SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
แม่สอด เมืองชายแดนตะวันตก
ปาณัท ทองพ่วง
ผู้ช่วยวิจัย
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เมืองแม่สอด
เมืองชายแดนตะวันตก
ปาณัท ทองพ่วง
ผู้ช่วยวิจัย
บรรณาธิการ ยุวดี คาดการณ์ไกล
กองบรรณาธิการ ณัฐธิดา เย็นบารุง อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ปก ณัฐธิดา เย็นบารุง
รูปเล่ม ณัฐธิดา เย็นบารุง
ปีที่เผยแพร่ มิถุนายน 2561
เผยแพร่โดย ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้สนับสนุน สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
1
แม่สอด เมืองชายแดนตะวันตก
ภาพที่ 1 ทิวทัศน์ของภูเขาชายแดนตะวันตกของไทยก่อนเครื่องบินลดระดับลง ณ สนามบินแม่สอด
ที่มา ปาณัท (2559)
แม่สอดเป็นเมืองชายแดนที่สาคัญที่สุดทางภาคตะวันตกของไทย ซึ่งหมายความว่าเป็นเมือง
ชายแดนที่สาคัญที่สุดระหว่างไทยกับพม่า การมองเมืองแม่สอดให้เห็นความสาคัญที่แท้จริงนั้นควรมอง
จากแผนที่ จึงจะเห็นว่าเหตุสาคัญที่ทาให้แม่สอดเจริญทางเศรษฐกิจมากกว่าเมืองอื่นๆ ตามแนว
ชายแดนไทยพม่านั้น เพราะเป็นเส้นทางที่ใกล้ที่สุดจากไทยไปยังเมืองย่างกุ้ง อดีตนครหลวง ซึ่งยังคง
เป็นเมืองหลวงทางเศรษฐกิจของพม่า ทาให้แม่สอดเป็นด่านชายแดนที่สาคัญที่สุดในการค้าขายระหว่าง
ไทยกับพม่า ด้วยศักยภาพนี้ แม่สอดจึงเป็นพื้นที่ที่รัฐบาลวางโครงการทาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ
2
1. แม่สอด : สุดยอดทาเลเชื่อมย่างกุ้ง
ภาพที่ 2 แผนที่ฝั่งตะวันตกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน
เส้นสีฟ้าในภาพแสดงเส้นทางจากแม่สอดไปยังกรุงย่างกุ้ง ระยะทาง 429 กม.
ซึ่งอยู่ใกล้บริเวณปากอ่าวมะละแหม่ง ทะเลอันดามัน
ที่มา Google
เมื่อพูดถึงแม่สอด คนไทยจะนึกถึงเมืองชายแดนทางบกที่อยู่ติดกับชายขอบด้านหนึ่งของ
ประเทศพม่า แต่ที่คนไทยไม่ทราบกันนักคือ จากแม่สอดนั้น เป็นจุดที่สะดวกที่สุดในการเดินทางโดยรถ
จากไทยไปเมืองย่างกุ้ง อดีตนครหลวงและเมืองหลวงทางเศรษฐกิจของพม่า ด้วยระยะทางประมาณ
430 กม. (พอๆ กับระยะทางกรุงเทพฯ-พิษณุโลก แม้ระยะเวลาเดินทางจะนานกว่าเป็นเท่าตัวเพราะ
ถนนยังไม่ดีนัก) จากแม่สอดมีถนนเชื่อมโดยตรงสู่ย่างกุ้ง ซึ่งเป็นเส้นทางหลักในการขนส่งสินค้าทางบก
ระหว่างไทยกับพม่า และเมื่อถึงย่างกุ้งก็จะมีถนนหลักสายต่างๆ กระจายไปสู่เมืองใหญ่ของพม่า เช่น พะ
โค มัณฑะเลย์ และเนปิดอว์ เป็นต้น แม้ว่าเราจะมีแม่สายเป็นด่านสาคัญอีกแห่งที่เชื่อมไทยกับพม่า แต่
หากดูดีๆ นอกจากแม่สายจะไกลจากกรุงเทพกว่าแม่สอดแล้ว จุดที่แม่สายเชื่อมไปสู่นั้นคือเขตรัฐฉาน
(ไทใหญ่) ซึ่งคือภาคอีสานของพม่า และเป็นดินแดนของชนกลุ่มน้อย ไม่ใช่ดินแดน “พม่าแท้” ดังนั้น จุด
ที่เชื่อมกับเขตแดนของ “พม่าจริงๆ” ซึ่งเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจของประเทศพม่า ก็คือแม่สอด แม้ว่า
ดินแดนฝั่งตรงข้ามแม่สอดจะเป็นรัฐกะเหรี่ยง ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยเช่นกัน แต่จากเลยจากรัฐกะเหรี่ยงไป
3
ก็ไม่ไกลจากย่างกุ้ง และอันที่จริงก็ไม่ไกลจากอ่าวมะละแหม่ง (Mawlamyine) ซึ่งก็คือส่วนหนึ่งของทะเล
อันดามัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอินเดียอีกที โดยสรุป ถ้าดูแผนที่แล้วแม่สอดจึงใกล้ย่างกุ้งและ
ไม่ไกลอันดามันเลย
ภาพที่ 3 ป้ายอาเภอแม่สอดระหว่างทาง
ที่มา https://f.ptcdn.info/117/005/000/1368456583-P1070186JP-o.jpg
2. เศรษฐกิจแม่สอด
แม่สอดเป็นเมืองอยู่ในแอ่งกระทะล้อมรอบด้วยภูเขา มีแม่น้าเมยเป็นตัวกั้นเขตแดนระหว่างไทย
กับพม่า ในตัวเมืองมีการปกครองระดับเทศบาลนคร สภาพเศรษฐกิจของเมืองแม่สอดมีทั้งเกษตรกรรม
อุตสาหกรรม การพาณิชย์ในตัวเมือง และการค้าชายแดน โดยด้านเกษตร มีการทาเกษตรบนที่ราบ
ระหว่างหุบเขาและเกษตรที่สูง บริเวณรอบนอกของอาเภอแม่สอดต่อเนื่องกับอาเภอใกล้เคียง เช่น
อาเภอพบพระ โดยพืชที่ปลูกกันมากได้แก่ ถั่วเหลือง ดอกกุหลาบ ดอกดาวเรือง แตงเมล่อน (ส่งออกไป
ยังประเทศญี่ปุ่น) ด้านอุตสาหกรรมก็มีโรงงานอยู่หลายแห่งในพื้นที่ ที่สาคัญคือ เป็นโรงงานประเภทผลิต
สิ่งทอ เสื้อผ้าสาเร็จรูป อาหารกระป๋อง อัญมณีและเครื่องประดับ1
ด้านการค้าพาณิชย์ในตัวเมืองก็มี
ร้านค้าและบริการใหญ่น้อย และห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่หลายแห่ง
อย่างไรก็ตาม จุดเด่นของเศรษฐกิจแม่สอดที่เป็นที่รู้จักก็คือ การเป็นเมืองการค้าชายแดนไทย-
พม่า โดยเป็นด่านชายแดนสาคัญสาหรับขนส่งสินค้าและผู้คนระหว่างไทยและพม่า โดยมีมูลค่าการค้า
1
เทศบาลนครแม่สอด http://www.nakhonmaesotcity.go.th/th/Economy.php
4
ชายแดนเพิ่มมากขึ้นทุกปี เป็นเมืองที่ชาวพม่าจากหลายเมืองในประเทศพม่า โดยเฉพาะเมืองเมียวดี
ข้ามเข้ามาเป็นแรงงาน มาจับจ่ายซื้อของ และมาท่องเที่ยวความเจริญของเมือง
สาหรับการค้าชายแดนระหว่างประเทศไทย-พม่า ไทยมีด่านการค้าชายแดนถาวรไทย-พม่า 3
ด่าน คือ ด่านศุลกากรแม่สอด จังหวัดตาก-เมียวดี ด่านศุลกากรแม่สาย จังหวัดเชียงราย-ท่าขี้เหล็ก และ
ด่านศุลกากร จังหวัดระนอง-เกาะสอง2
แต่ความใกล้ทางภูมิศาสตร์กับย่างกุ้งนี้เองทาให้แม่สอดเป็นจุด
ที่สาคัญที่สุด คือมีมูลค้าการค้า (ทั้งนาเข้า-ส่งออก) สูงสุด ในการค้าชายแดนไทยพม่า เมื่อเทียบ
กับด่านการค้าชายแดนถาวรอีกสองแห่ง ตัวอย่างเช่น ราวสองสามปีมานี้ การค้าชายแดนทั้งนาเข้าและ
ส่งออกที่แม่สายอยู่ที่ประมาณ 1 หมื่นล้านบาท และลดลงบ้างจากปีก่อนๆ3
ส่วนที่ด่านระนอง-เกาะสอง
อยู่ที่ราว 2-3 หมื่นล้านบาท4
ขณะที่แม่สอดเพิ่มขึ้นทุกปี เช่น จากปี 2556-2559 เพิ่มจาก 4 หมื่นเป็น 5
หมื่น 7 หมื่น และ 8 หมื่นล้านตามลาดับ5
อย่างไรก็ตามแม้ว่าแม่สอดจะเป็นเบอร์หนึ่งในการค้าชายแดนด้านพม่า แต่ควรกล่าวเทียบไว้ใน
ที่นี้ด้วยว่า ในการค้าชายแดนกับเพื่อนบ้านที่อยู่ติดกับเรา 4 ประเทศ คือ พม่า ลาว กัมพูชา และ
มาเลเซียนั้น การค้าด้านมาเลเซียมีมูลค่าสูงที่สุดมาโดยตลอด คือ ประมาณเกือบครึ่งหนึ่งของมูลค่า
การค้าชายแดนไทยกับเพื่อนบ้านทั้งหมด จากรายงานของกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ใน
ปี 2559 การค้าชายแดนกับเพื่อนบ้าน 4 ประเทศนี้มีมูลค่าถึงกว่า 1 ล้านล้านบาท โดยเป็นการค้ากับฝั่ง
มาเลเซียถึงเกือบร้อยละ 50 กับพม่าอยู่ที่ร้อยละ 18 กับลาวร้อยละ 20 และกับกัมพูชาร้อยละ 126
และ
หากดูเป็นรายด่าน ในปี 2559 มูลค่าการค้าโดยประมาณที่ด่านสะเดาอยู่ที่ 332,992 ล้านบาท ด่านแม่
สอด 80,696 ล้านบาท ด่านหนองคาย 64,031 ล้านบาท และด่านอรัญประเทศ 59,710 ล้านบาท ด่านที่
ยกมานี้ เป็นจุดที่มีการค้าชายแดนสูงสุดของไทยกับมาเลเซีย พม่า ลาว และกัมพูชาตามลาดับ อย่างไร
ก็ตาม หากเทียบกับด่านทั่วประเทศ การค้าชายแดนที่ด่านแม่สอดมีมูลค่าสูงเป็นลาดับที่ 3 ไม่ใช่
ลาดับที่ 2 เพราะแพ้ด่านสะเดา และด่านปาดังเบซาร์ซึ่งอันหลังมีมูลค้าการค้าอยู่ที่ 159,046 ล้านบาท
ในปี 25597
2
http://www.boi.go.th/thai/clmv/Back_up/2010_myanmar/2010_myanmar_8_1.html
3
http://www.maesaicustoms.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539389868
4
http://www.tnamcot.com/content/75817
5
http://www.danmaesot.com/im-ex.html
6
รายงานสถิติการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนของประเทศไทยปี 2557-2559 (ม.ค.-ธ.ค.) หน้า 3
http://www.dft.go.th/Portals/3/หนังสือสถิติการค้าชายแดนฯ%20ปี%2059%20(ธ.ค).pdf
7
เพิ่งอ้าง
5
นอกจากการค้าระหว่างกัน ในปัจจุบันที่พม่าเปิดประเทศทาให้ชาวพม่าบางส่วนมีฐานะทาง
เศรษฐกิจดีขึ้น มีกาลังบริโภคสินค้าและบริการมากขึ้น ส่งผลให้มีนักท่องเที่ยวชาวพม่าเดินทางมา
ท่องเที่ยว มาจับจ่ายในห้างสรรพสินค้าเกิดใหม่หลายแห่งของแม่สอด ที่มีทั้งร้านอาหารชั้นนาอย่างที่พบ
ในกรุงเทพ หรือโรงภาพยนตร์ ซึ่งสะดวกสาหรับคนพม่าแถบที่ใกล้แม่สอดมากกว่าเดินทางเข้าย่างกุ้งนัก
และถึงแม้จะเข้าย่างกุ้งก็ยังไม่สามารถหาสินค้าและบริการระดับเดียวกับที่แม่สอดได้ บางส่วนก็เดินทาง
ท่องเที่ยวต่อไปยังกรุงเทพฯ หรือจังหวัดอื่นๆ ในประเทศไทย
ภาพที่ 4 ห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่เปิดใหม่ในแม่สอด มีร้านค้าต่างๆ เช่นเดียวกับกรุงเทพไปเปิดให้บริการ
ที่มา ปาณัท (2559)
แม่สอดมีสนามบินแม่สอดเป็นสนามบินภายในประเทศ ปัจจุบันมีสายการบินนกแอร์เป็นสายการ
บินเดียวที่ให้บริการเที่ยวบินจากกรุงเทพมหานครวันละ 4 เที่ยวทุกวัน8
