SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Download to read offline
สึนามิ(Tsunami)
ภูเขาไฟระเบิด
แผ่นดินไหว(earthquake)
วิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว 30104
นางสาวนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
แผ่นดินไหว (Earthquake)
Neptune was the name that ancientRomans gave to the Greek god of the sea and
earthquakes,Poseidon. He was the brother of Jupiter (Zeus) and of Pluto (Hades).
After the defeat of their father Saturn (Cronos), the three brothers divided the
world in three parts to be ruled by one of the three brothers. Jupiter took the sky,
Neptune the sea and Pluto the underworld.
Neptune had the reputationfor having a violenttemper. Tempests and
earthquakeswere a reflection of his furious rage. He was depicted as a bearded
men holding a tridentand seated in a seashelldrawn by sea-horses.
One day Neptune saw the water nymph Amphitritedancing in the island of
Naxos and fell in love with her. He promptly asked her to marry him but
unfortunatelyshe refused.
However, not discouraged by Amphitrite refusal, Neptune sent one of his
servant,a dolphin to look for her. The dolphin found her, and pleaded Neptune's
cause so persuasivelythat she changed her mind. As a reward for finding and
returning Amphitriteto him, Neptune immortalizedthe dolphin by placingit in
the heavens as the constellation Dolphinus.
Neptune and Amphitrite had several children. Among them was Triton whose
name was given in 1846 by William Lassell to the principal moon of the planet
Neptune.
Poseidon Greek God
แผ่นดินไหว (Earthquake)
Earthquake Japan “Namazu”
แผ่นดินไหว (Earthquake)
Earthquake in Christchurch,
New Zealand
(22 February 2011)
Japan Earthquake
3/11/2011
แผ่นดินไหว (Earthquake)
แผ่นดินไหว (Earthquake)
สึนามิ(Tsunami)
สึนามิ(Tsunami)
สึนามิ(Tsunami)
สึนามิ(Tsunami)
สึนามิ(Tsunami)
สึนามิ(Tsunami)
สึนามิ(Tsunami)
สึนามิ(Tsunami)
สึนามิ(Tsunami)
แผ่นดินไหว (Earthquake)
“แผ่นดินไหว” เป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกิดจากการสั่นสะเทือน
ของพื้นดิน อันเนื่องมาจากการปลดปล่อยพลังงานออกมาอย่างรวดเร็วใต้ผิวโลก
เพื่อระบายความเครียดที่สะสมไว้ภายในโลกออกมา
สาเหตุของแผ่นดินไหว
1.การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีตามธรรมชาติ ในบริเวณรอยต่อ
ของแผ่นเปลือกโลก
2.ภูเขาไฟระเบิด เกิดขณะที่แมกมาใต้ผิวโลกเคลื่อนตัวสู่ปล่องภูเขาไฟ
3. การกระทาของมนุษย์ เช่น การทดลองระเบิดปรมาณู
แผ่นดินไหว (Earthquake)
แผ่นดินไหวมักเกิดบริเวณรอยเลื่อน (fault) ตามแนวขอบของเพลต (plate)
