้เด็กแสดงออกทางด้านร่างกายให้เห็นว่ามีสติ
ปัญญาด้วยการกระทำา เด็กสามารถแก้ปญหาได้     ั
แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคำาพูด เด็กจะต้องมี
โอกาสที่จะปะทะกับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง
•ขั้น ที่2 ขั้น ก่อ นปฏิบ ต ิก ารคิด
                              ั
(P  reoperational) อายุ18 เดือ น - 7 ปี
    เด็กก่อนเข้าโรงเรียนและวัยอนุบาล มีระดับเชาวน์
ปัญญาอยู่ในขั้นนี้ เด็กวัยนี้มีโครงสร้างของสติ
ปัญญา(Structure) ที่จะใช้สญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของ
                                ั
ที่อยู่รอบๆตัว ได้ หรือ มีพัฒนาการทางด้านภาษา เด็ก
วัยนี้จะเริ่มด้วยการพูดเป็นประโยคและเรียนรู้คำาต่างๆ
เพิ่มขึ้น เด็กจะได้รู้จักคิด ขั้นนี้ แบ่งออกเป็นขั้นย่อย
อีก 2 ขั้น คือ
1.ขั้น ก่อ นเกิด สัง กัป (Preconceptual
Thought)

     เป็นขั้นพัฒนาการของเด็กอายุ 2-4 ปี เป็น
ช่วงที่เด็กเริ่มมีเหตุผลเบืองต้น สามารถจะโยง
                           ้
ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์
หรือมากกว่ามาเป็นเหตุผลเกี่ยวโยงซึ่งกันและ
กัน แต่เหตุผลของเด็กวัยนียังมีขอบเขตจำากัด
                             ้
อยู่ เพราะเด็กยังคงยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง คือ
ถือความคิดตนเองเป็นใหญ่ และมองไม่เห็น
เหตุผลของผู้อื่น ความคิดและเหตุผลของเด็ก
วัยนี้ จึงไม่คอยถูกต้องตามความเป็นจริงนัก แต่
                ่
2. ขั้น การคิด แบบญาณหยั่ง รู้ นึก ออกเองโดยไม่
ใช้เ หตุผ ล (Intuitive Thought)

   เป็นขั้นพัฒนาการของเด็ก อายุ 4-7 ปี ขั้นนี้
เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รวม
ตัวดีขึ้น เริ่มมีพัฒนาการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ แต่
ไม่แจ่มชัดนัก สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้
โดยไม่คดเตรียมล่วงหน้าไว้ก่อน รู้จักนำาความรู้
          ิ
ในสิ่งหนึงไปอธิบายหรือแก้ปัญหาอื่นและ
            ่
สามารถนำาเหตุผลทั่วๆ ไปมาสรุปแก้ปญหา โดย
                                     ั
ไม่วิเคราะห์อย่างถี่ถ้วนเสียก่อน การคิดหาเหตุผล
•ขั้น ที3 ขั้น ปฏิบ ัต ิก ารคิด ด้า นรูป ธรรม (Concrete
          ่
Operations)( อายุ 7 - 11 ปี)
   พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้
แตกต่างกันกับเด็กในขั้น Preperational มาก เด็กวัยนีจะ้
สามารถสร้างกฎเกณฑ์ และตั้งกฎเกณฑ์ ในการ แบ่งสิ่ง
แวดล้อมออกเป็นหมวดหมูได้ คือ เด็กจะสามารถทีจะอ้างอิง
                         ่                       ่
ด้วยเหตุผลและไม่ขึ้นกับการรับรู้จากรูปร่างเท่านั้น เด็กวัยนี้
สามารถแบ่งกลุ่มโดยใช้เกณฑ์หลายๆอย่าง และคิดย้อนกลับ
(Reversibility) ได้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมและความ
สัมพันธ์ของตัวเลขก็เพิ่มมากขึ้น
•ขั้น ที4 ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (F
          ่                                ormal
Operations) อายุ 12 ปีข น ไป
                          ึ้
    ในขั้นนีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาและความคิดเห็น
            ้
ของเด็กเป็นขั้นสุดยอด คือ เด็กในวัยนี้จะเริ่มคิดเป็น
ผู้ใหญ่ ความคิดแบบเด็กสิ้นสุดลง เด็กสามารถทีจะคิด
                                                ่
หาเหตุผลนอกเหนือไปจากข้อมูลที่มอยู่ สามารถทีจะคิด
                                    ี             ่
เป็นนักวิทยาศาสตร์ สามารถทีจะตั้งสมมุติฐานและ
                                ่
ทฤษฎีและเห็นว่าความจริงทีเห็นด้วยกับการรับรู้ไม่
                              ่
สำาคัญเท่ากับการคิดถึงสิ่งทีอาจเป็นไปได้(Possibility
                            ่
พัฒนาการทางการรู้คิดของเด็กในช่วงอายุ 6 ปี
แรกของชีวิต ซึ่งเพียเจต์ ได้ศึกษาไว้เป็น
ประสบการณ์ สำาคัญที่เด็กควรได้รับการส่ง
เสริม มี 6 ขั้น ได้แก่