มีสิ่งอานวยความสะดวกแบบ
เมืองทันสมัย เช่น ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน แม็คโคร โรงภาพยนตร์ ร้านอาหาร ร้านกาแฟเกิดขึ้นใหม่
หลายแห่ง
8
http://nokair.com/content/th/destinations/maesot.aspx
6
ภาพที่ 5 สถิติมูลค่าสินค้าส่งออกจากไทยไปยังพม่า ณ ด่านศุลกากรแม่สอด จากปี 2553-2560
เพิ่มขึ้นทุกปีอยู่ที่เกือบ 8 หมื่นล้านบาทในปี 2559
ที่มา http://www.danmaesot.com/im-ex.html
ภาพที่ 6 สถิติมูลค่าสินค้านาเข้าจากพม่ามายังไทย ณ ด่านศุลกากรแม่สอด จากปี 2553-2560
อยู่ที่ราว 4 พันล้านบาท ในปี 2559
ที่มา http://www.danmaesot.com/im-ex.html
7
3. โอกาสของเมืองชายแดน : หลักการส่งเสริมกันและกัน (Complimentary) ทาง
เศรษฐกิจ
จากการเดินทางไปศึกษาเมืองชายแดนหลายแห่ง มีข้อสังเกตว่าเมืองชายแดนของไทยมีพลัง
มากกว่าเมืองชายแดนของอีกหลายๆ ประเทศ ตัวอย่างเช่น ชายแดนของประเทศในยุโรปนั้นส่วนใหญ่
ไม่ได้เป็นเมืองที่มีการค้าพลุกพล่านใหญ่โตอย่างที่เราคนไทยมักนึกว่าเป็นสภาพปกติของชายแดน แต่มี
เพียงไม้กั้นและป้ายบอกเขตแดนเท่านั้น แต่เมืองชายแดนในความเข้าใจของคนไทยคือเมืองที่อาจจะ
ใหญ่โตกว่าเมืองตอนในหลายๆ แห่งด้วยซ้าไป เพราะเป็นจุดแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างประเทศขนาด
ใหญ่ เป็นแหล่งข้ามแดนของผู้คนจากประเทศไทยและเพื่อนบ้าน และแม้แต่เป็นเมืองท่องเที่ยวที่คนไทย
คนจากประเทศเพื่อนบ้าน และคนจากประเทศอื่นๆ มาเที่ยวชมวิถีชีวิต ซื้อสินค้า และข้ามไปท่องเที่ยว
ซึ่งกันและกัน เมืองชายแดนของไทยในทุกภาคล้วนใหญ่โต มีเศรษฐกิจการค้าที่คึกคัก และแน่นอนว่าจะ
เจริญเติบโตอีกมากในอนาคต ไม่ว่าแม่สาย ทางภาคเหนือ แม่สอด ทางภาคตะวันตก ด่านปาดังเบซาร์
และด่านสะเดาทางภาคใต้ (ติดกับมาเลเซีย) หรือด่านที่หนองคายและอรัญประเทศ(ปอยเปต)ทางภาค
ตะวันออก (ติดกับลาวและกัมพูชา) ในปี 2559 ในจานวน 14 ล้านล้านบาทซึ่งเป็นจานวนเงินที่ไทยได้
จากการค้าขายกับทั่วโลกนั้น มาจากการค้าชายแดนของไทยผ่านด่านต่างๆ กับเพื่อนบ้าน 4 ประเทศที่
อยู่ติดกับเรา คือ พม่า ลาว กัมพูชา และมาเลเซีย ถึง 1 ล้านล้านบาท9
คาถามคือ เหตุใดเมืองชายแดน
ของไทยจึงมีพลัง? สาเหตุหลักน่าจะมาจากการที่เรากับประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่รอบๆ มีเศรษฐกิจ
ที่ส่งเสริมซึ่งกันและกัน
การที่มีเศรษฐกิจส่งเสริมกันหมายความว่าเรากับเพื่อนบ้านต่างมีของที่อีกฝ่ายต้องการ ซึ่งเป็น
กฎพื้นฐานที่ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนกัน คาว่า “ของ” นี้อาจหมายถึงสินค้า “ของ” นี้อาจหมายถึงคนที่
เข้ามาเป็นแรงงาน ไม่ว่าในโรงงาน ลูกจ้างในร้านอาหาร พนักงานต้อนรับในโรงแรม พนักงานเติมน้ามัน
หรืออาจหมายถึงคนที่เข้ามาท่องเที่ยว เพราะประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ติดกับเรา โดยเฉพาะพม่า ลาว
กัมพูชา และเวียดนามนั้น มีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจตามหลังเราเป็นทศวรรษ สาเหตุสาคัญคือการ
ที่เพื่อนบ้านต่างผ่านช่วงสงครามยาวนานหลายสิบปี นับจากสงครามเพื่อเอกราชในทุกประเทศที่กล่าว
มา มาสู่การปิดประเทศของพม่า และสงครามอินโดจีนกับฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกาในเวียดนาม ลาวและ
กัมพูชา ในช่วงระยะเวลาที่เพื่อนบ้านอยู่ท่ามกลางสงครามนี้ ประเทศไทยเปรียบเสมือนไข่แดงที่ตั้งอยู่
กึ่งกลางของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่เจริญเติบโตก้าวหน้าอยู่เพียงประเทศเดียว เป็นประเทศเดียวที่มี
ระบบตลาดและระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่ก้าวหน้า ขณะที่พม่าในเวลานั้นยังปกครองภายใต้ระบบ
9
http://www.dft.go.th/Portals/3/หนังสือสถิติการค้าชายแดนฯ%20ปี%2059%20(ธ.ค).pdf , หน้า 2,3
8
สังคมนิยมแบบพม่าและระบอบทหาร ส่วนอินโดจีนก็ใช้ระบอบสังคมนิยม การที่ไทยมีเศรษฐกิจที่เจริญ
กว่าทางวัตถุทาให้เพื่อนบ้านที่อยู่รายล้อมต้องเข้ามาซื้อสินค้าและบริการหลายๆ อย่างจากประเทศไทย
ไม่ว่าข้าวของเครื่องใช้ บริการทางการแพทย์ การศึกษา หรือการท่องเที่ยว
เช่นเดียวกัน ในภาพใหญ่ การเจริญเติบโตของแม่สอดก็มาจากการที่เศรษฐกิจไทยและพม่า
ส่งเสริมซึ่งกันและกัน คนพม่าเข้ามาทางานและมาเที่ยวความเจริญทันสมัยของเมือง มาซื้อของฝั่งไทย
ทั้งในตัวเมืองแม่สอดและลึกเข้าไปในแผ่นดินไทยแม้แต่กรุงเทพมหานคร ส่วนคนไทยก็ข้ามไปเที่ยวชม
วัดดูวัฒนธรรมในเมืองเมียวดีฝั่งพม่า (แม้จะในจานวนน้อยกว่า) สาหรับการค้าขาย ไทยก็ส่งสินค้า
จาพวกที่ต้องใช้เทคโนโลยีขั้นสูงกว่าที่พม่าจะผลิตเองได้ เช่น น้ามันกลั่น วัสดุก่อสร้าง และสินค้าอุปโภค
บริโภคจาพวก น้าตาลทราย โทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์ เครื่องจักรทางการเกษตร น้าอัดลมและ
เครื่องดื่ม รถจักรยานยนต์ (5 อันดับแรก) ก๊าซปิโตรเลียมเหลว น้ามันดีเซลและเบนซิน เบียร์และวิสกี
บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป เป็นต้น10
ส่วนไทยก็ซื้อสินค้าจาพวกเกษตรและประมง เช่น ถั่วลิสง โค-กระบือมีชีวิต
พริกแห้ง แร่พลวง เมล็ดงา เม็ดมะม่วงหิมพานต์ ปูม้า ปูทะเลมีชีวิต จากพม่า11
ขณะที่แรงงานพม่า ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวกะเหรี่ยง เพราะชายแดนบริเวณแม่สอดติดกับรัฐ
กะเหรี่ยง ก็เดินทางข้ามมาทางานในแม่สอดเป็นจานวนมาก ไม่ว่าเข้ามาเป็นแรงงานในโรงงาน
อุตสาหกรรม เช่น โรงงานผลิตเสื้อผ้า เข้ามาทางานในภาคบริการ เช่น เป็นลูกจ้างร้านค้า ร้านกาแฟ
เป็นพนักงานต้อนรับในโรงแรม พนักงานเติมน้ามัน แต่ไม่เพียงแต่เข้ามาเป็นแรงงาน ชาวพม่าที่ก็ร่ารวย
เข้ามาเป็นนักท่องเที่ยว มาพักโรงแรมที่แม่สอด มาเที่ยวความเจริญของเมือง มาเที่ยวห้างสรรพสินค้า
มาใช้บริการสวนอาหาร ร้านอาหาร มาชมภาพยนตร์ในโรงภาพยนตร์ มาคาเฟ่ มารักษาพยาบาล ใน
โรงพยาบาลที่แม่สอด เป็นต้น
10
จานวนสินค้าลาดับต้นๆ ที่มีมูลค่าการส่งออกไปยังพม่า ณ ด่านศุลกากรแม่สอด มากที่สุด
http://www.danmaesot.com/25-export.html
11
จานวนสินค้าลาดับต้นๆ ที่มีมูลค่าการนาเข้าจากพม่า ณ ด่านศุลกากรแม่สอด มากที่สุด
http://www.danmaesot.com/25-import.html
9
ภาพที่ 7 ชาวพม่ามาใช้บริการคาเฟ่ในแม่สอด
ที่มา ปาณัท (2559)
ภาพที่ 8 เมียวดีคอมเพล็กซ์
ห้างสรรพสินค้าที่มีคนไทยเป็นเจ้าของเปิดฝั่งตรงข้ามกับท่าสิบ มีเรือข้ามฟากแม้น้าเมยให้บริการ
ที่มา https://stayth.com
10
ความที่เศรษฐกิจแม่สอดและพม่าแตกต่างและส่งเสริมกันและกัน แม่สอดจึงยังจะเจริญเติบโตไป
ได้อีกมาก ตัวชี้วัดง่ายที่สุดคือ ขณะนี้มีโครงการขยายสนามบินแม่สอดที่กาลังอยู่ในระหว่างการ
ดาเนินงาน และการสร้างสะพานมิตรภาพไทยพม่าแห่งที่สอง โอกาสที่ใหญ่ที่สุดของแม่สอดคือการที่
พม่าได้เปิดประเทศ (นับตั้งแต่เริ่มกระบวนการเปลี่ยนผ่านมาสู่รัฐบาลพลเรือนในปี 2011) ทาให้
เศรษฐกิจพม่าเติบโตแบบก้าวกระโดด (GDP โตขึ้นสิบเท่านับจากปี 200012
) พม่าในเวลานี้จึงต้องการ
สินค้าทั้งอุปโภคบริโภค พลังงาน และวัสดุก่อสร้างจากประเทศไทยมากยิ่งขึ้น และสินค้าเหล่านี้ก็ต้อง
ขนส่งผ่านชายแดนที่แม่สอด เพราะใกล้ที่สุดในการขนส่งไปยังนครย่างกุ้งของพม่าโดยตรง ดังนั้น ธุรกิจ
หนึ่งที่กาลังเติบโตมากในแม่สอดอยู่ในเวลานี้คือธุรกิจขนส่งสินค้า (Shipping) ผ่านรถบรรทุก ในเมื่อย่าง
กุ้งเป็นเมืองที่จะรวยขึ้นมาเป็นอันดับแรกสุดของพม่า แม่สอดก็จะเป็นเมืองของไทยที่ได้รับโอกาสเป็น
อันดับแรกจากการเติบโตของประเทศพม่า ซึ่งเป็นประเทศที่มีศักยภาพในการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง
มาก เพราะมีประชากรจานวนมาก (56 ล้านคน จากข้อมูลของ CIA World Factbook)13
ตลาด
ภายในประเทศใหญ่ มีทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมอุดมสมบูรณ์ จึงมีโอกาสในการขยายตัวอีกมาก
4. แม่สอดกับโครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของรัฐบาล
ในปี 2558 คณะกรรมการนโยบายพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (กพน.) ภายใต้รัฐบาล คสช. ได้
กาหนดเขตเศรษฐกิจพิเศษเป็น 2 ระยะ โดยเขตเศรษฐกิจพิเศษระยะที่ 1 (หมายถึงมีความพร้อมก่อน)
มี 5 แห่งคือ เขตเศรษฐกิจพิเศษตราด ตาก มุกดาหาร สระแก้ว และสงขลา ทั้ง 5 แห่งนี้ถูกกาหนดเป็น
เขตเศรษฐกิจพิเศษในฐานะเมืองการค้าชายแดนเพื่อเชื่อมกับโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษฝั่งตรงข้ามใน