อธิบายได้ว่า แผ่นธรณีมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา บริเวณที่มีการเคลื่อน
ที่ผ่านกันหรือการมุดตัวเข้าหากัน ทาให้เกิดแรงเครียดมหาศาลกระทาต่อ
หินจนเกินกาลังที่มวลหินจะรับได้ เกิดการเคลื่อนตัวทันทีทันใด พร้อมกับ
ปลดปล่อยพลังงานออกมา ทาให้เกิดแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว (Earthquake)
บริเวณที่เกิดแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว (Earthquake)
ความเค้น(Stress)
ความเครียด(Strain)
แรงต้านทานภายในเนื้อวัสดุที่มีต่อแรงภายนอกที่มากระทาต่อหนึ่ง
หน่วยพื้นที่ ความเค้นแรงดึง ความเค้นแรงอัด ความเค้นแรงเฉือน
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของวัสดุ (Deformation) เมื่อมีแรงภายนอกมากระทา
(เกิดความเค้น) การเปลี่ยนรูปของวัสดุนี้เป็นผลมาจากการเคลื่อนที่ภายในเนื้อวัสดุ
การเปลี่ยนรูปแบบอิลาสติก การเปลี่ยนรูปแบบพลาสติก
การถ่ายโอนพลังงานให้กับชั้นหินจะอยู่ในรูปคลื่นไหวสะเทือน
(seismic wave) คลื่นจะกระจายไปทุกทิศทุกทาง ผ่านตัวกลางภายใน
โลกขึ้นมาผิวโลกเรียกตาแหน่งนี้ว่า ศูนย์เกิดแผ่นดินไหวหรือโฟกัส
(hypocenter หรือ focus) hypocenter
หรือ focus
แผ่นดินไหว (Earthquake)
ตาแหน่งที่อยู่บนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
หรือโฟกัส เรียกว่า จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (epicenter)
epicenter
แผ่นดินไหว (Earthquake)
แผ่นดินไหว (Earthquake)
สามารถแบ่งศูนย์เกิดแผ่นดินไหวตามระดับความลึก ได้ 3 ระดับ
เกิดที่ระดับความลึกน้อยกว่า 70 กิโลเมตร จากผิวโลก
ศูนย์กลางแผ่นดินไหวระดับปานกลาง
ศูนย์กลางแผ่นดินไหวระดับลึก
ศูนย์กลางแผ่นดินไหวระดับตื้น
เกิดที่ระดับความลึกระหว่าง 70-300 km จากผิวโลก
เกิดที่ระดับความลึกมากกว่า 300 km จากผิวโลก
คลื่นแผ่นดินไหวเป็นคลื่นที่เดินทางออกจากแหล่งกาเนิดคลื่นทุก
ทิศทุกทาง แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
1.คลื่นในตัวกลาง(body wave) ซึ่งเดินทางอยู่ภายในโลก แบ่งได้เป็น 2 ชนิด
1.1 คลื่นปฐมภูมิ (Primary waves,P wave) เกิดการเคลื่อนไหวแบบอัดขยายในแนว
เดียวกับที่ทิศคลื่น เดินทางด้วยความเร็วสูงมาก เป็นคลื่นประเภทแรกที่จะเดินทางขึ้น
มาถึงผิวโลก เมื่อกระทบวัตถุจะเกิดแรงผลักและแรงดึง
แผ่นดินไหว (Earthquake)
1.2 คลื่นทุติยภูมิ (Secondary waves, S wave) อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวตั้งฉาก
กับทิศทางที่คลื่นผ่าน เดินทางช้ากว่า P Wave เมื่อกระทบวัตถุ จะเกิดแรงยกขึ้นและลง
แผ่นดินไหว (Earthquake)
2.คลื่นพื้นผิว (surface wave) เดินทางไปตามเปลือกโลกชั้นนอก
แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
2.1 คลื่น L (Love wave) เป็นคลื่นที่ทาให้อนุภาคตัวกลางสั่นในแนวราบ
โดยมีทิศทางตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