1.ขั้นความรู้แตกต่าง (Absolute Differences)
2.ขั้นรู้สงตรงกันข้าม (Opposition)
          ิ่
3.ขั้นรู้หลายระดับ (Discrete Degree)
4.ขั้นความเปลี่ยนแปลงต่อเนื่อง (Variation)
•ขั้นรู้ผลของการกระทำา (Function)
6. ขั้นการทดแทนอย่างลงตัว (Exact
Compensation)
กระบวนการทางสติป ัญ ญามีล ัก ษณะดัง นี้

1)การซึมซับหรือการดูดซึม (assimilation)
   เป็นกระบวนการทางสมองในการรับประสบการณ์ เรื่องราว
และข้อมูลต่าง ๆ เข้ามาสะสมเก็บไว้เพือใช้ประโยชน์ต่อไป
                                    ่

2. การปรับและจัดระบบ (accommodation) คือ กระบวนการทาง
สมองในการปรับ
       ประสบการณ์เดิมและประสบการณ์ใหม่ให้เข้ากันเป็น
ระบบ

3. การเกิดความสมดุล (equilibration)
    เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นจากขั้นของการปรับ หากการปรับ
เป็นไปอย่างผสมผสานกลมกลืนก็จะมีความสมดุลขึ้น หากไม่
สามารถปรับประสบการณ์ใหม่และประสบการณ์เดิมให้เข้ากันได้
การนำา ไปใช้ใ นการจัด การศึก ษา /การสอน

1.เมือทำางานกับนักเรียน ผู้สอนควรคำานึงถึงพัฒนาการทางสติ
     ่
ปํญญาของนักเรียนดังต่อไปนี้

  1.1)นักเรียนทีมอายุเท่ากันอาจมีขั้นพัฒนาการทางสติ
                ่ ี
  ปัญญาทีแตกต่างกัน
           ่

  1.2)นักเรียนแต่ละคนจะได้รับประสบการณ์ 2 แบบคือ
     1.2.1>ประสบการณ์ทางกายภาพ (physical experiences)
            จะเกิดขึ้นเมือนักเรียนแต่ละคนได้ปฏิสัมพันธ์กบ
                         ่                              ั
     วัตถุต่าง ในสภาพแวดล้อม         โดยตรง
     1.2.2>ประสบการณ์ทางตรรกศาสตร์
     (Logicomathematical experiences) จะเกิดขึ้น เมื่อ
     นักเรียนได้พฒนาโครงสร้างทางสติปัญญาให้ความคิด
                  ั
2.หลักสูตรที่สร้างขึ้นบนพื้นฐานทฤษฎีพัฒนาการทาง
สติปญญาของเพียเจต์ ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้คอ
     ั                                          ื
   1.เน้นพัฒนาการทางสติปญญาของผู้เรียนโดยต้อง
                             ั
   เน้นให้นักเรียนใช้ศักยภาพของตนเองให้มากที่สุด
   2.เสนอการเรียนการเสนอที่ให้ผู้เรียนพบกับความ
   แปลกใหม่
   3.เน้นการเรียนรู้ต้องอาศัยกิจกรรมการค้นพบ
   4.เน้นกิจกรรมการสำารวจและการเพิ่มขยายความ
   คิดในระหว่างการเรียนการสอน
   5.ใช้กิจกรรมขัดแย้ง (cognitive conflict activities)
   โดยการรับฟังความคิดเห็นของผูอื่นนอกเหนือจาก
                                  ้
   ความคิดเห็นของตนเอง
3.การสอนทีส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนควร
           ่
ดำาเนินการดังต่อไปนี้