ประเทศเพื่อนบ้าน
12
http://data.worldbank.org/country/myanmar
13
https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/bm.html#
11
ภาพที่ 9 พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษระยะแรก และระยะที่ 2 ของรัฐบาล
ที่มา กรุงเทพธุรกิจ
ในส่วนของเขตเศรษฐกิจพิเศษตากนั้น ครอบคลุมพื้นที่อาเภอแม่สอด พบพระ และแม่ระมาด
โดยมีเมืองแม่สอด และโดยเฉพาะด่านชายแดนแม่สอด-เมียวดี เป็นหัวใจ โดยฝั่งจังหวัดเมียวดีของพม่า
นั้นได้มีการพัฒนาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษไปล่วงหน้าแล้วตั้งแต่ปี 200914
เพื่อดึงดูดการลงทุน โดยผู้ที่
เข้าไปลงทุนรายใหญ่ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น และไทย
โครงการสาคัญในการพัฒนาแม่สอดเป็นเมืองเศรษฐกิจพิเศษคือ การสร้างสะพานมิตรภาพไทย-
พม่าแห่งที่ 2 บริเวณ ต.ท่าสายลวด อ.แม่สอด ข้ามไปยังฝั่งจังหวัดเมียวดี รัฐกะเหรี่ยง และการปรับปรุง
ขยายท่าอากาศยานแม่สอดจากสนามบินภายในประเทศ ให้เป็นสนามบินนานาชาติ
14
พม่ายกเมียวดี เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
http://www.uasean.com/kerobow01/1285
12
ภาพที่ 10 สะพานมิตรภาพไทย-พม่า แห่งที่ 2 ข้ามแม่น้าเมย ก่อสร้างใกล้แล้วเสร็จ
ที่มา https://www.facebook.com/โครงการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-พม่า-ข้ามแม่น้าเมยแห่งที่-2-
1014012455333086/
ภาพที่ 11 ป้ายแสดงโครงการปรับปรุงขยายท่าอากาศยานแม่สอด
ณ อาคารผู้โดยสารหลังปัจจุบันของท่าอากาศยานแม่สอด
ที่มา ปาณัท (2559)
13
ภาพที่ 12 แบบจาลองอาคารผู้โดยสารหลังใหม่ของท่าอากาศยานแม่สอด
ณ อาคารผู้โดยสารท่าอากาศยานแม่สอด
ที่มา ปาณัท (2559)
ภาพที่ 13 งานปรับปรุงขยายสนามบินแม่สอด จะเห็นรถกาลังไถปรับพื้นที่ข้างรันเวย์ ปี 2559
ที่มา ปาณัท (2559)
14
5. สังคมพหุวัฒนธรรมในแม่สอด : มุสลิมแม่สอด
แม้ว่าแม่สอดในวันนี้จะเป็นที่สนใจของผู้คนจากมิติของความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจเป็น
หลัก อย่างไรก็ตามก็ไม่ได้มีแต่เรื่องเงินๆ ทองๆ เท่านั้นที่น่าสนใจในแม่สอด ว่ากันทางสังคม สังคมของ
อาเภอแม่สอดนั้นเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมที่มีหลากหลายอย่างมาก มีผู้คนหลายชาติพันธุ์ทั้ง จีน ไทย
เหนือ ไทยใหญ่ กะเหรี่ยง มอญ พม่า มลายู และชาติพันธุ์อื่นๆ ที่ย้ายถิ่นฐานเข้ามาอาศัย นอกจากนี้
ผู้คนยังนับถือหลากหลายศาสนาแตกต่างกันไป ทั้งพุทธ คริสต์ ซิกซ์ ฮินดู และอิสลาม แม้จะมีความ
แตกต่างกันทั้งชาติพันธุ์และศาสนาแต่สามารถอยู่ร่วมกันได้ จนบางวัฒนธรรมที่เคยเป็นวัฒนธรรม
เฉพาะกลุ่มได้กลมกลืนกลายเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่น
เมื่อพูดถึงในเทศบาลเมืองแม่สอดแล้ว กลุ่มคนที่มีประชากรและอัตลักษณ์ที่ชัดเจนมากกลุ่มหนึ่ง
ก็คือกลุ่มมุสลิมหรือผู้นับถือศาสนาอิสลาม ในเขตเทศบาลอาเภอแม่สอดมีชุมชนอยู่ราว 20 ชุมชน โดย
ชุมชนมุสลิมนั้นเป็นชุมชนที่มีประชากรมากที่สุดราว 22,000 คน ซึ่งกลุ่มชนมุสลิมนี้สามารถแบ่งได้เป็น
สามกลุ่มย่อย กลุ่มแรกคือที่กลุ่มมุสลิมที่บุกเบิกอพยพเข้ามายังอาเภอแม่สอดเมื่อกว่าร้อยปีที่แล้วครั้งที่
พม่ายังเป็นอาณานิคมของอังกฤษ โดยเดินทางมาจากอินเดีย บังกลาเทศ และปากีสถาน เพื่อเข้ามา
ค้าขายยังพม่าในเขตย่างกุ้ง มะละแหม่ง เมียวดี และสุดท้ายข้ามแม่น้าเมยเข้ามาตั้งรกรากยังอาเภอแม่
สอด เมื่อมีมุสลิมอพยพเข้ามามากขึ้นจึงร่วมกันสร้าง ‘มัสยิดนูรุ้ลอิสลาม’ อันเป็นมัสยิดแห่งแรกเพื่อเป็น
ศูนย์กลางทางด้านศาสนาและศูนย์รวมของคนในชุมชน ประมาณกันว่าจนถึงปัจจุบันมีมุสลิมกลุ่มนี้อยู่
ราว 7,000 คน
ส่วนมุสลิมกลุ่มที่สองคือกลุ่มชาวพม่าที่อพยพเข้ามาในช่วงไม่เกินสามทศวรรษที่ผ่านมาด้วย
เหตุผลต่างๆ ทั้งความยากจน ปัญหาการเมืองภายใน ปัญหาสิทธิมนุษยชน การว่างงาน ซึ่งมุสลิมพม่าที่
อพยพเข้ามานั้นมีจานวนมากกว่ากลุ่มมุสลิมดั้งเดิม โดยมีอยู่ราว 15,000 คน และสุดท้ายคือกลุ่มอื่นๆ ที่
มีอยู่ไม่มากนัก เช่น คนไทยที่ย้ายถิ่นฐานมากจากต่างจังหวัดหรือต่างอาเภอเพื่อเข้ามาทางานหาเลี้ยง
ชีพ และชาวมลายูที่เข้ามาเป็นครูสอนศาสนา
ใจกลางเมืองแม่สอดนั้นมีถนนที่เป็นย่านการค้าอยู่สามสายด้วยกัน สายหนึ่งคือถนนศรีพานิชซึ่ง
เป็นที่อยู่อาศัยของชาวมุสลิมหลากหลายชาติพันธ์มาแต่เนิ่นนาน และละแวกใกล้เคียงก็ยังเป็นชุมชนชาว
ไทยใหญ่และชาวคนไทยพุทธ ยามเช้าหลายชีวิตที่แม่สอดเริ่มต้นที่ร้านน้าชา โดยจะมีโรตีโอ่งจิ้มแกงเป็น
อาหารหลัก วัฒนธรรมการกินโรตีในช่วงเช้านี้โดยดั้งเดิมเป็นของชาวมุสลิม แต่ทุกวันนี้ได้ผสมกลมกลืน
จนกลายเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นของแม่สอดไปแล้ว อาหารเช้าแบบมุสลิมมีทั้งโรตีแผ่น ซาโมซา มลัย
และโรตีโอ่ง โดยจะกินกับแกงถั่ว แกงที่นิยมกันคือแกงอุ๊บ จุดเด่นของอาหารมุสลิมอีกประการคือแกง
ต่างๆ ที่มีอยู่หลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ ซึ่งเอกลักษณ์นี้ก็เป็นผลมาจากการที่ชาวมุสลิมแม่สอดมีพื้น
15
เพดั้งเดิมมาจากอินเดีย บังคลาเทศ และปากีสถาน ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีความโดดเด่นในด้าน
เครื่องเทศที่หลากหลาย บ้างก็นาเข้ามาจากอินเดียและพม่าอีกด้วย
ส่วนภาษาที่มุสลิมแม่สอดใช้สื่อสารกันในชีวิตประจาวันนั้นก็มีด้วยกันหลากหลายภาษา ทั้งพม่า
ไทยเหนือ ไทยกลาง อูรดู และยังมีภาษาอาหรับ ที่แม้ไม่ได้ถูกใช้ในชีวิตประจาวันนักแต่มีความจาเป็น
อย่างยิ่งต่อการปฏิบัติศาสนกิจและการเรียนรู้ศาสนา โดยเฉพาะการเรียนรู้คัมภีร์กุรอานซึ่งเป็นแม่บท
สาคัญที่สุดของศาสนาอิสลาม
ในอาเภอแม่สอดนั้นมีมัสยิดอยู่สามแห่ง ซึ่งมัสยิดที่ใหญ่ที่สุดคือมัสยิดนูรุ้ลอิสลาม อันเป็นมัสยิด
แรกที่ถูกสร้างขึ้นในอาเภอแม่สอด และมีบาแลหรืออาคารละหมาดขนาดเล็กอีกราว 10 แห่ง โดย
บทบาทหลักของมัสยิดคือการเป็นศาสนสถานที่ชาวมุสลิมจะมาร่วมกันละหมาด หากไม่ติดธุระจาเป็นใด
ๆ แล้ว มุสลิมชายสมควรที่จะไปละหมาดร่วมกันให้ได้วันละ 5 เวลา โดยเฉพาะละหมาดเที่ยงในวันศุกร์
ที่มีการเทศนาธรรมตักเตือนใจนั้นจะขาดเสียมิได้
ดังที่กล่าวไปแล้วว่ามีกลุ่มมุสลิมพม่าอพยพเข้ามายังแม่สอดด้วยความบีบคั้นต่างๆ ทั้งความ
ยากจน การเมืองภายใน สิทธิมนุษยชน การว่างงาน มีการอพยพเข้ามากและเป็นการตั้งถิ่นฐานที่
ค่อนข้างถาวร ทาให้แม่สอดเริ่มเกิดปัญหาขึ้น เช่น กลายเป็นชุมชนแออัดหรือสลัม กิจกรรมต่างๆ ของ
ชุมชนจาเป็นต้องใช้งบประมาณที่มากขึ้น แต่ชาวพม่าที่อพยพมาไม่มีส่วนร่วมในการอุดหนุน
งบประมาณ อีกทั้งแม้โดยรวมมุสลิมจะมีวิถีปฏิบัติที่คล้ายคลึงกันเพราะนับถือศาสนาอิสลามเช่นเดียวกัน
แต่ในรายละเอียดแล้วมุสลิมที่อยู่ต่างถิ่นฐานก็ย่อมวิถีชีวิตที่ต่างกันบ้างเป็นธรรมดา อาจเกิดปัญหาใน
การปรับตัวหากันเมื่อต้องอยู่ร่วมชุมชนเดียวกัน แต่ในอีกแง่หนึ่งเนื่องจากผู้ที่อพยพเข้ามานั้นเป็นผู้ที่หนี
ร้อนมาพึ่งเย็น อีกทั้งเป็นมุสลิมเช่นเดียวกัน ทาให้แง่มุมทางมนุษยธรรมยังเป็นสิ่งที่สาคัญ ฉะนั้นสิ่งใดที่
พอช่วยเหลือได้ก็ต้องเกื้อกูลกัน ทางชุมชนมุสลิมในแม่สอดจึงหวังว่าเจ้าหน้าที่ภาครัฐจะเข้ามาเยียวยา
และช่วยเหลือ เพื่อให้ชุมชนมุสลิมแม่สอดซึ่งเป็นชุมชนที่ตั้งรกรากและเป็นส่วนหนึ่งของอาเภอแม่สอด
มายาวนานจะสามารถอยู่คู่อาเภอแม่สอดต่อไปอย่างมั่นคงและยั่งยืน
6. ผลกระทบที่มากับโอกาสของแม่สอด
เช่นเดียวกับเมืองชายแดนทุกแห่ง โอกาสในการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่ก้าวกระโดดต่อจากนี้ของ
แม่สอดมาพร้อมกับผลกระทบ ซึ่งหากมีการเตรียมพร้อมจัดการที่ดีเอาไว้ ก็อาจลดหรือเลี่ยงผลกระทบ
ทางลบเหล่านี้ได้ ผลกระทบประการสาคัญที่พอจะมองเห็นในวันนี้ได้แก่ ประเด็นธุรกิจสีเทาและธุรกิจผิด
กฎหมายบริเวณชายแดน สวัสดิการที่ไม่เพียงพอของประชาชนในแม่สอด ปัญหาแรงงานและผู้อพยพ
ผิดกฎหมาย ซึ่งการแก้ปัญหาเหล่านี้และที่สาคัญคือการพัฒนาแม่สอดให้เจริญอย่างยั่งยืนนั้น สาคัญที่
ต้องทาให้ประชาชนในแม่สอด ซึ่งเป็นเจ้าของพื้นที่ ได้รับประโยชน์และป้องกันผลกระทบด้านลบจาก
16
การพัฒนาแก่พวกเขา และหนทางหนึ่งที่จะนาไปสู่การพัฒนาแม่สอดอย่างยั่งยืนก็คือการมอบอานาจ
จัดการแก่พื้นที่แม่สอดอย่างอิสระมากขึ้น ให้สมกับน้าหนักทางเศรษฐกิจและความท้าทายทางสังคมที่
เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดจากการเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ
ในประเด็นเรื่องธุรกิจสีเทา แม่สอดก็เป็นเช่นเดียวกับเมืองชายแดนอื่นๆ ที่อยู่คู่กับเศรษฐกิจสี
เทาและธุรกิจผิดกฎหมาย ไม่ว่าการเคลื่อนย้ายคนและของผ่านชายแดน สินค้าหนีภาษี คนลักลอบเข้า
เมือง ต้องไม่ลืมว่ามูลค่าการค้าชายแดนกับเพื่อนบ้านจานวน 1 ล้านล้านบาทต่อปีที่กล่าวถึงไปใน
ตอนต้นนั้น คิดเฉพาะการค้าในระบบที่ผ่านพิธีศุลกากรอย่างถูกต้องเท่านั้น แต่ยังไม่รวมการค้านอก
ระบบที่ลักลอบขนข้ามชายแดน ซึ่งหากใครได้ไปเมืองชายแดนด้วยตนเองไม่ว่าในภาคไหนๆ ก็จะพบว่า
ในความเป็นจริง การลักลอบข้ามแดนและของหนีภาษี ธุรกิจสีเทา ดารงอยู่เป็นปกติ ซึ่งรู้แต่เพียงว่ามี
มูลค่ามหาศาล แต่ไม่มีตัวเลขว่าแท้จริงเท่าไร
ในแม่สอด สินค้าหนีภาษีที่สาคัญก็มีเช่น สุรา บุหรี่ สินค้ามือสอง จากคาบอกเล่าของคนในพื้นที่
อัตราการลักลอบเข้าเมืองผิดกฎหมายที่ด่านตรวจคนเข้าเมืองชายแดนแม่สอดอยู่ที่ราว 3 ใน 4 ของ
จานวนชาวพม่าที่เข้ามาอยู่ในเมืองแม่สอด (เข้าเมืองถูกกฎหมายเพียง 1 ใน 4 ส่วนของชาวพม่าในแม่
สอด) ความเป็นเมืองชายแดนนี้ ลักษณะสาคัญคือ อานาจจากส่วนกลางแผ่ไปไม่ทั่วถึง ผู้มีอิทธิพล
ท้องถิ่นในเมืองชายแดนจึงมีบทบาทในทางเศรษฐกิจและความเป็นไปของเมืองมาก การนานโยบายใดๆ
จากส่วนกลางไปปฏิบัติจะประสบความสาเร็จไม่ได้หากไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่น
นอกจากนี้ สิ่งที่ลืมไม่ได้ของเมืองชายแดน คือความสัมพันธ์กับกลุ่มคนที่อยู่อีกฝั่งของชายแดน ไม่ว่าจะ
เป็นพม่า กะเหรี่ยง ไทใหญ่ มอญ เช่นในกรณีแม่สอด ข้าราชการในเมืองแม่สอดจาเป็นต้องสัมพันธ์
ติดต่อกับทั้งผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่นและผู้นากลุ่มกะเหรี่ยงได้ ในการประสานงานหรือทาโครงการใดๆ ให้
สาเร็จ เช่น การสร้างสะพานมิตรภาพไทย-พม่าแห่งที่ 2 ผู้มากบารมีในท้องถิ่นและผู้นาชนกลุ่มน้อยฝั่ง
ตรงข้ามนั้น หลายครั้งสาคัญต่อชีวิตผู้คนและเรื่องราวในพื้นที่ยิ่งกว่ารัฐบาลกลางที่กรุงเทพหรือย่างกุ้ง
ด้วยซ้า
นอกจากการควบคุมคนและสินค้าเข้าออกแล้ว การรักษาพยาบาลและการศึกษาก็นับว่าเป็นสิ่ง
ท้าทายสาหรับแม่สอดในวันนี้และในอนาคตเช่นกัน เพราะความท้าทายสาหรับแม่สอดที่ต่างจากเมือง
อื่นๆ คือ ประชากรในแม่สอดจะเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็วจากการอพยพเข้ามาของชาวพม่า ไม่ว่าจะเข้า
มาอาศัย มาทางาน มาเรียน มาท่องเที่ยว มาซื้อของ หรือมาเพื่อรักษาพยาบาล ดังนั้น บริการและ
สวัสดิการดูแลประชากรของแม่สอด เช่น การศึกษา และสาธารณสุข จึงจาเป็นต้องเตรียมไว้รองรับคน
กลุ่มนี้ด้วย เพื่อมิให้เกิดปัญหาตามมา เช่น คนต่างด้าวแย่งใช้บริการสาธารณสุขของไทย
17
ในภาพรวมของเรื่องการจัดการกับประชากรต่างด้าวในแม่สอดนั้น ต้องทาในแนวทางที่พยายาม
เอาคนพม่าหรือกะเหรี่ยงเหล่านี้เข้ามาเป็นกาลังของแม่สอดและของไทยมากขึ้น ต้องหลอมรวมคนพม่า
คนกะเหรี่ยง ให้มาเป็นกาลังของชาติเหมือนที่เราเคยทากับคนจีนในอดีต จนทุกวันนี้คนจีนจากที่เคยเป็น
แรงงานอพยพ เป็น “ต่างด้าว” ก็ได้กลมกลืนเป็นคนไทย และกลายเป็นกาลังของชาติ
แล้วเราจะหลอมรวมคนพม่า กะเหรี่ยงเหล่านี้เข้ามาได้อย่างไร? ในวันหนึ่งเราก็อาจจะต้องให้
สัญชาติแก่พวกเขา โดยกาหนดเกณฑ์ที่เหมาะสม เช่น ให้กับเด็กที่เกิดในประเทศไทย ให้คนพวกนี้
กลายเป็นคนไทยเชื้อสายพม่า คนไทยเชื้อสายกะเหรี่ยง เหมือนที่เรามีคนไทยเชื้อสายจีนในทุกวันนี้ ทุก
วันนี้รัฐเกี่ยงงอนเรื่องการให้สัญชาติกับแรงงานอพยพเพราะเรื่องความมั่นคงเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม เมื่อ
ดูความเป็นจริง ในเมืองชายแดนอย่างแม่สอด “คนต่างด้าวอพยพ” ที่อาศัยอยู่ในเมือง จานวนมากคือคน
ที่ทางาน อยู่ มีลูกสืบหลานจนรุ่นที่สอง หรือสามแล้ว แต่ยังมีสถานะเป็นคนนอกระบบของรัฐ ซึ่งหาก
ประเทศไทยไม่สามารถให้สัญชาติแก่เด็กที่เกิดมารุ่นที่สองหรือสามเหล่านี้ได้ พวกเขาก็อาจจะกลายเป็น
ปัญหาสังคมไปโดยปริยาย เพราะความเป็นคนนอกระบบของรัฐ ที่ไม่ได้รับการดูแลด้านสวัสดิภาพจาก
รัฐ เช่น การสาธารณสุข การศึกษา และในขณะเดียวกันก็ไม่มีหน้าที่ต่อรัฐต่อบ้านเมืองที่อยู่อาศัย เช่น
เสียภาษี เช่นกัน เมื่อรัฐกีดกันและไม่เปิดโอกาสให้คนเหล่านี้มีชีวิตที่เจริญก้าวหน้าได้ในสังคมไทย ก็
อาจจะทาให้บางคนหันไปเป็นอาชญากร หรือทาสิ่งผิดกฎหมาย กลายเป็นปัญหาสังคมไทยในระยะยาว
การจัดการเรื่องคนต่างด้าวในเมืองชายแดนและในประเทศไทยนี้ ควรเริ่มจากการยอมรับความ
เป็นจริงว่า เราไม่สามารถผลักดันคนเหล่านี้ออกไปได้ เพราะเหตุผลสาคัญคือชาติไทยไม่มีพวกเขาไม่ได้
ดังนั้น เราจึงควรเปลี่ยนกระบวนทัศน์ กลืน “คนต่างด้าว” ให้เข้ามาเป็นคนไทยที่เป็นกาลังของชาติ อย่าง
ที่เราเคยได้ทากับคนจีน คนเปอร์เซีย ลาว เขมร ญวน มาตลอดประวัติศาสตร์ชาติไทย
7. ข้อเสนอ :ให้เมืองชายแดนเป็นเมืองปกครองพิเศษที่กาหนดทิศทางของตนเอง
ไม่ใช่แค่ “เขตเศรษฐกิจพิเศษ”
ที่ผ่านมาเมืองชายแดนของไทยนั้นเจริญเติบโตขึ้นมาอย่างทุกวันนี้ได้ เพราะสภาพแวดล้อม
ไม่ใช่จากการวางแผน กล่าวคือ สภาวะที่เหลื่อมล้ากันทางการพัฒนาของเรากับประเทศเพื่อนบ้าน ทาให้
เกิดโอกาสสาหรับประเทศไทย เมืองชายแดนของไทยจึงกลายเป็นหน้าด่านการติดต่อระหว่างเรากับ
ประเทศที่อยู่รายรอบตลอดหลายสิบปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมา เมืองชายแดนของเราไม่ได้
เจริญเติบโตจากการมีนโยบายรัฐที่จาเพาะเจาะจงลงไปพัฒนาขึ้นมาให้เป็นอย่างที่เป็นอยู่ในวันนี้
ในวันนี้และวันข้างหน้า เมืองชายแดนของเรากาลังรุ่งเรือง มีโอกาสอีกมาก การค้าและคนจาก
เพื่อนบ้านที่จะเข้ามาจะยิ่งเพิ่มขึ้น ยิ่งในยุคที่เป็นประชาคมอาเซียน แต่ความท้าทายก็จะตามมาจากคน
18
และการติดต่อที่เพิ่มมากขึ้นด้วยเช่นกัน ไม่ว่าธุรกิจสีเทา การข้ามแดนผิดกฎหมายของคนและสิ่งของ
ยาเสพติด บ่อนการพนันในชายแดนฝั่งประเทศเพื่อนบ้าน (ที่เป็นของคนไทย และมีแต่คนไทยเข้าไปเล่น
และหมดเนื้อหมดตัว) นามาสู่ปัญหาครอบครัวและสังคม ความท้าทายเหล่านี้โดยแท้จริงสื่อถึงเรื่อง
เดียวกัน คือ เมืองชายแดนในวันนี้ต้องได้รับการจัดการดูแลที่พิเศษให้เหมาะสมกับการเป็นพื้นที่ที่มี
สภาพพิเศษทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม การเมือง และความมั่นคง หมายความว่า เมือง
ชายแดนควรจะต้องมีการปกครองเป็นเมืองพิเศษ โดยให้อานาจแก่พื้นที่มากขึ้น
ประการแรก ซึ่งมีคนเรียกร้องมานานแล้ว คือควรทาให้เมืองชายแดนของเรา เช่น แม่สาย แม่
สอด สังขละบุรี เป็นเมืองพิเศษ ที่ไม่ใช่แค่เขตเศรษฐกิจพิเศษ แต่เป็นเมืองพิเศษที่มีอานาจปกครองและ
บริหารจัดการเรื่องภายในพื้นที่ของตนเองอย่างรอบด้าน เมืองเหล่านี้จะต้องมีนโยบายด้านต่างๆ ไม่ว่า
การศึกษา การสาธารณสุข กฎเกณฑ์ด้านแรงงาน ข้อบังคับเรื่องคนต่างชาติ ฯลฯ ที่สัมพันธ์กับ
เอกลักษณ์ของพื้นที่ เช่น เชื้อชาติที่หลากหลาย สภาพเศรษฐกิจการค้าชายแดน และประชากรที่ข้ามไป
มา
อย่างในกรณีแม่สอด ในเรื่องการศึกษา ก็ควรให้มีการสอนภาษาพม่า ภาษากะเหรี่ยง ควบคู่กับ
ภาษาไทยในโรงเรียนของเทศบาล ให้เด็กแม่สอดเก่งโดดเด่นในเรื่องที่เกี่ยวกับประเทศพม่า กะเหรี่ยงที่
อยู่ฝั่งตรงข้ามเขา ทาให้แม่สอดเป็นศูนย์ความรู้เรื่องกะเหรี่ยงและพม่าในประเทศไทย เข้าใจความต่าง
ระหว่างชนชาติพม่ากับกะเหรี่ยง พม่ากับไทยใหญ่ พม่ากับมอญ มอญกับกะเหรี่ยง เพื่อให้อยู่ร่วมกันใน
สังคมหลากหลายเชื้อชาติได้อย่างเป็นสุข หรือในการศึกษาระดับอาชีวะหรืออุดมศึกษาในแม่สอด ก็ให้มี
การสอนที่โดดเด่นเรื่องการค้าชายแดน เพราะอยู่ใกล้กับความเป็นจริงในพื้นที่อยู่แล้ว
ที่สาคัญ การปกครองเมืองชายแดนในอนาคตจาต้องมีเป้าหมายสาคัญอยู่ที่การลุกขึ้นมากาหนด
ทิศทางเมืองชายแดนอย่างที่ตนเองอยากเป็น คือมิใช่เพียงการบริหารจัดการ แต่ต้องกาหนดทิศทางของ
ตนในเชิงรุก ว่าตัวเองต้องการให้เมืองเป็นอย่างไร เป็นศูนย์กลางการค้าชายแดนหรือไม่ พร้อมรับ
ผลกระทบด้านต่างๆ ที่มาพร้อมกับการพัฒนา ไม่ว่าธุรกิจผิดกฎหมายหรือผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
มิใช่เพียงรอรับโอกาสและผลกระทบจากภายนอกอย่างที่ผ่านมา ไม่ว่าภายนอกนั้นจะเป็นความ
เปลี่ยนแปลงในประเทศเพื่อนบ้าน หรือนโยบายจากรัฐส่วนกลางอย่างที่ผ่านมาและกาลังเป็นอยู่ใน
ขณะนี้

More Related Content

What's hot

Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
พัน พัน
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
waraporny
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
Thanyamon Chat.