แผ่นดินไหว (Earthquake)
2.2 คลื่น R (Rayleigh wave) เป็นคลื่นที่ทาให้อนุภาคตัวกลางสั่นเป็นวงรี
ในทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเป็นเหตุให้พื้นผิวโลกมีการสั่นขึ้นลง
แผ่นดินไหว (Earthquake)
แผ่นดินไหว (Earthquake)
แผ่นดินไหว (Earthquake)
แผ่นดินไหว (Earthquake)
แผ่นดินไหวระลอกหลัง (Aftershocks)
หลังจากแผ่นดินไหวแล้ว หินต่าง ๆ รอบ ๆ ศูนย์กลางไหวสะเทือนใต้ผิว
โลกจะพยายามปรับตัวให้คืนสู่สภาพสมดุล ดังนั้น จึงเกิดความไหวสะเทือน
ตามมาเป็นระยะ ๆ กว่าจะหยุดไหวสนิท อาจกินเวลานับเป็นชั่วโมง วัน หรือ
เป็นเดือน แต่มีความรุนแรงน้อยกว่าระลอกแรกมาก
(พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา 2530 หน้า 3)
Note : หาก aftershock รุนแรงกว่า mainshock
Aftershock จะถูกเปลี่ยนเป็น mainshock ส่วน
Mainshock จะถูกเปลี่ยนเป็น foreshock แทน
(From Wikipedia, the free encyclopedia)
แผ่นดินไหว (Earthquake)
มี 3 แนว ได้แก่
1.แนวรอยต่อที่เกิดล้อมรอบมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นบริเวณขอบมหาสมุทรแปซิฟิก
ทั้งหมด จัดเป็นบริเวณที่เกิดแผ่นดินไหวค่อนข้างรุนแรงและมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ
80 ของการเกิดแผ่นดินไหวทั่วโลก เรียกกันว่า วงแหวนแห่งไฟ ( Ring of Fire) ได้แก่
ประเทศญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ ตะวันตกเฉียงใต้ของอเมริกา เป็นต้น ( ร้อยละ 80)
แผ่นดินไหว (Earthquake)
2.แนวรอยต่อภูเขาแอลป์ในทวีปยุโรปและภูเขาหิมาลัยในทวีปเอเชีย
เป็นแหล่งที่เกิดแผ่นดินไหวร้อยละ 15 ได้แก่บริเวณประเทศพม่า
อัฟกานิสถาน อิหร่าน และแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในยุโรป
3.บริเวณแนวสันเขากลางมหาสมุทรต่างๆ ของโลก (ร้อยละ 5)
ความรุนแรงและขนาดของแผ่นดินไหว
เครื่องมือที่ใช้วัดคลื่นแผ่นดินไหวในปัจจุบันเรียกว่า seismograph
หลักการง่ายๆ คือแขวนมวลที่มีน้าหนักไว้ด้วยสปริง ซึ่งยึดอยู่กับกรอบบนพื้นที่
แข็งแรง ในภาวะปกติ มวลจะไม่เคลื่อนที่แต่เมื่อเกิดแผ่นดินไหว กรอบของเครื่องมือ
จะเคลื่อนที่ แต่แรงเฉื่อยที่เกิดขึ้นในมวลจะทาให้มวลคงสภาพอยู่ตาแหน่งเดิมได้
เพื่อใช้เป็นจุดเปรียบเทียบกับแผ่นดิน
ความรุนแรงและขนาดของแผ่นดินไหว
ขนาดของแผ่นดินไหว หมายถึง ปริมาณพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจาก
ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
ปัจจุบัน มีมาตรา การวัดขนาดแผ่นดินไหวมากมาย เช่น ML, Mw, MS, mb,
คานวณจากสูตร ML = log A + D
การวัดแผ่นดินไหวนิยมวัดอยู่ 2 แบบ ได้แก่ การวัดขนาด (magnitude)
และการวัดความรุนแรง (intensity)
มาตรการวัดแผ่นดินไหวมีอยู่หลายมาตรา นิยมใช้ทั่วไป 3 มาตรา
1. มาตราริกเตอร์, ML (Local Magnitude) A ความสูงคลื่น(mm)
D ตัวแปรปรับแก้ระยะทางจาก
ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
2. มาตราขนาดโมเมนต์ Mw (Moment Magnitude scale )
เป็นมาตราวัดขนาดแผ่นดินไหวที่วัดได้แม่นยาที่สุดโดยไม่ขึ้นอยู่กับ
ข้อจากัดใดๆ
ความรุนแรงและขนาดของแผ่นดินไหว
ความรุนแรงของแผ่นดินไหว กาหนดจาก ผลกระทบ หรือความเสียหาย
จากแผ่นดินไหวที่เกิดบนผิวโลก ณ จุดสังเกต
มาตราวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหวที่นิยมใช้ ได้แก่ มาตราเมอร์คัลลี
ซึ่งมี 12 ระดับ ( ในหนังสือ น.55 )
แนวรอยเลื่อนที่มีพลัง (active fault)
หมายถึง แนวรอยเลื่อนบนเปลือกโลกที่ยังสามารถเคลื่อนที่ได้
ส่วนมากอยู่ทางภาคเหนือและภาคตะวันตกของประเทศ เช่น
รอยเลื่อนเชียงแสน รอยเลื่อนแม่ทา รอยเลื่อนเถิน
รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ และรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์
ภาคใต้ได้แก่ รอยเลื่อนระนอง และรอยเลื่อนคลองมะรุ่ย
โลกและการเปลี่ยนแปลง
รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทย
1. กลุ่มรอยเลื่อนแม่จันและแม่อิง พาดผ่านเชียงรายและเชียงใหม่
2. กลุ่มรอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน พาดผ่านแม่ฮ่องสอนและตาก
3. กลุ่มรอยเลื่อนเมย พาดผ่านตากและกาแพงเพชร
4. กลุ่มรอยเลื่อนแม่ทา พาดผ่านเชียงใหม่ ลาพูน และเชียงราย
5. กลุ่มรอยเลื่อนเถิน พาดผ่านลาปางและแพร่
6. กลุ่มรอยเลื่อนพะเยา พาดผ่านลาปาง เชียงราย และพะเยา
7. กลุ่มรอยเลื่อนบัว พาดผ่านน่าน
8. กลุ่มรอยเลื่อนอุตรดิตถ์ พาดผ่านอุตรดิตถ์
9. กลุ่มรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ พาดผ่านกาญจนบุรีและราชบุรี
10. กลุ่มรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ พาดผ่านกาญจนบุรีและอุทัยธานี
11. กลุ่มรอยเลื่อนท่าแขก พาดผ่านหนองคายและนครพนม
12. กลุ่มรอยเลื่อนระนอง พาดผ่านประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง และพังงา
13. กลุ่มรอยเลื่อนคลองมะรุ่ย พาดผ่านสุราษฎร์ธานี กระบี่ และพังงา
พื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวค่อนข้างสูง ( 2ข)
มี 3 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน และตาก
พื้นที่ที่มีความเสี่ยงน้อยลงไป ( 2ก)
ได้แก่ พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลาพูน ลาปาง แพร่ อุตรดิตถ์ สุโขทัย
กาแพงเพชร กาญจนบุรี นครปฐม ปทุมธานี กรุงเทพฯ นนทบุรี
สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ราชบุรี เพชรบุรี
ประจาบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี และจังหวัดในชายฝั่งทะเล
อันดามันทั้งหมด ได้แก่ ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และ
สตูล
วิธีการ
1.จาแนกชนิดของคลื่น p และ s จากกราฟ (ข้อมูลการไหวสะเทือน)
P S
2.วัดความแตกต่างของเวลาระหว่างคลื่น p และ s ที่มาถึงสถานี นาข้อมูลไปกาหนดจุด
บนสเกลหมายเลข 1
24 sec
1