  1) ถามคำาถามมากกว่าการให้คำาตอบ
  2) ครูผู้สอนควรจะพูดให้นอยลง และฟังให้มากขึ้น
                            ้
  3) ควรให้เสรีภาพแก่นกเรียนทีจะเลือกเรียนกิจกรรมต่าง ๆ
                          ั      ่
  4) เมื่อนักเรียนให้เหตุผลผิด ควรถามคำาถามหรือจัด
  ประสบการณ์ให้นกเรียนใหม่
                     ั
  5) ชี้ระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของนักเรียนจากงาน
  พัฒนาการทางสติปัญญาขั้นนามธรรมเพื่อดูว่านักเรียนคิด
  อย่างไร
  6) ยอมรับความจริงทีว่า นักเรียนแต่ละคนมีอัตราพัฒนาการ
                        ่
  ทางสติปัญญาทีแตกต่างกัน
                   ่
  7) ผู้สอนต้องเข้าใจว่านักเรียนมีความสามารถเพิมขึ้นใน
                                               ่
4.ในขันประเมินผล ควรดำาเนิน
      ้
การสอนต่อไปนี้

  1) มีการทดสอบแบบการให้
  เหตุผลของนักเรียน
  2) พยายามให้นักเรียนแสดง
  เหตุผลในการตอนคำาถามนั้น ๆ
  3) ต้องช่วยเหลือนักเรียนทีมี
  พัฒนาการทางสติปญญาตำ่า
                     ั
  กว่าเพื่อร่วมชั้น

More Related Content

Viewers also liked

David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubelya035
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์ya035
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์กya035
 
Sistem Pencernaan dan Sirkulasi pada Manusia
Sistem Pencernaan dan Sirkulasi pada ManusiaSistem Pencernaan dan Sirkulasi pada Manusia
Sistem Pencernaan dan Sirkulasi pada ManusiaYukita Akira
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ya035
 
พาฟลอฟ
พาฟลอฟพาฟลอฟ
พาฟลอฟya035
 
Landasan historis, filosofis, dan sosiologis pendidikan
Landasan historis, filosofis, dan sosiologis pendidikanLandasan historis, filosofis, dan sosiologis pendidikan
Landasan historis, filosofis, dan sosiologis pendidikanYukita Akira
 
Email Marketing : usages et enjeux TIC
Email Marketing : usages et enjeux TICEmail Marketing : usages et enjeux TIC
Email Marketing : usages et enjeux TICAlain Planger
 
Original thorndike
Original thorndikeOriginal thorndike
Original thorndikeya035
 
ฟรอยด
ฟรอยด ฟรอยด
ฟรอยด ya035
 
Original kohlberg
Original kohlbergOriginal kohlberg
Original kohlbergya035
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubelya035
 
Albert bandura
Albert     banduraAlbert     bandura
Albert banduraya035
 
New microsoft power point presentation
New microsoft power point presentationNew microsoft power point presentation
New microsoft power point presentationYukita Akira
 

Viewers also liked (17)

David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubel
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์ก
 
Sistem Pencernaan dan Sirkulasi pada Manusia
Sistem Pencernaan dan Sirkulasi pada ManusiaSistem Pencernaan dan Sirkulasi pada Manusia
Sistem Pencernaan dan Sirkulasi pada Manusia
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
Fonologi
FonologiFonologi
Fonologi
 
พาฟลอฟ
พาฟลอฟพาฟลอฟ
พาฟลอฟ
 
Landasan historis, filosofis, dan sosiologis pendidikan
Landasan historis, filosofis, dan sosiologis pendidikanLandasan historis, filosofis, dan sosiologis pendidikan
Landasan historis, filosofis, dan sosiologis pendidikan
 
Email Marketing : usages et enjeux TIC
Email Marketing : usages et enjeux TICEmail Marketing : usages et enjeux TIC
Email Marketing : usages et enjeux TIC
 