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
เทวัญ ภูพานทอง
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
dnavaroj
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
พัน พัน
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
suchinmam
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
แวมไพร์ แวมไพร์
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
KuNg Pw
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 

What's hot (20)

Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเอง
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 

More from FURD_RSU

เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย

  • 2. เมืองแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตก ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยวิจัย บรรณาธิการ ยุวดี คาดการณ์ไกล กองบรรณาธิการ ณัฐธิดา เย็นบารุง อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ปก ณัฐธิดา เย็นบารุง รูปเล่ม ณัฐธิดา เย็นบารุง ปีที่เผยแพร่ มิถุนายน 2561 เผยแพร่โดย ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้สนับสนุน สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 3. 1 แม่สอด เมืองชายแดนตะวันตก ภาพที่ 1 ทิวทัศน์ของภูเขาชายแดนตะวันตกของไทยก่อนเครื่องบินลดระดับลง ณ สนามบินแม่สอด ที่มา ปาณัท (2559) แม่สอดเป็นเมืองชายแดนที่สาคัญที่สุดทางภาคตะวันตกของไทย ซึ่งหมายความว่าเป็นเมือง ชายแดนที่สาคัญที่สุดระหว่างไทยกับพม่า การมองเมืองแม่สอดให้เห็นความสาคัญที่แท้จริงนั้นควรมอง จากแผนที่ จึงจะเห็นว่าเหตุสาคัญที่ทาให้แม่สอดเจริญทางเศรษฐกิจมากกว่าเมืองอื่นๆ ตามแนว ชายแดนไทยพม่านั้น เพราะเป็นเส้นทางที่ใกล้ที่สุดจากไทยไปยังเมืองย่างกุ้ง อดีตนครหลวง ซึ่งยังคง เป็นเมืองหลวงทางเศรษฐกิจของพม่า ทาให้แม่สอดเป็นด่านชายแดนที่สาคัญที่สุดในการค้าขายระหว่าง ไทยกับพม่า ด้วยศักยภาพนี้ แม่สอดจึงเป็นพื้นที่ที่รัฐบาลวางโครงการทาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ
  • 4. 2 1. แม่สอด : สุดยอดทาเลเชื่อมย่างกุ้ง ภาพที่ 2 แผนที่ฝั่งตะวันตกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน เส้นสีฟ้าในภาพแสดงเส้นทางจากแม่สอดไปยังกรุงย่างกุ้ง ระยะทาง 429 กม. ซึ่งอยู่ใกล้บริเวณปากอ่าวมะละแหม่ง ทะเลอันดามัน ที่มา Google เมื่อพูดถึงแม่สอด คนไทยจะนึกถึงเมืองชายแดนทางบกที่อยู่ติดกับชายขอบด้านหนึ่งของ ประเทศพม่า แต่ที่คนไทยไม่ทราบกันนักคือ จากแม่สอดนั้น เป็นจุดที่สะดวกที่สุดในการเดินทางโดยรถ จากไทยไปเมืองย่างกุ้ง อดีตนครหลวงและเมืองหลวงทางเศรษฐกิจของพม่า ด้วยระยะทางประมาณ 430 กม. (พอๆ กับระยะทางกรุงเทพฯ-พิษณุโลก แม้ระยะเวลาเดินทางจะนานกว่าเป็นเท่าตัวเพราะ ถนนยังไม่ดีนัก) จากแม่สอดมีถนนเชื่อมโดยตรงสู่ย่างกุ้ง ซึ่งเป็นเส้นทางหลักในการขนส่งสินค้าทางบก ระหว่างไทยกับพม่า และเมื่อถึงย่างกุ้งก็จะมีถนนหลักสายต่างๆ กระจายไปสู่เมืองใหญ่ของพม่า เช่น พะ โค มัณฑะเลย์ และเนปิดอว์ เป็นต้น แม้ว่าเราจะมีแม่สายเป็นด่านสาคัญอีกแห่งที่เชื่อมไทยกับพม่า แต่ หากดูดีๆ นอกจากแม่สายจะไกลจากกรุงเทพกว่าแม่สอดแล้ว จุดที่แม่สายเชื่อมไปสู่นั้นคือเขตรัฐฉาน (ไทใหญ่) ซึ่งคือภาคอีสานของพม่า และเป็นดินแดนของชนกลุ่มน้อย ไม่ใช่ดินแดน “พม่าแท้” ดังนั้น จุด ที่เชื่อมกับเขตแดนของ “พม่าจริงๆ” ซึ่งเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจของประเทศพม่า ก็คือแม่สอด แม้ว่า ดินแดนฝั่งตรงข้ามแม่สอดจะเป็นรัฐกะเหรี่ยง ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยเช่นกัน แต่จากเลยจากรัฐกะเหรี่ยงไป
  • 5. 3 ก็ไม่ไกลจากย่างกุ้ง และอันที่จริงก็ไม่ไกลจากอ่าวมะละแหม่ง (Mawlamyine) ซึ่งก็คือส่วนหนึ่งของทะเล อันดามัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอินเดียอีกที โดยสรุป ถ้าดูแผนที่แล้วแม่สอดจึงใกล้ย่างกุ้งและ ไม่ไกลอันดามันเลย ภาพที่ 3 ป้ายอาเภอแม่สอดระหว่างทาง ที่มา https://f.ptcdn.info/117/005/000/1368456583-P1070186JP-o.jpg 2. เศรษฐกิจแม่สอด แม่สอดเป็นเมืองอยู่ในแอ่งกระทะล้อมรอบด้วยภูเขา มีแม่น้าเมยเป็นตัวกั้นเขตแดนระหว่างไทย กับพม่า ในตัวเมืองมีการปกครองระดับเทศบาลนคร สภาพเศรษฐกิจของเมืองแม่สอดมีทั้งเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การพาณิชย์ในตัวเมือง และการค้าชายแดน โดยด้านเกษตร มีการทาเกษตรบนที่ราบ ระหว่างหุบเขาและเกษตรที่สูง บริเวณรอบนอกของอาเภอแม่สอดต่อเนื่องกับอาเภอใกล้เคียง เช่น อาเภอพบพระ โดยพืชที่ปลูกกันมากได้แก่ ถั่วเหลือง ดอกกุหลาบ ดอกดาวเรือง แตงเมล่อน (ส่งออกไป ยังประเทศญี่ปุ่น) ด้านอุตสาหกรรมก็มีโรงงานอยู่หลายแห่งในพื้นที่ ที่สาคัญคือ เป็นโรงงานประเภทผลิต สิ่งทอ เสื้อผ้าสาเร็จรูป อาหารกระป๋อง อัญมณีและเครื่องประดับ1 ด้านการค้าพาณิชย์ในตัวเมืองก็มี ร้านค้าและบริการใหญ่น้อย และห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่หลายแห่ง อย่างไรก็ตาม จุดเด่นของเศรษฐกิจแม่สอดที่เป็นที่รู้จักก็คือ การเป็นเมืองการค้าชายแดนไทย- พม่า โดยเป็นด่านชายแดนสาคัญสาหรับขนส่งสินค้าและผู้คนระหว่างไทยและพม่า โดยมีมูลค่าการค้า 1 เทศบาลนครแม่สอด http://www.nakhonmaesotcity.go.th/th/Economy.php
  • 6. 4 ชายแดนเพิ่มมากขึ้นทุกปี เป็นเมืองที่ชาวพม่าจากหลายเมืองในประเทศพม่า โดยเฉพาะเมืองเมียวดี ข้ามเข้ามาเป็นแรงงาน มาจับจ่ายซื้อของ และมาท่องเที่ยวความเจริญของเมือง สาหรับการค้าชายแดนระหว่างประเทศไทย-พม่า ไทยมีด่านการค้าชายแดนถาวรไทย-พม่า 3 ด่าน คือ ด่านศุลกากรแม่สอด จังหวัดตาก-เมียวดี ด่านศุลกากรแม่สาย จังหวัดเชียงราย-ท่าขี้เหล็ก และ ด่านศุลกากร จังหวัดระนอง-เกาะสอง2 แต่ความใกล้ทางภูมิศาสตร์กับย่างกุ้งนี้เองทาให้แม่สอดเป็นจุด ที่สาคัญที่สุด คือมีมูลค้าการค้า (ทั้งนาเข้า-ส่งออก) สูงสุด ในการค้าชายแดนไทยพม่า เมื่อเทียบ กับด่านการค้าชายแดนถาวรอีกสองแห่ง ตัวอย่างเช่น ราวสองสามปีมานี้ การค้าชายแดนทั้งนาเข้าและ ส่งออกที่แม่สายอยู่ที่ประมาณ 1 หมื่นล้านบาท และลดลงบ้างจากปีก่อนๆ3 ส่วนที่ด่านระนอง-เกาะสอง อยู่ที่ราว 2-3 หมื่นล้านบาท4 ขณะที่แม่สอดเพิ่มขึ้นทุกปี เช่น จากปี 2556-2559 เพิ่มจาก 4 หมื่นเป็น 5 หมื่น 7 หมื่น และ 8 หมื่นล้านตามลาดับ5 อย่างไรก็ตามแม้ว่าแม่สอดจะเป็นเบอร์หนึ่งในการค้าชายแดนด้านพม่า แต่ควรกล่าวเทียบไว้ใน ที่นี้ด้วยว่า ในการค้าชายแดนกับเพื่อนบ้านที่อยู่ติดกับเรา 4 ประเทศ คือ พม่า ลาว กัมพูชา และ มาเลเซียนั้น การค้าด้านมาเลเซียมีมูลค่าสูงที่สุดมาโดยตลอด คือ ประมาณเกือบครึ่งหนึ่งของมูลค่า การค้าชายแดนไทยกับเพื่อนบ้านทั้งหมด จากรายงานของกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ใน ปี 2559 การค้าชายแดนกับเพื่อนบ้าน 4 ประเทศนี้มีมูลค่าถึงกว่า 1 ล้านล้านบาท โดยเป็นการค้ากับฝั่ง มาเลเซียถึงเกือบร้อยละ 50 กับพม่าอยู่ที่ร้อยละ 18 กับลาวร้อยละ 20 และกับกัมพูชาร้อยละ 126 และ หากดูเป็นรายด่าน ในปี 2559 มูลค่าการค้าโดยประมาณที่ด่านสะเดาอยู่ที่ 332,992 ล้านบาท ด่านแม่ สอด 80,696 ล้านบาท ด่านหนองคาย 64,031 ล้านบาท และด่านอรัญประเทศ 59,710 ล้านบาท ด่านที่ ยกมานี้ เป็นจุดที่มีการค้าชายแดนสูงสุดของไทยกับมาเลเซีย พม่า ลาว และกัมพูชาตามลาดับ อย่างไร ก็ตาม หากเทียบกับด่านทั่วประเทศ การค้าชายแดนที่ด่านแม่สอดมีมูลค่าสูงเป็นลาดับที่ 3 ไม่ใช่ ลาดับที่ 2 เพราะแพ้ด่านสะเดา และด่านปาดังเบซาร์ซึ่งอันหลังมีมูลค้าการค้าอยู่ที่ 159,046 ล้านบาท ในปี 25597 2 http://www.boi.go.th/thai/clmv/Back_up/2010_myanmar/2010_myanmar_8_1.html 3 http://www.maesaicustoms.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539389868 4 http://www.tnamcot.com/content/75817 5 http://www.danmaesot.com/im-ex.html 6 รายงานสถิติการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนของประเทศไทยปี 2557-2559 (ม.ค.-ธ.ค.) หน้า 3 http://www.dft.go.th/Portals/3/หนังสือสถิติการค้าชายแดนฯ%20ปี%2059%20(ธ.ค).pdf 7 เพิ่งอ้าง