3. วัดความสูง(amplitude) ของคลื่นทุติยภูมิ นาข้อมูลที่ได้ไปกาหนดจุด
บนแท่งสเกลหมายเลข 3
1 3
S
23 mm
4. ลากเส้นตรงจากจุดบนสเกลหมายเลข 1 ถึง จุดบนสเกลหมายเลข 3
1 3
5. จุดตัดบนสเกลของหมายเลข 2 คือขนาดของแผ่นดินไหว ตามมาตราริกเตอร์
5 ริกเตอร์
โฟกัสเป็นตาแหน่งที่อยู่ในโลกที่เกิดแผ่นดินไหว
ส่วนตาแหน่งที่อยู่บนผิวโลกที่อยู่เหนือโฟกัส
เรียกว่า epicenter
เราสามารถหาตาแหน่งของ epicenter ได้
โดยอาศัยความแตกต่างของเวลาที่ใช้ในการเดินทาง
จากโฟกัสมาถึงเครื่องบันทึกของคลื่นแผ่นดินไหว
ระหว่างคลื่นปฐมภูมิ(p wave) และทุติยภูมิ ( s wave)
35 วินาที
35 sec
300 km
กราฟเวลาที่ใช้ในการเดินทางของคลื่นแผ่นดินไหว
35 วินาที
อัตราส่วน 1 cm : 100 km
จะได้ว่า
ระยะห่างจากสถานี จังหวัดลพบุรี
ถึง epicenter เท่ากับรัศมี 3 cm. 3 cm
.
.
epicenter ของการเกิดแผ่นดินไหว
อยู่ที่บริเวณจังหวัดเพชรบูรณ์
( 16.2 N 101.3 E)
.ก
.ข
.ค
สึนามิ(Tsunami)
สึนามิ(Tsunami)
เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ ในลักษณะระลอกคลื่น ที่เกิดจากน้าปริมาณมาก
เคลื่อนตัวจากที่หนึ่งไปที่หนึ่ง คลื่นสึนามิจะถาโถมเข้าสู่ชายฝั่งอย่างรวดเร็ว
และรุนแรง
1. การขยับตัวของเปลือกโลกเมื่อเกิดแผ่นดินไหว
2. ภูเขาไฟระเบิด
3. แผ่นดินถล่ม อุกาบาตตกสู่พื้นทะเลหรือมหาสมุทร
"สึนามิ" มาจากภาษาญี่ปุ่น สึ ( 津 ) = "ท่าเรือ”
นะมิ (波/浪) = "คลื่น"
คลื่นสึนามิที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีขนาดสูงถึง 35 เมตร ที่เกาะสุมาตรา
เกิดขึ้นจากแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดของภูเขาไฟกรากาตัว เมื่อวันที่
27 สิงหาคม พ.ศ.2426
สาเหตุการเกิดสึนามิ
สึนามิ(Tsunami)
Earthquake Tsunami 1
Earthquake Tsunami 2
Landslide Tsunami
สึนามิ(Tsunami)
ลักษณะคลื่น
คลื่นสึนามิเป็นคลื่นในน้า จะเดินทางได้ช้ากว่าการสั่นสะเทือนของ
แผ่นดินไหวที่เป็นคลื่นที่เดินทางในพื้นดิน
คลื่นสึนามิมีคาบที่นานมาก เริ่มจากไม่กี่นาทีจนถึงชั่วโมง และมีความยาวคลื่น
มาก อาจยาวถึงหลายร้อยกิโลเมตร ขณะที่คลื่นทั่วไปมีคาบประมาณ 10 วินาที
และมีความยาวคลื่นประมาณ 150 เมตรเท่านั้น
ความสูงของคลื่นในทะเลจะน้อย มีความเร็วตั้งแต่ 500 ถึง 1,000 km/hr
เมื่อเข้าสู่ชายฝั่งที่มีความลึกลดลง คลื่นจะมี
ความเร็วลดลงและเริ่มก่อตัวเป็นคลื่นสูง
เกิดเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 เนื่องจากการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณเหว
มหาสมุทรซุนดรา (Sundra trench) ซึ่งมีการยุบตัวของพื้นมหาสมุทรตามรอยต่อของ
เพลตอินเดีย-ออสเตรเลีย และเพลตพม่า ทาให้เกิดแรงสั่นสะเทือน 9.0
ริกเตอร์ โดยมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา
สึนามิ(Tsunami)
คลื่นสึนามิในประเทศไทย
มี link
นิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