Original thorndike
Original thorndikeOriginal thorndike
Original thorndike
 
ฟรอยด
ฟรอยด ฟรอยด
ฟรอยด
 
Original kohlberg
Original kohlbergOriginal kohlberg
Original kohlberg
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubel
 
Albert bandura
Albert     banduraAlbert     bandura
Albert bandura
 
New microsoft power point presentation
New microsoft power point presentationNew microsoft power point presentation
New microsoft power point presentation
 

Similar to เฟียเจท์ 1

เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1suweeda
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Sareenakache
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1maina052
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1sitipatimoh050
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1azmah055
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ai-sohyanya
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1oppalove
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1yasaka.747
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1waenalai002
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1suweeda
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1rohanee
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Surianee.011
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1oppalove
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Ameena021
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Saneetalateh
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1pattamasatun
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1yasaka.747
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1tina009
 

Similar to เฟียเจท์ 1 (20)

เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 

More from ya035

พาฟลอฟ
พาฟลอฟพาฟลอฟ
พาฟลอฟya035
 
พาฟลอฟ
พาฟลอฟพาฟลอฟ
พาฟลอฟya035
 
Ppt อ ร คส_น (1)
Ppt อ ร คส_น (1)Ppt อ ร คส_น (1)
Ppt อ ร คส_น (1)ya035
 
โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์สโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์สya035
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ya035
 
Gestalt
GestaltGestalt
Gestaltya035
 
Albert bandura
Albert     banduraAlbert     bandura
Albert banduraya035
 
Gestalt
GestaltGestalt
Gestaltya035
 
Albert bandura
Albert     banduraAlbert     bandura
Albert banduraya035
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ya035
 
โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์สโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์สya035
 
Gestalt
GestaltGestalt
Gestaltya035
 
บรู
บรูบรู
บรูya035
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurstya035
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.ya035
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1ya035
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์กya035
 
Jerome bruner copy
Jerome  bruner   copyJerome  bruner   copy
Jerome bruner copyya035
 

More from ya035 (18)

พาฟลอฟ
พาฟลอฟพาฟลอฟ
พาฟลอฟ
 
พาฟลอฟ
พาฟลอฟพาฟลอฟ
พาฟลอฟ
 
Ppt อ ร คส_น (1)
Ppt อ ร คส_น (1)Ppt อ ร คส_น (1)
Ppt อ ร คส_น (1)
 
โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์สโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
Gestalt
GestaltGestalt
Gestalt
 
Albert bandura
Albert     banduraAlbert     bandura
Albert bandura
 
Gestalt
GestaltGestalt
Gestalt
 
Albert bandura
Albert     banduraAlbert     bandura
Albert bandura
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์สโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
 
Gestalt
GestaltGestalt
Gestalt
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์ก
 