  • 7. 5 นอกจากการค้าระหว่างกัน ในปัจจุบันที่พม่าเปิดประเทศทาให้ชาวพม่าบางส่วนมีฐานะทาง เศรษฐกิจดีขึ้น มีกาลังบริโภคสินค้าและบริการมากขึ้น ส่งผลให้มีนักท่องเที่ยวชาวพม่าเดินทางมา ท่องเที่ยว มาจับจ่ายในห้างสรรพสินค้าเกิดใหม่หลายแห่งของแม่สอด ที่มีทั้งร้านอาหารชั้นนาอย่างที่พบ ในกรุงเทพ หรือโรงภาพยนตร์ ซึ่งสะดวกสาหรับคนพม่าแถบที่ใกล้แม่สอดมากกว่าเดินทางเข้าย่างกุ้งนัก และถึงแม้จะเข้าย่างกุ้งก็ยังไม่สามารถหาสินค้าและบริการระดับเดียวกับที่แม่สอดได้ บางส่วนก็เดินทาง ท่องเที่ยวต่อไปยังกรุงเทพฯ หรือจังหวัดอื่นๆ ในประเทศไทย ภาพที่ 4 ห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่เปิดใหม่ในแม่สอด มีร้านค้าต่างๆ เช่นเดียวกับกรุงเทพไปเปิดให้บริการ ที่มา ปาณัท (2559) แม่สอดมีสนามบินแม่สอดเป็นสนามบินภายในประเทศ ปัจจุบันมีสายการบินนกแอร์เป็นสายการ บินเดียวที่ให้บริการเที่ยวบินจากกรุงเทพมหานครวันละ 4 เที่ยวทุกวัน8 มีสิ่งอานวยความสะดวกแบบ เมืองทันสมัย เช่น ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน แม็คโคร โรงภาพยนตร์ ร้านอาหาร ร้านกาแฟเกิดขึ้นใหม่ หลายแห่ง 8 http://nokair.com/content/th/destinations/maesot.aspx
  • 8. 6 ภาพที่ 5 สถิติมูลค่าสินค้าส่งออกจากไทยไปยังพม่า ณ ด่านศุลกากรแม่สอด จากปี 2553-2560 เพิ่มขึ้นทุกปีอยู่ที่เกือบ 8 หมื่นล้านบาทในปี 2559 ที่มา http://www.danmaesot.com/im-ex.html ภาพที่ 6 สถิติมูลค่าสินค้านาเข้าจากพม่ามายังไทย ณ ด่านศุลกากรแม่สอด จากปี 2553-2560 อยู่ที่ราว 4 พันล้านบาท ในปี 2559 ที่มา http://www.danmaesot.com/im-ex.html
  • 9. 7 3. โอกาสของเมืองชายแดน : หลักการส่งเสริมกันและกัน (Complimentary) ทาง เศรษฐกิจ จากการเดินทางไปศึกษาเมืองชายแดนหลายแห่ง มีข้อสังเกตว่าเมืองชายแดนของไทยมีพลัง มากกว่าเมืองชายแดนของอีกหลายๆ ประเทศ ตัวอย่างเช่น ชายแดนของประเทศในยุโรปนั้นส่วนใหญ่ ไม่ได้เป็นเมืองที่มีการค้าพลุกพล่านใหญ่โตอย่างที่เราคนไทยมักนึกว่าเป็นสภาพปกติของชายแดน แต่มี เพียงไม้กั้นและป้ายบอกเขตแดนเท่านั้น แต่เมืองชายแดนในความเข้าใจของคนไทยคือเมืองที่อาจจะ ใหญ่โตกว่าเมืองตอนในหลายๆ แห่งด้วยซ้าไป เพราะเป็นจุดแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างประเทศขนาด ใหญ่ เป็นแหล่งข้ามแดนของผู้คนจากประเทศไทยและเพื่อนบ้าน และแม้แต่เป็นเมืองท่องเที่ยวที่คนไทย คนจากประเทศเพื่อนบ้าน และคนจากประเทศอื่นๆ มาเที่ยวชมวิถีชีวิต ซื้อสินค้า และข้ามไปท่องเที่ยว ซึ่งกันและกัน เมืองชายแดนของไทยในทุกภาคล้วนใหญ่โต มีเศรษฐกิจการค้าที่คึกคัก และแน่นอนว่าจะ เจริญเติบโตอีกมากในอนาคต ไม่ว่าแม่สาย ทางภาคเหนือ แม่สอด ทางภาคตะวันตก ด่านปาดังเบซาร์ และด่านสะเดาทางภาคใต้ (ติดกับมาเลเซีย) หรือด่านที่หนองคายและอรัญประเทศ(ปอยเปต)ทางภาค ตะวันออก (ติดกับลาวและกัมพูชา) ในปี 2559 ในจานวน 14 ล้านล้านบาทซึ่งเป็นจานวนเงินที่ไทยได้ จากการค้าขายกับทั่วโลกนั้น มาจากการค้าชายแดนของไทยผ่านด่านต่างๆ กับเพื่อนบ้าน 4 ประเทศที่ อยู่ติดกับเรา คือ พม่า ลาว กัมพูชา และมาเลเซีย ถึง 1 ล้านล้านบาท9 คาถามคือ เหตุใดเมืองชายแดน ของไทยจึงมีพลัง? สาเหตุหลักน่าจะมาจากการที่เรากับประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่รอบๆ มีเศรษฐกิจ ที่ส่งเสริมซึ่งกันและกัน การที่มีเศรษฐกิจส่งเสริมกันหมายความว่าเรากับเพื่อนบ้านต่างมีของที่อีกฝ่ายต้องการ ซึ่งเป็น กฎพื้นฐานที่ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนกัน คาว่า “ของ” นี้อาจหมายถึงสินค้า “ของ” นี้อาจหมายถึงคนที่ เข้ามาเป็นแรงงาน ไม่ว่าในโรงงาน ลูกจ้างในร้านอาหาร พนักงานต้อนรับในโรงแรม พนักงานเติมน้ามัน หรืออาจหมายถึงคนที่เข้ามาท่องเที่ยว เพราะประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ติดกับเรา โดยเฉพาะพม่า ลาว กัมพูชา และเวียดนามนั้น มีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจตามหลังเราเป็นทศวรรษ สาเหตุสาคัญคือการ ที่เพื่อนบ้านต่างผ่านช่วงสงครามยาวนานหลายสิบปี นับจากสงครามเพื่อเอกราชในทุกประเทศที่กล่าว มา มาสู่การปิดประเทศของพม่า และสงครามอินโดจีนกับฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกาในเวียดนาม ลาวและ กัมพูชา ในช่วงระยะเวลาที่เพื่อนบ้านอยู่ท่ามกลางสงครามนี้ ประเทศไทยเปรียบเสมือนไข่แดงที่ตั้งอยู่ กึ่งกลางของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่เจริญเติบโตก้าวหน้าอยู่เพียงประเทศเดียว เป็นประเทศเดียวที่มี ระบบตลาดและระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่ก้าวหน้า ขณะที่พม่าในเวลานั้นยังปกครองภายใต้ระบบ 9 http://www.dft.go.th/Portals/3/หนังสือสถิติการค้าชายแดนฯ%20ปี%2059%20(ธ.ค).pdf , หน้า 2,3
  • 10. 8 สังคมนิยมแบบพม่าและระบอบทหาร ส่วนอินโดจีนก็ใช้ระบอบสังคมนิยม การที่ไทยมีเศรษฐกิจที่เจริญ กว่าทางวัตถุทาให้เพื่อนบ้านที่อยู่รายล้อมต้องเข้ามาซื้อสินค้าและบริการหลายๆ อย่างจากประเทศไทย ไม่ว่าข้าวของเครื่องใช้ บริการทางการแพทย์ การศึกษา หรือการท่องเที่ยว เช่นเดียวกัน ในภาพใหญ่ การเจริญเติบโตของแม่สอดก็มาจากการที่เศรษฐกิจไทยและพม่า ส่งเสริมซึ่งกันและกัน คนพม่าเข้ามาทางานและมาเที่ยวความเจริญทันสมัยของเมือง มาซื้อของฝั่งไทย ทั้งในตัวเมืองแม่สอดและลึกเข้าไปในแผ่นดินไทยแม้แต่กรุงเทพมหานคร ส่วนคนไทยก็ข้ามไปเที่ยวชม วัดดูวัฒนธรรมในเมืองเมียวดีฝั่งพม่า (แม้จะในจานวนน้อยกว่า) สาหรับการค้าขาย ไทยก็ส่งสินค้า จาพวกที่ต้องใช้เทคโนโลยีขั้นสูงกว่าที่พม่าจะผลิตเองได้ เช่น น้ามันกลั่น วัสดุก่อสร้าง และสินค้าอุปโภค บริโภคจาพวก น้าตาลทราย โทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์ เครื่องจักรทางการเกษตร น้าอัดลมและ เครื่องดื่ม รถจักรยานยนต์ (5 อันดับแรก) ก๊าซปิโตรเลียมเหลว น้ามันดีเซลและเบนซิน เบียร์และวิสกี บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป เป็นต้น10 ส่วนไทยก็ซื้อสินค้าจาพวกเกษตรและประมง เช่น ถั่วลิสง โค-กระบือมีชีวิต พริกแห้ง แร่พลวง เมล็ดงา เม็ดมะม่วงหิมพานต์ ปูม้า ปูทะเลมีชีวิต จากพม่า11 ขณะที่แรงงานพม่า ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวกะเหรี่ยง เพราะชายแดนบริเวณแม่สอดติดกับรัฐ กะเหรี่ยง ก็เดินทางข้ามมาทางานในแม่สอดเป็นจานวนมาก ไม่ว่าเข้ามาเป็นแรงงานในโรงงาน อุตสาหกรรม เช่น โรงงานผลิตเสื้อผ้า เข้ามาทางานในภาคบริการ เช่น เป็นลูกจ้างร้านค้า ร้านกาแฟ เป็นพนักงานต้อนรับในโรงแรม พนักงานเติมน้ามัน แต่ไม่เพียงแต่เข้ามาเป็นแรงงาน ชาวพม่าที่ก็ร่ารวย เข้ามาเป็นนักท่องเที่ยว มาพักโรงแรมที่แม่สอด มาเที่ยวความเจริญของเมือง มาเที่ยวห้างสรรพสินค้า มาใช้บริการสวนอาหาร ร้านอาหาร มาชมภาพยนตร์ในโรงภาพยนตร์ มาคาเฟ่ มารักษาพยาบาล ใน โรงพยาบาลที่แม่สอด เป็นต้น 10 จานวนสินค้าลาดับต้นๆ ที่มีมูลค่าการส่งออกไปยังพม่า ณ ด่านศุลกากรแม่สอด มากที่สุด http://www.danmaesot.com/25-export.html 11 จานวนสินค้าลาดับต้นๆ ที่มีมูลค่าการนาเข้าจากพม่า ณ ด่านศุลกากรแม่สอด มากที่สุด http://www.danmaesot.com/25-import.html
  • 11. 9 ภาพที่ 7 ชาวพม่ามาใช้บริการคาเฟ่ในแม่สอด ที่มา ปาณัท (2559) ภาพที่ 8 เมียวดีคอมเพล็กซ์ ห้างสรรพสินค้าที่มีคนไทยเป็นเจ้าของเปิดฝั่งตรงข้ามกับท่าสิบ มีเรือข้ามฟากแม้น้าเมยให้บริการ ที่มา https://stayth.com
  • 12. 10 ความที่เศรษฐกิจแม่สอดและพม่าแตกต่างและส่งเสริมกันและกัน แม่สอดจึงยังจะเจริญเติบโตไป ได้อีกมาก ตัวชี้วัดง่ายที่สุดคือ ขณะนี้มีโครงการขยายสนามบินแม่สอดที่กาลังอยู่ในระหว่างการ ดาเนินงาน และการสร้างสะพานมิตรภาพไทยพม่าแห่งที่สอง โอกาสที่ใหญ่ที่สุดของแม่สอดคือการที่ พม่าได้เปิดประเทศ (นับตั้งแต่เริ่มกระบวนการเปลี่ยนผ่านมาสู่รัฐบาลพลเรือนในปี 2011) ทาให้ เศรษฐกิจพม่าเติบโตแบบก้าวกระโดด (GDP โตขึ้นสิบเท่านับจากปี 200012 ) พม่าในเวลานี้จึงต้องการ สินค้าทั้งอุปโภคบริโภค พลังงาน และวัสดุก่อสร้างจากประเทศไทยมากยิ่งขึ้น และสินค้าเหล่านี้ก็ต้อง ขนส่งผ่านชายแดนที่แม่สอด เพราะใกล้ที่สุดในการขนส่งไปยังนครย่างกุ้งของพม่าโดยตรง ดังนั้น ธุรกิจ หนึ่งที่กาลังเติบโตมากในแม่สอดอยู่ในเวลานี้คือธุรกิจขนส่งสินค้า (Shipping) ผ่านรถบรรทุก ในเมื่อย่าง กุ้งเป็นเมืองที่จะรวยขึ้นมาเป็นอันดับแรกสุดของพม่า แม่สอดก็จะเป็นเมืองของไทยที่ได้รับโอกาสเป็น อันดับแรกจากการเติบโตของประเทศพม่า ซึ่งเป็นประเทศที่มีศักยภาพในการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง มาก เพราะมีประชากรจานวนมาก (56 ล้านคน จากข้อมูลของ CIA World Factbook)13 ตลาด ภายในประเทศใหญ่ มีทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมอุดมสมบูรณ์ จึงมีโอกาสในการขยายตัวอีกมาก 4. แม่สอดกับโครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของรัฐบาล ในปี 2558 คณะกรรมการนโยบายพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (กพน.) ภายใต้รัฐบาล คสช. ได้ กาหนดเขตเศรษฐกิจพิเศษเป็น 2 ระยะ โดยเขตเศรษฐกิจพิเศษระยะที่ 1 (หมายถึงมีความพร้อมก่อน) มี 5 แห่งคือ เขตเศรษฐกิจพิเศษตราด ตาก มุกดาหาร สระแก้ว และสงขลา ทั้ง 5 แห่งนี้ถูกกาหนดเป็น เขตเศรษฐกิจพิเศษในฐานะเมืองการค้าชายแดนเพื่อเชื่อมกับโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษฝั่งตรงข้ามใน ประเทศเพื่อนบ้าน 12 http://data.worldbank.org/country/myanmar 13 https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/bm.html#