เป็นภูเขาที่มีลักษณะพิเศษ สามารถพ่นสารละลายร้อนและเถ้าถ่าน ตลอดจน
เศษหินจากภายในโลกออกสู่พื้นผิวโลกได้ทางปล่อง( vent หรือ pipe) ก่อให้เกิดเป็นเนินเตี้ยๆ เมื่อมีการประทุขึ้นหลายครั้ง เนินเหล่านี้จะ
มีความสูงเพิ่มมากขึ้น
การประทุของภูเขาไฟเป็นหลักฐานที่ทาให้ทราบว่า ภายในโลกยังมีความร้อนอยู่
(volcano)
3.2 ภูเขาไฟ
3.2.1 แนวภูเขาไฟ
ภูเขาไฟส่วนใหญ่เกิดบริเวณแผ่นธรณีชนกัน ภูเขาไฟที่ทรงพลังส่วนมากอยู่ในบริเวณรอบมหาสมุทรแปซิฟิก ที่เรียกว่า วง
แหวนแห่งไฟ (ring of fire)
เป็นมวลสารใต้โลกที่มีอุณหภูมิและแรงดันสูงมาก จึงแทรกดันตัวขึ้นสู่ผิว
โลกตามรอยแตกของชั้นธรณีภาค เรียกว่า ลาวา (700 -1,250 ◦C)
เมื่ออุณหภูมิลดลง จะตกผลึกเป็นของแข็ง ที่เรียกว่า
หินชิ้นภูเขาไฟ ( pyroclastic rock ) แบ่งตามขนาดและลักษณะของ
ส่วนที่พ่นออกมา ( หินทัฟฟ์, บล็อก, บอมบ์ กรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ, พัมมิช)
ความรุนแรงของการระเบิดของภูเขาไฟ
ขึ้นกับความหนืดของแมกมา (หนืดมากรุนแรง
มาก) ส่วนประกอบที่สาคัญที่มีผลต่อความหนืด
ของแมกมาคือ ซิลิกา( SiO2)
แมกมา (magma)
3.2.2 การระเบิดของภูเขาไฟ (valcanic eruption)
เกิดจากการปะทุของแมกมา แก๊สและเถ้าจากใต้เปลือกโลก
3.2.3 ผลของภูเขาไฟระเบิดที่มีต่อลักษณะภูมิประเทศ
หลังการระเบิดของภูเขาไฟ จะส่งผลให้ลักษณะภูมิประเทศบริเวณ
ภูเขาไฟเปลี่ยนไป เช่น
- เกิดเกาะใหม่ภายหลังที่เกิดการปะทุใต้ทะเล
- เกิดที่ราบสูงบะซอลต์ และเนินเขา
- พื้นที่ภูเขาไฟหายไป หรือเปลี่ยนไป เช่น
ภูเขาไฟฟูจิ(เดิมเป็นภูเขาไฟ 3 ลูก) ภูเขาไฟ
เซนเฮเลน และภูเขาไฟซันเซต ในอเมริกา
เมื่อภูเขาไฟระเบิดจะมีเขม่าควันและแก๊สบางชนิดซึ่งอาจ
เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตได้
3.2.5 โทษและประโยชน์ของภูเขาไฟ
ทาให้ลาวา เศษหิน ผลึกแร่ เถ้าภูเขาไฟ แก๊ส
ถูกดันออกมาจากใต้โลกเมื่อแข็งตัวลงจะเป็น
ทรัพยากรที่มนุษย์นาไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น อัญมณี
3.2.4 ภูเขาไฟในประเทศไทย
โทษ
ประโยชน์
การปะทุของภูเขาไฟทาให้เกิดแผ่นดินไหว
ชีวิตและทรัพย์สินที่อยู่ใกล้เคียงเป็นอันตราย
แบ่งภูเขาไฟ ตามรูปร่างและส่วนประกอบ ได้เป็น 3 ชนิด
1.ภูเขาไฟรูปโล่ ( shield volcano) เป็นภูเขาไฟขนาดใหญ่ ความสูงไม่มาก
นัก มีฐานกว้างมากกว่า 100 กิโลเมตร ลักษณะคล้ายโล่ การประทุไม่
รุนแรง เช่นภูเขาไฟมัวนาลัว(Mounalao) ในหมู่เกาะฮาวาย
2.ภูเขาไฟกรวดภูเขาไฟ ( cinder volcano) เป็นภูเขาไฟทรงสูง
สูงประมาณ 500 เมตร รูปร่างสมมาตร เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 กิโลเมตร
3. ภูเขาไฟสลับชั้น ( composite volcano) เป็นภูเขาไฟทรงสูง
บริเวณยอดเขาอาจมีความชันประมาณ 40 องศา ประกอบด้วยชั้นสลับกันระหว่าง
กรวดภูเขาไฟและลาวา เช่น ภูเขาไฟฟูจิ ในญี่ปุ่น, ภูเขาไฟเซนต์ เฮเลนส์ ใน USA
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ

More Related Content

What's hot

แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309chanok
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงPonpirun Homsuwan
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์Lilrat Witsawachatkun
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมTa Lattapol
 

What's hot (20)

แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 

Viewers also liked

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1มาณวิกา นาคนอก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556chartphysic
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะKook Su-Ja
 
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟเรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟKobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 5 ธรณีภาค
เรื่องที่ 5 ธรณีภาคเรื่องที่ 5 ธรณีภาค
เรื่องที่ 5 ธรณีภาคKobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหวเรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหวKobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลกเรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลกKobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิเรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิKobwit Piriyawat
 
เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5Kobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติเรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติKobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์Kobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินเรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินKobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timssNirut Uthatip
 
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)Napadon Yingyongsakul
 

Viewers also liked (16)

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
 
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟเรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
 
เรื่องที่ 5 ธรณีภาค
เรื่องที่ 5 ธรณีภาคเรื่องที่ 5 ธรณีภาค
เรื่องที่ 5 ธรณีภาค
 
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหวเรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
 
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลกเรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
เรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิเรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิ
 
เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5
 
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติเรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
 
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
 
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินเรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
 

Similar to สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ

โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหวโลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหวMoukung'z Cazino
 
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)gamertense
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติsoysuwanyuennan
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวNattha Namm
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวNattha Namm
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัวแผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัวNIMT
 
ปรากฏการณ์ทางธรณี
ปรากฏการณ์ทางธรณีปรากฏการณ์ทางธรณี
ปรากฏการณ์ทางธรณีochestero
 
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหว
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหวการออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหว
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหวqcstandard
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวPoramate Minsiri
 
Astronomy 04
Astronomy 04Astronomy 04
Astronomy 04Chay Kung
 
แผ่นดินไหว1
แผ่นดินไหว1แผ่นดินไหว1
แผ่นดินไหว1apiwan
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่naleesaetor
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติnaleesaetor
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่naleesaetor
 
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6Pongsathorn Suksri
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่naleesaetor
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403Piyawan
 

Similar to สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ (20)

โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหวโลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
 
แผ่นดินไหว503
แผ่นดินไหว503แผ่นดินไหว503
แผ่นดินไหว503
 
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
01 (1)
01 (1)01 (1)
01 (1)
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัวแผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
 
ปรากฏการณ์ทางธรณี
ปรากฏการณ์ทางธรณีปรากฏการณ์ทางธรณี
ปรากฏการณ์ทางธรณี
 
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหว
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหวการออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหว
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหว
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
 
Astronomy 04
Astronomy 04Astronomy 04
Astronomy 04
 
แผ่นดินไหว1
แผ่นดินไหว1แผ่นดินไหว1
แผ่นดินไหว1
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่
 
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