Jerome bruner copy
Jerome  bruner   copyJerome  bruner   copy
Jerome bruner copy
 

เฟียเจท์ 1

  • 2. ทฤษฎีเ กี่ย ว กับ พัฒ นาการ เชาวน์ป ัญ ญาที่ผ ู้เ ขีย นเห็น ว่า มี ประโยชน์ สำา หรับ ครู คือ ทฤษฎี ของนัก จิต วิท ยาชาว สวิส ชื่อ เพีย เจต์ (P iaget) ที่จ ริง แล้ว เพีย เจต์ ได้ร ับ ปริญ ญาเอกทาง วิท ยาศาสตร์ สาขาสัต วิท ยา ที่ มหาวิท ยาลัย Neuchatel ประเทศ สวิส เซอร์แ ลนด์ หลัง จากได้ร ับ ปริญ ญา
  • 3. เฟียเจต์พบคำาตอบของเด็กน่าสนใจมาก โดย เฉพาะคำาตอบของเด็กที่เยาว์วัยเพราะมักจะตอบ ผิด แต่เมื่อเพียเจต์ได้วิเคราะห์คำาตอบที่ผิดเหล่า นั้นก็พบว่าคำาตอบของเด็กเล็กที่ต่างไปจากคำา ตอบของเด็กโตเพราะมีความคิดที่ต่างกัน คุณภาพของคำาตอบของเด็กที่วัยต่างกัน มักจะ แตกต่างกัน แต่ไม่ควรที่จะบอกว่าเด็กโตฉลาด กว่าเด็กเล็ก หรือคำาตอบของเด็กเล็กผิด การ ทำางานกับนายแพทย์บีเนต์ระหว่างปีค.ศ.1919
  • 4. เพีย เจต์ (P iaget) ได้ศ ึก ษา เกี่ย วกับ พัฒ นาการทางด้า น ความคิด ของเด็ก ว่า มีข ั้น ตอนหรือ กระบวนการ อย่า งไร ทฤษฎีข องเพีย เจต์ ตั้ง อยู่บ นรากฐานของทั้ง องค์ ประกอบที่เ ป็น พัน ธุก รรม และสิ่ง แวดล้อ ม
  • 5. เฟียเจท์อธิบายว่า การเรียนรู้ของ เด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็น ลำาดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตาม ธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ามจาก พัฒนาการจากขันหนึ่งไปสูอีกขั้นหนึ่ง ้ ่ เพราะจะทำาให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การ จัดประสบการณ์สงเสริมพัฒนาการของ ่ เด็กในช่วงที่เด็กกำาลังจะพัฒนาไปสู่ ขั้นที่ สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไป
  • 6. อย่างไรก็ตาม เพียเจต์เน้นความ สำาคัญของการเข้าใจธรรมชาติและ พัฒนาการของเด็กมากกว่าการ กระตุนเด็กให้มีพฒนาการเร็วขึ้น ้ ั เพียเจต์สรุปว่า พัฒนาการของเด็ก สามารถอธิบายได้โดยลำาดับระยะ พัฒนาทางชีววิทยาทีคงที่ แสดงให้ ่ ปรากฏโดยปฏิสมพันธ์ของเด็กกับสิ่ง ั แวดล้อม
  • 7. เพียเจต์กล่าวว่า ระหว่างระยะเวลา ตั้งแต่ทารกจนถึงวัยรุ่น คนเราจะค่อยๆ สามารถปรับตัวเข้ากับสิงแวดล้อมได้มาก ่ ขึ้นตามลำาดับขั้น โดยเพียเจต์ได้แบ่งลำาดับ ขั้นของพัฒนาการเชาวน์ปญญาของมนุษย์ ั ไว้ 4 ขั้น ซึ่งเป็นขั้นพัฒนาการเชาวน์ ปัญญา ดังนี้
  • 8. •ขั้น ที่1 ขั้น ประสาทรับ รู้แ ละการเคลื่อ นไหว (Sensorimotor) แรกเกิด - 2 ขวบ ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรม ของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเป็นส่วนใหญ่ ในวัยนี้เด็กแสดงออกทางด้านร่างกายให้เห็นว่ามีสติ ปัญญาด้วยการกระทำา เด็กสามารถแก้ปญหาได้ ั แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคำาพูด เด็กจะต้องมี โอกาสที่จะปะทะกับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง
  • 9. •ขั้น ที่2 ขั้น ก่อ นปฏิบ ต ิก ารคิด ั (P reoperational) อายุ18 เดือ น - 7 ปี เด็กก่อนเข้าโรงเรียนและวัยอนุบาล มีระดับเชาวน์ ปัญญาอยู่ในขั้นนี้ เด็กวัยนี้มีโครงสร้างของสติ ปัญญา(Structure) ที่จะใช้สญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของ ั ที่อยู่รอบๆตัว ได้ หรือ มีพัฒนาการทางด้านภาษา เด็ก วัยนี้จะเริ่มด้วยการพูดเป็นประโยคและเรียนรู้คำาต่างๆ เพิ่มขึ้น เด็กจะได้รู้จักคิด ขั้นนี้ แบ่งออกเป็นขั้นย่อย อีก 2 ขั้น คือ
  • 10. 1.ขั้น ก่อ นเกิด สัง กัป (Preconceptual Thought) เป็นขั้นพัฒนาการของเด็กอายุ 2-4 ปี เป็น ช่วงที่เด็กเริ่มมีเหตุผลเบืองต้น สามารถจะโยง ้ ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ หรือมากกว่ามาเป็นเหตุผลเกี่ยวโยงซึ่งกันและ กัน แต่เหตุผลของเด็กวัยนียังมีขอบเขตจำากัด ้ อยู่ เพราะเด็กยังคงยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง คือ ถือความคิดตนเองเป็นใหญ่ และมองไม่เห็น เหตุผลของผู้อื่น ความคิดและเหตุผลของเด็ก วัยนี้ จึงไม่คอยถูกต้องตามความเป็นจริงนัก แต่ ่
  • 11. 2. ขั้น การคิด แบบญาณหยั่ง รู้ นึก ออกเองโดยไม่ ใช้เ หตุผ ล (Intuitive Thought) เป็นขั้นพัฒนาการของเด็ก อายุ 4-7 ปี ขั้นนี้ เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รวม ตัวดีขึ้น เริ่มมีพัฒนาการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ แต่ ไม่แจ่มชัดนัก สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ โดยไม่คดเตรียมล่วงหน้าไว้ก่อน รู้จักนำาความรู้ ิ ในสิ่งหนึงไปอธิบายหรือแก้ปัญหาอื่นและ ่ สามารถนำาเหตุผลทั่วๆ ไปมาสรุปแก้ปญหา โดย ั ไม่วิเคราะห์อย่างถี่ถ้วนเสียก่อน การคิดหาเหตุผล
  • 12. •ขั้น ที3 ขั้น ปฏิบ ัต ิก ารคิด ด้า นรูป ธรรม (Concrete ่ Operations)( อายุ 7 - 11 ปี) พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้ แตกต่างกันกับเด็กในขั้น Preperational มาก เด็กวัยนีจะ้ สามารถสร้างกฎเกณฑ์ และตั้งกฎเกณฑ์ ในการ แบ่งสิ่ง แวดล้อมออกเป็นหมวดหมูได้ คือ เด็กจะสามารถทีจะอ้างอิง ่ ่ ด้วยเหตุผลและไม่ขึ้นกับการรับรู้จากรูปร่างเท่านั้น เด็กวัยนี้ สามารถแบ่งกลุ่มโดยใช้เกณฑ์หลายๆอย่าง และคิดย้อนกลับ (Reversibility) ได้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมและความ สัมพันธ์ของตัวเลขก็เพิ่มมากขึ้น
  • 13. •ขั้น ที4 ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (F ่ ormal Operations) อายุ 12 ปีข น ไป ึ้ ในขั้นนีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาและความคิดเห็น ้ ของเด็กเป็นขั้นสุดยอด คือ เด็กในวัยนี้จะเริ่มคิดเป็น ผู้ใหญ่ ความคิดแบบเด็กสิ้นสุดลง เด็กสามารถทีจะคิด ่ หาเหตุผลนอกเหนือไปจากข้อมูลที่มอยู่ สามารถทีจะคิด ี ่ เป็นนักวิทยาศาสตร์ สามารถทีจะตั้งสมมุติฐานและ ่ ทฤษฎีและเห็นว่าความจริงทีเห็นด้วยกับการรับรู้ไม่ ่ สำาคัญเท่ากับการคิดถึงสิ่งทีอาจเป็นไปได้(Possibility ่
  • 14. พัฒนาการทางการรู้คิดของเด็กในช่วงอายุ 6 ปี แรกของชีวิต ซึ่งเพียเจต์ ได้ศึกษาไว้เป็น ประสบการณ์ สำาคัญที่เด็กควรได้รับการส่ง เสริม มี 6 ขั้น ได้แก่ 1.ขั้นความรู้แตกต่าง (Absolute Differences) 2.ขั้นรู้สงตรงกันข้าม (Opposition) ิ่ 3.ขั้นรู้หลายระดับ (Discrete Degree) 4.ขั้นความเปลี่ยนแปลงต่อเนื่อง (Variation) •ขั้นรู้ผลของการกระทำา (Function) 6. ขั้นการทดแทนอย่างลงตัว (Exact Compensation)