  • 13. 11 ภาพที่ 9 พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษระยะแรก และระยะที่ 2 ของรัฐบาล ที่มา กรุงเทพธุรกิจ ในส่วนของเขตเศรษฐกิจพิเศษตากนั้น ครอบคลุมพื้นที่อาเภอแม่สอด พบพระ และแม่ระมาด โดยมีเมืองแม่สอด และโดยเฉพาะด่านชายแดนแม่สอด-เมียวดี เป็นหัวใจ โดยฝั่งจังหวัดเมียวดีของพม่า นั้นได้มีการพัฒนาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษไปล่วงหน้าแล้วตั้งแต่ปี 200914 เพื่อดึงดูดการลงทุน โดยผู้ที่ เข้าไปลงทุนรายใหญ่ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น และไทย โครงการสาคัญในการพัฒนาแม่สอดเป็นเมืองเศรษฐกิจพิเศษคือ การสร้างสะพานมิตรภาพไทย- พม่าแห่งที่ 2 บริเวณ ต.ท่าสายลวด อ.แม่สอด ข้ามไปยังฝั่งจังหวัดเมียวดี รัฐกะเหรี่ยง และการปรับปรุง ขยายท่าอากาศยานแม่สอดจากสนามบินภายในประเทศ ให้เป็นสนามบินนานาชาติ 14 พม่ายกเมียวดี เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน http://www.uasean.com/kerobow01/1285
  • 14. 12 ภาพที่ 10 สะพานมิตรภาพไทย-พม่า แห่งที่ 2 ข้ามแม่น้าเมย ก่อสร้างใกล้แล้วเสร็จ ที่มา https://www.facebook.com/โครงการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-พม่า-ข้ามแม่น้าเมยแห่งที่-2- 1014012455333086/ ภาพที่ 11 ป้ายแสดงโครงการปรับปรุงขยายท่าอากาศยานแม่สอด ณ อาคารผู้โดยสารหลังปัจจุบันของท่าอากาศยานแม่สอด ที่มา ปาณัท (2559)
  • 15. 13 ภาพที่ 12 แบบจาลองอาคารผู้โดยสารหลังใหม่ของท่าอากาศยานแม่สอด ณ อาคารผู้โดยสารท่าอากาศยานแม่สอด ที่มา ปาณัท (2559) ภาพที่ 13 งานปรับปรุงขยายสนามบินแม่สอด จะเห็นรถกาลังไถปรับพื้นที่ข้างรันเวย์ ปี 2559 ที่มา ปาณัท (2559)
  • 16. 14 5. สังคมพหุวัฒนธรรมในแม่สอด : มุสลิมแม่สอด แม้ว่าแม่สอดในวันนี้จะเป็นที่สนใจของผู้คนจากมิติของความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจเป็น หลัก อย่างไรก็ตามก็ไม่ได้มีแต่เรื่องเงินๆ ทองๆ เท่านั้นที่น่าสนใจในแม่สอด ว่ากันทางสังคม สังคมของ อาเภอแม่สอดนั้นเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมที่มีหลากหลายอย่างมาก มีผู้คนหลายชาติพันธุ์ทั้ง จีน ไทย เหนือ ไทยใหญ่ กะเหรี่ยง มอญ พม่า มลายู และชาติพันธุ์อื่นๆ ที่ย้ายถิ่นฐานเข้ามาอาศัย นอกจากนี้ ผู้คนยังนับถือหลากหลายศาสนาแตกต่างกันไป ทั้งพุทธ คริสต์ ซิกซ์ ฮินดู และอิสลาม แม้จะมีความ แตกต่างกันทั้งชาติพันธุ์และศาสนาแต่สามารถอยู่ร่วมกันได้ จนบางวัฒนธรรมที่เคยเป็นวัฒนธรรม เฉพาะกลุ่มได้กลมกลืนกลายเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่น เมื่อพูดถึงในเทศบาลเมืองแม่สอดแล้ว กลุ่มคนที่มีประชากรและอัตลักษณ์ที่ชัดเจนมากกลุ่มหนึ่ง ก็คือกลุ่มมุสลิมหรือผู้นับถือศาสนาอิสลาม ในเขตเทศบาลอาเภอแม่สอดมีชุมชนอยู่ราว 20 ชุมชน โดย ชุมชนมุสลิมนั้นเป็นชุมชนที่มีประชากรมากที่สุดราว 22,000 คน ซึ่งกลุ่มชนมุสลิมนี้สามารถแบ่งได้เป็น สามกลุ่มย่อย กลุ่มแรกคือที่กลุ่มมุสลิมที่บุกเบิกอพยพเข้ามายังอาเภอแม่สอดเมื่อกว่าร้อยปีที่แล้วครั้งที่ พม่ายังเป็นอาณานิคมของอังกฤษ โดยเดินทางมาจากอินเดีย บังกลาเทศ และปากีสถาน เพื่อเข้ามา ค้าขายยังพม่าในเขตย่างกุ้ง มะละแหม่ง เมียวดี และสุดท้ายข้ามแม่น้าเมยเข้ามาตั้งรกรากยังอาเภอแม่ สอด เมื่อมีมุสลิมอพยพเข้ามามากขึ้นจึงร่วมกันสร้าง ‘มัสยิดนูรุ้ลอิสลาม’ อันเป็นมัสยิดแห่งแรกเพื่อเป็น ศูนย์กลางทางด้านศาสนาและศูนย์รวมของคนในชุมชน ประมาณกันว่าจนถึงปัจจุบันมีมุสลิมกลุ่มนี้อยู่ ราว 7,000 คน ส่วนมุสลิมกลุ่มที่สองคือกลุ่มชาวพม่าที่อพยพเข้ามาในช่วงไม่เกินสามทศวรรษที่ผ่านมาด้วย เหตุผลต่างๆ ทั้งความยากจน ปัญหาการเมืองภายใน ปัญหาสิทธิมนุษยชน การว่างงาน ซึ่งมุสลิมพม่าที่ อพยพเข้ามานั้นมีจานวนมากกว่ากลุ่มมุสลิมดั้งเดิม โดยมีอยู่ราว 15,000 คน และสุดท้ายคือกลุ่มอื่นๆ ที่ มีอยู่ไม่มากนัก เช่น คนไทยที่ย้ายถิ่นฐานมากจากต่างจังหวัดหรือต่างอาเภอเพื่อเข้ามาทางานหาเลี้ยง ชีพ และชาวมลายูที่เข้ามาเป็นครูสอนศาสนา ใจกลางเมืองแม่สอดนั้นมีถนนที่เป็นย่านการค้าอยู่สามสายด้วยกัน สายหนึ่งคือถนนศรีพานิชซึ่ง เป็นที่อยู่อาศัยของชาวมุสลิมหลากหลายชาติพันธ์มาแต่เนิ่นนาน และละแวกใกล้เคียงก็ยังเป็นชุมชนชาว ไทยใหญ่และชาวคนไทยพุทธ ยามเช้าหลายชีวิตที่แม่สอดเริ่มต้นที่ร้านน้าชา โดยจะมีโรตีโอ่งจิ้มแกงเป็น อาหารหลัก วัฒนธรรมการกินโรตีในช่วงเช้านี้โดยดั้งเดิมเป็นของชาวมุสลิม แต่ทุกวันนี้ได้ผสมกลมกลืน จนกลายเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นของแม่สอดไปแล้ว อาหารเช้าแบบมุสลิมมีทั้งโรตีแผ่น ซาโมซา มลัย และโรตีโอ่ง โดยจะกินกับแกงถั่ว แกงที่นิยมกันคือแกงอุ๊บ จุดเด่นของอาหารมุสลิมอีกประการคือแกง ต่างๆ ที่มีอยู่หลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ ซึ่งเอกลักษณ์นี้ก็เป็นผลมาจากการที่ชาวมุสลิมแม่สอดมีพื้น
  • 17. 15 เพดั้งเดิมมาจากอินเดีย บังคลาเทศ และปากีสถาน ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีความโดดเด่นในด้าน เครื่องเทศที่หลากหลาย บ้างก็นาเข้ามาจากอินเดียและพม่าอีกด้วย ส่วนภาษาที่มุสลิมแม่สอดใช้สื่อสารกันในชีวิตประจาวันนั้นก็มีด้วยกันหลากหลายภาษา ทั้งพม่า ไทยเหนือ ไทยกลาง อูรดู และยังมีภาษาอาหรับ ที่แม้ไม่ได้ถูกใช้ในชีวิตประจาวันนักแต่มีความจาเป็น อย่างยิ่งต่อการปฏิบัติศาสนกิจและการเรียนรู้ศาสนา โดยเฉพาะการเรียนรู้คัมภีร์กุรอานซึ่งเป็นแม่บท สาคัญที่สุดของศาสนาอิสลาม ในอาเภอแม่สอดนั้นมีมัสยิดอยู่สามแห่ง ซึ่งมัสยิดที่ใหญ่ที่สุดคือมัสยิดนูรุ้ลอิสลาม อันเป็นมัสยิด แรกที่ถูกสร้างขึ้นในอาเภอแม่สอด และมีบาแลหรืออาคารละหมาดขนาดเล็กอีกราว 10 แห่ง โดย บทบาทหลักของมัสยิดคือการเป็นศาสนสถานที่ชาวมุสลิมจะมาร่วมกันละหมาด หากไม่ติดธุระจาเป็นใด ๆ แล้ว มุสลิมชายสมควรที่จะไปละหมาดร่วมกันให้ได้วันละ 5 เวลา โดยเฉพาะละหมาดเที่ยงในวันศุกร์ ที่มีการเทศนาธรรมตักเตือนใจนั้นจะขาดเสียมิได้ ดังที่กล่าวไปแล้วว่ามีกลุ่มมุสลิมพม่าอพยพเข้ามายังแม่สอดด้วยความบีบคั้นต่างๆ ทั้งความ ยากจน การเมืองภายใน สิทธิมนุษยชน การว่างงาน มีการอพยพเข้ามากและเป็นการตั้งถิ่นฐานที่ ค่อนข้างถาวร ทาให้แม่สอดเริ่มเกิดปัญหาขึ้น เช่น กลายเป็นชุมชนแออัดหรือสลัม กิจกรรมต่างๆ ของ ชุมชนจาเป็นต้องใช้งบประมาณที่มากขึ้น แต่ชาวพม่าที่อพยพมาไม่มีส่วนร่วมในการอุดหนุน งบประมาณ อีกทั้งแม้โดยรวมมุสลิมจะมีวิถีปฏิบัติที่คล้ายคลึงกันเพราะนับถือศาสนาอิสลามเช่นเดียวกัน แต่ในรายละเอียดแล้วมุสลิมที่อยู่ต่างถิ่นฐานก็ย่อมวิถีชีวิตที่ต่างกันบ้างเป็นธรรมดา อาจเกิดปัญหาใน การปรับตัวหากันเมื่อต้องอยู่ร่วมชุมชนเดียวกัน แต่ในอีกแง่หนึ่งเนื่องจากผู้ที่อพยพเข้ามานั้นเป็นผู้ที่หนี ร้อนมาพึ่งเย็น อีกทั้งเป็นมุสลิมเช่นเดียวกัน ทาให้แง่มุมทางมนุษยธรรมยังเป็นสิ่งที่สาคัญ ฉะนั้นสิ่งใดที่ พอช่วยเหลือได้ก็ต้องเกื้อกูลกัน ทางชุมชนมุสลิมในแม่สอดจึงหวังว่าเจ้าหน้าที่ภาครัฐจะเข้ามาเยียวยา และช่วยเหลือ เพื่อให้ชุมชนมุสลิมแม่สอดซึ่งเป็นชุมชนที่ตั้งรกรากและเป็นส่วนหนึ่งของอาเภอแม่สอด มายาวนานจะสามารถอยู่คู่อาเภอแม่สอดต่อไปอย่างมั่นคงและยั่งยืน 6. ผลกระทบที่มากับโอกาสของแม่สอด เช่นเดียวกับเมืองชายแดนทุกแห่ง โอกาสในการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่ก้าวกระโดดต่อจากนี้ของ แม่สอดมาพร้อมกับผลกระทบ ซึ่งหากมีการเตรียมพร้อมจัดการที่ดีเอาไว้ ก็อาจลดหรือเลี่ยงผลกระทบ ทางลบเหล่านี้ได้ ผลกระทบประการสาคัญที่พอจะมองเห็นในวันนี้ได้แก่ ประเด็นธุรกิจสีเทาและธุรกิจผิด กฎหมายบริเวณชายแดน สวัสดิการที่ไม่เพียงพอของประชาชนในแม่สอด ปัญหาแรงงานและผู้อพยพ ผิดกฎหมาย ซึ่งการแก้ปัญหาเหล่านี้และที่สาคัญคือการพัฒนาแม่สอดให้เจริญอย่างยั่งยืนนั้น สาคัญที่ ต้องทาให้ประชาชนในแม่สอด ซึ่งเป็นเจ้าของพื้นที่ ได้รับประโยชน์และป้องกันผลกระทบด้านลบจาก
  • 18. 16 การพัฒนาแก่พวกเขา และหนทางหนึ่งที่จะนาไปสู่การพัฒนาแม่สอดอย่างยั่งยืนก็คือการมอบอานาจ จัดการแก่พื้นที่แม่สอดอย่างอิสระมากขึ้น ให้สมกับน้าหนักทางเศรษฐกิจและความท้าทายทางสังคมที่ เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดจากการเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ในประเด็นเรื่องธุรกิจสีเทา แม่สอดก็เป็นเช่นเดียวกับเมืองชายแดนอื่นๆ ที่อยู่คู่กับเศรษฐกิจสี เทาและธุรกิจผิดกฎหมาย ไม่ว่าการเคลื่อนย้ายคนและของผ่านชายแดน สินค้าหนีภาษี คนลักลอบเข้า เมือง ต้องไม่ลืมว่ามูลค่าการค้าชายแดนกับเพื่อนบ้านจานวน 1 ล้านล้านบาทต่อปีที่กล่าวถึงไปใน ตอนต้นนั้น คิดเฉพาะการค้าในระบบที่ผ่านพิธีศุลกากรอย่างถูกต้องเท่านั้น แต่ยังไม่รวมการค้านอก ระบบที่ลักลอบขนข้ามชายแดน ซึ่งหากใครได้ไปเมืองชายแดนด้วยตนเองไม่ว่าในภาคไหนๆ ก็จะพบว่า ในความเป็นจริง การลักลอบข้ามแดนและของหนีภาษี ธุรกิจสีเทา ดารงอยู่เป็นปกติ ซึ่งรู้แต่เพียงว่ามี มูลค่ามหาศาล แต่ไม่มีตัวเลขว่าแท้จริงเท่าไร ในแม่สอด สินค้าหนีภาษีที่สาคัญก็มีเช่น สุรา บุหรี่ สินค้ามือสอง จากคาบอกเล่าของคนในพื้นที่ อัตราการลักลอบเข้าเมืองผิดกฎหมายที่ด่านตรวจคนเข้าเมืองชายแดนแม่สอดอยู่ที่ราว 3 ใน 4 ของ จานวนชาวพม่าที่เข้ามาอยู่ในเมืองแม่สอด (เข้าเมืองถูกกฎหมายเพียง 1 ใน 4 ส่วนของชาวพม่าในแม่ สอด) ความเป็นเมืองชายแดนนี้ ลักษณะสาคัญคือ อานาจจากส่วนกลางแผ่ไปไม่ทั่วถึง ผู้มีอิทธิพล ท้องถิ่นในเมืองชายแดนจึงมีบทบาทในทางเศรษฐกิจและความเป็นไปของเมืองมาก การนานโยบายใดๆ จากส่วนกลางไปปฏิบัติจะประสบความสาเร็จไม่ได้หากไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่น นอกจากนี้ สิ่งที่ลืมไม่ได้ของเมืองชายแดน คือความสัมพันธ์กับกลุ่มคนที่อยู่อีกฝั่งของชายแดน ไม่ว่าจะ เป็นพม่า กะเหรี่ยง ไทใหญ่ มอญ เช่นในกรณีแม่สอด ข้าราชการในเมืองแม่สอดจาเป็นต้องสัมพันธ์ ติดต่อกับทั้งผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่นและผู้นากลุ่มกะเหรี่ยงได้ ในการประสานงานหรือทาโครงการใดๆ ให้ สาเร็จ เช่น การสร้างสะพานมิตรภาพไทย-พม่าแห่งที่ 2 ผู้มากบารมีในท้องถิ่นและผู้นาชนกลุ่มน้อยฝั่ง ตรงข้ามนั้น หลายครั้งสาคัญต่อชีวิตผู้คนและเรื่องราวในพื้นที่ยิ่งกว่ารัฐบาลกลางที่กรุงเทพหรือย่างกุ้ง ด้วยซ้า นอกจากการควบคุมคนและสินค้าเข้าออกแล้ว การรักษาพยาบาลและการศึกษาก็นับว่าเป็นสิ่ง ท้าทายสาหรับแม่สอดในวันนี้และในอนาคตเช่นกัน เพราะความท้าทายสาหรับแม่สอดที่ต่างจากเมือง อื่นๆ คือ ประชากรในแม่สอดจะเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็วจากการอพยพเข้ามาของชาวพม่า ไม่ว่าจะเข้า มาอาศัย มาทางาน มาเรียน มาท่องเที่ยว มาซื้อของ หรือมาเพื่อรักษาพยาบาล ดังนั้น บริการและ สวัสดิการดูแลประชากรของแม่สอด เช่น การศึกษา และสาธารณสุข จึงจาเป็นต้องเตรียมไว้รองรับคน กลุ่มนี้ด้วย เพื่อมิให้เกิดปัญหาตามมา เช่น คนต่างด้าวแย่งใช้บริการสาธารณสุขของไทย
  • 19. 17 ในภาพรวมของเรื่องการจัดการกับประชากรต่างด้าวในแม่สอดนั้น ต้องทาในแนวทางที่พยายาม เอาคนพม่าหรือกะเหรี่ยงเหล่านี้เข้ามาเป็นกาลังของแม่สอดและของไทยมากขึ้น ต้องหลอมรวมคนพม่า คนกะเหรี่ยง ให้มาเป็นกาลังของชาติเหมือนที่เราเคยทากับคนจีนในอดีต จนทุกวันนี้คนจีนจากที่เคยเป็น แรงงานอพยพ เป็น “ต่างด้าว” ก็ได้กลมกลืนเป็นคนไทย และกลายเป็นกาลังของชาติ แล้วเราจะหลอมรวมคนพม่า กะเหรี่ยงเหล่านี้เข้ามาได้อย่างไร? ในวันหนึ่งเราก็อาจจะต้องให้ สัญชาติแก่พวกเขา โดยกาหนดเกณฑ์ที่เหมาะสม เช่น ให้กับเด็กที่เกิดในประเทศไทย ให้คนพวกนี้ กลายเป็นคนไทยเชื้อสายพม่า คนไทยเชื้อสายกะเหรี่ยง เหมือนที่เรามีคนไทยเชื้อสายจีนในทุกวันนี้ ทุก วันนี้รัฐเกี่ยงงอนเรื่องการให้สัญชาติกับแรงงานอพยพเพราะเรื่องความมั่นคงเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม เมื่อ ดูความเป็นจริง ในเมืองชายแดนอย่างแม่สอด “คนต่างด้าวอพยพ” ที่อาศัยอยู่ในเมือง จานวนมากคือคน ที่ทางาน อยู่ มีลูกสืบหลานจนรุ่นที่สอง หรือสามแล้ว แต่ยังมีสถานะเป็นคนนอกระบบของรัฐ ซึ่งหาก ประเทศไทยไม่สามารถให้สัญชาติแก่เด็กที่เกิดมารุ่นที่สองหรือสามเหล่านี้ได้ พวกเขาก็อาจจะกลายเป็น ปัญหาสังคมไปโดยปริยาย เพราะความเป็นคนนอกระบบของรัฐ ที่ไม่ได้รับการดูแลด้านสวัสดิภาพจาก รัฐ เช่น การสาธารณสุข การศึกษา และในขณะเดียวกันก็ไม่มีหน้าที่ต่อรัฐต่อบ้านเมืองที่อยู่อาศัย เช่น เสียภาษี เช่นกัน เมื่อรัฐกีดกันและไม่เปิดโอกาสให้คนเหล่านี้มีชีวิตที่เจริญก้าวหน้าได้ในสังคมไทย ก็ อาจจะทาให้บางคนหันไปเป็นอาชญากร หรือทาสิ่งผิดกฎหมาย กลายเป็นปัญหาสังคมไทยในระยะยาว การจัดการเรื่องคนต่างด้าวในเมืองชายแดนและในประเทศไทยนี้ ควรเริ่มจากการยอมรับความ เป็นจริงว่า เราไม่สามารถผลักดันคนเหล่านี้ออกไปได้ เพราะเหตุผลสาคัญคือชาติไทยไม่มีพวกเขาไม่ได้ ดังนั้น เราจึงควรเปลี่ยนกระบวนทัศน์ กลืน “คนต่างด้าว” ให้เข้ามาเป็นคนไทยที่เป็นกาลังของชาติ อย่าง ที่เราเคยได้ทากับคนจีน คนเปอร์เซีย ลาว เขมร ญวน มาตลอดประวัติศาสตร์ชาติไทย 7. ข้อเสนอ :ให้เมืองชายแดนเป็นเมืองปกครองพิเศษที่กาหนดทิศทางของตนเอง ไม่ใช่แค่ “เขตเศรษฐกิจพิเศษ” ที่ผ่านมาเมืองชายแดนของไทยนั้นเจริญเติบโตขึ้นมาอย่างทุกวันนี้ได้ เพราะสภาพแวดล้อม ไม่ใช่จากการวางแผน กล่าวคือ สภาวะที่เหลื่อมล้ากันทางการพัฒนาของเรากับประเทศเพื่อนบ้าน ทาให้ เกิดโอกาสสาหรับประเทศไทย เมืองชายแดนของไทยจึงกลายเป็นหน้าด่านการติดต่อระหว่างเรากับ ประเทศที่อยู่รายรอบตลอดหลายสิบปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมา เมืองชายแดนของเราไม่ได้ เจริญเติบโตจากการมีนโยบายรัฐที่จาเพาะเจาะจงลงไปพัฒนาขึ้นมาให้เป็นอย่างที่เป็นอยู่ในวันนี้ ในวันนี้และวันข้างหน้า เมืองชายแดนของเรากาลังรุ่งเรือง มีโอกาสอีกมาก การค้าและคนจาก เพื่อนบ้านที่จะเข้ามาจะยิ่งเพิ่มขึ้น ยิ่งในยุคที่เป็นประชาคมอาเซียน แต่ความท้าทายก็จะตามมาจากคน
  • 20. 18 และการติดต่อที่เพิ่มมากขึ้นด้วยเช่นกัน ไม่ว่าธุรกิจสีเทา การข้ามแดนผิดกฎหมายของคนและสิ่งของ ยาเสพติด บ่อนการพนันในชายแดนฝั่งประเทศเพื่อนบ้าน (ที่เป็นของคนไทย และมีแต่คนไทยเข้าไปเล่น และหมดเนื้อหมดตัว) นามาสู่ปัญหาครอบครัวและสังคม ความท้าทายเหล่านี้โดยแท้จริงสื่อถึงเรื่อง เดียวกัน คือ เมืองชายแดนในวันนี้ต้องได้รับการจัดการดูแลที่พิเศษให้เหมาะสมกับการเป็นพื้นที่ที่มี สภาพพิเศษทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม การเมือง และความมั่นคง หมายความว่า เมือง ชายแดนควรจะต้องมีการปกครองเป็นเมืองพิเศษ โดยให้อานาจแก่พื้นที่มากขึ้น ประการแรก ซึ่งมีคนเรียกร้องมานานแล้ว คือควรทาให้เมืองชายแดนของเรา เช่น แม่สาย แม่ สอด สังขละบุรี เป็นเมืองพิเศษ ที่ไม่ใช่แค่เขตเศรษฐกิจพิเศษ แต่เป็นเมืองพิเศษที่มีอานาจปกครองและ บริหารจัดการเรื่องภายในพื้นที่ของตนเองอย่างรอบด้าน เมืองเหล่านี้จะต้องมีนโยบายด้านต่างๆ ไม่ว่า การศึกษา การสาธารณสุข กฎเกณฑ์ด้านแรงงาน ข้อบังคับเรื่องคนต่างชาติ ฯลฯ ที่สัมพันธ์กับ เอกลักษณ์ของพื้นที่ เช่น เชื้อชาติที่หลากหลาย สภาพเศรษฐกิจการค้าชายแดน และประชากรที่ข้ามไป มา อย่างในกรณีแม่สอด ในเรื่องการศึกษา ก็ควรให้มีการสอนภาษาพม่า ภาษากะเหรี่ยง ควบคู่กับ ภาษาไทยในโรงเรียนของเทศบาล ให้เด็กแม่สอดเก่งโดดเด่นในเรื่องที่เกี่ยวกับประเทศพม่า กะเหรี่ยงที่ อยู่ฝั่งตรงข้ามเขา ทาให้แม่สอดเป็นศูนย์ความรู้เรื่องกะเหรี่ยงและพม่าในประเทศไทย เข้าใจความต่าง ระหว่างชนชาติพม่ากับกะเหรี่ยง พม่ากับไทยใหญ่ พม่ากับมอญ มอญกับกะเหรี่ยง เพื่อให้อยู่ร่วมกันใน สังคมหลากหลายเชื้อชาติได้อย่างเป็นสุข หรือในการศึกษาระดับอาชีวะหรืออุดมศึกษาในแม่สอด ก็ให้มี การสอนที่โดดเด่นเรื่องการค้าชายแดน เพราะอยู่ใกล้กับความเป็นจริงในพื้นที่อยู่แล้ว ที่สาคัญ การปกครองเมืองชายแดนในอนาคตจาต้องมีเป้าหมายสาคัญอยู่ที่การลุกขึ้นมากาหนด ทิศทางเมืองชายแดนอย่างที่ตนเองอยากเป็น คือมิใช่เพียงการบริหารจัดการ แต่ต้องกาหนดทิศทางของ ตนในเชิงรุก ว่าตัวเองต้องการให้เมืองเป็นอย่างไร เป็นศูนย์กลางการค้าชายแดนหรือไม่ พร้อมรับ ผลกระทบด้านต่างๆ ที่มาพร้อมกับการพัฒนา ไม่ว่าธุรกิจผิดกฎหมายหรือผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม มิใช่เพียงรอรับโอกาสและผลกระทบจากภายนอกอย่างที่ผ่านมา ไม่ว่าภายนอกนั้นจะเป็นความ เปลี่ยนแปลงในประเทศเพื่อนบ้าน หรือนโยบายจากรัฐส่วนกลางอย่างที่ผ่านมาและกาลังเป็นอยู่ใน ขณะนี้