  • 15. กระบวนการทางสติป ัญ ญามีล ัก ษณะดัง นี้ 1)การซึมซับหรือการดูดซึม (assimilation) เป็นกระบวนการทางสมองในการรับประสบการณ์ เรื่องราว และข้อมูลต่าง ๆ เข้ามาสะสมเก็บไว้เพือใช้ประโยชน์ต่อไป ่ 2. การปรับและจัดระบบ (accommodation) คือ กระบวนการทาง สมองในการปรับ ประสบการณ์เดิมและประสบการณ์ใหม่ให้เข้ากันเป็น ระบบ 3. การเกิดความสมดุล (equilibration) เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นจากขั้นของการปรับ หากการปรับ เป็นไปอย่างผสมผสานกลมกลืนก็จะมีความสมดุลขึ้น หากไม่ สามารถปรับประสบการณ์ใหม่และประสบการณ์เดิมให้เข้ากันได้
  • 16. การนำา ไปใช้ใ นการจัด การศึก ษา /การสอน 1.เมือทำางานกับนักเรียน ผู้สอนควรคำานึงถึงพัฒนาการทางสติ ่ ปํญญาของนักเรียนดังต่อไปนี้ 1.1)นักเรียนทีมอายุเท่ากันอาจมีขั้นพัฒนาการทางสติ ่ ี ปัญญาทีแตกต่างกัน ่ 1.2)นักเรียนแต่ละคนจะได้รับประสบการณ์ 2 แบบคือ 1.2.1>ประสบการณ์ทางกายภาพ (physical experiences) จะเกิดขึ้นเมือนักเรียนแต่ละคนได้ปฏิสัมพันธ์กบ ่ ั วัตถุต่าง ในสภาพแวดล้อม โดยตรง 1.2.2>ประสบการณ์ทางตรรกศาสตร์ (Logicomathematical experiences) จะเกิดขึ้น เมื่อ นักเรียนได้พฒนาโครงสร้างทางสติปัญญาให้ความคิด ั
  • 17. 2.หลักสูตรที่สร้างขึ้นบนพื้นฐานทฤษฎีพัฒนาการทาง สติปญญาของเพียเจต์ ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้คอ ั ื 1.เน้นพัฒนาการทางสติปญญาของผู้เรียนโดยต้อง ั เน้นให้นักเรียนใช้ศักยภาพของตนเองให้มากที่สุด 2.เสนอการเรียนการเสนอที่ให้ผู้เรียนพบกับความ แปลกใหม่ 3.เน้นการเรียนรู้ต้องอาศัยกิจกรรมการค้นพบ 4.เน้นกิจกรรมการสำารวจและการเพิ่มขยายความ คิดในระหว่างการเรียนการสอน 5.ใช้กิจกรรมขัดแย้ง (cognitive conflict activities) โดยการรับฟังความคิดเห็นของผูอื่นนอกเหนือจาก ้ ความคิดเห็นของตนเอง
  • 18. 3.การสอนทีส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนควร ่ ดำาเนินการดังต่อไปนี้ 1) ถามคำาถามมากกว่าการให้คำาตอบ 2) ครูผู้สอนควรจะพูดให้นอยลง และฟังให้มากขึ้น ้ 3) ควรให้เสรีภาพแก่นกเรียนทีจะเลือกเรียนกิจกรรมต่าง ๆ ั ่ 4) เมื่อนักเรียนให้เหตุผลผิด ควรถามคำาถามหรือจัด ประสบการณ์ให้นกเรียนใหม่ ั 5) ชี้ระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของนักเรียนจากงาน พัฒนาการทางสติปัญญาขั้นนามธรรมเพื่อดูว่านักเรียนคิด อย่างไร 6) ยอมรับความจริงทีว่า นักเรียนแต่ละคนมีอัตราพัฒนาการ ่ ทางสติปัญญาทีแตกต่างกัน ่ 7) ผู้สอนต้องเข้าใจว่านักเรียนมีความสามารถเพิมขึ้นใน ่
  • 19. 4.ในขันประเมินผล ควรดำาเนิน ้ การสอนต่อไปนี้ 1) มีการทดสอบแบบการให้ เหตุผลของนักเรียน 2) พยายามให้นักเรียนแสดง เหตุผลในการตอนคำาถามนั้น ๆ 3) ต้องช่วยเหลือนักเรียนทีมี พัฒนาการทางสติปญญาตำ่า ั กว่าเพื่อร่วมชั้น