SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ที่ก่อให้เกิดความ
เสียหายร้ายแรงต่อชีวิต และทรัพย์สินของมนุษย์ได้
เป็นบริเวณกว้าง เชื่อกันว่าทุกประเทศได้รับ
ผลกระทบจากแผ่นดินไหว ไม่ว่าทางตรงหรือ
ทางอ้อม ปัจจุบันพบว่ามีความพยายามอย่างมากใน
หลายประเทศ ซึ่งได้รับอันตรายจากแผ่นดินไหวและ
ภูเขาไฟ
แผ่นดินไหว
เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติซึ่งเกี่ยวเนื่องกับกระบวน
ธรณีแปรสัณฐานซึ่งเกิดขึ้นเมื่อหินเปลือกโลกเคลื่อนที่
หรือสั่นสะเทือนและคายพลังงานออกมาแรงกดดันหรือ
แรงเสียดทานจะทาให้หินที่บริเวณขอบของแผ่นธรณี
เกิดความเค้นและ ความเครียด สะสมพลังงานไว้ภายใน
เมื่อหินแตกหรือหักก็จะปลดปล่อยพลังงานออกมา ทา
ให้ให้เกิดการสั่นสะเทือนเป็นแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวที่เมืองซานฟรานซิสโก
ปี พ.ศ.2449
แผ่นดินไหวมักเกิดขึ้นในบริเวณรอยต่อของแผ่นธรณี
เนื่องจากเป็นบริเวณที่เกิดกระบวนการธรณีแปร
สัณฐาน 3 ลักษณะดังภาพ
คลื่นไหวสะเทือน
แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้น
เนื่องจากการเคลื่อนตัวของชั้น หินในเปลือกโลก เมื่อ
ชั้นหินกระทบกันทาเกิดคลื่นไหวสะเทือนเราเรียกจุด
กาเนิดของคลื่นไหวสะเทือนว่า "ศูนย์เกิด
แผ่นดินไหว" และเรียกตาแหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือ
จุดกาเนิดของคลื่นแผ่นดินไหวว่า "จุดเหนือศูนย์เกิด
แผ่นดินไหว"
"จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว"
ซึ่งมักจะใช้อ้างอิงด้วยพิกัดละติจูด/ลองจิจูด เมื่อเกิด
แผ่นดินไหวจะเกิดคลื่นไหวสะเทือน 2 แบบ คือ คลื่น
ในตัวกลาง และคลื่นพื้นผิว
ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
คลื่นในตัวกลาง (Body wave)
เดิน ทางจากศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ผ่านเข้าไปในเนื้อ
โลกในทุกทิศทาง ในลักษณะเช่นเดียวกับคลื่นเสียงซึ่ง
เกินทางผ่านอากาศในทุกทิศทาง คลื่นในตัวกลาง
มี 2 ชนิด คือ คลื่นปฐมภูมิ (P wave) และ คลื่นทุติย
ภูมิ (S wave)
คลื่นปฐมภูมิ (P wave)
เป็นคลื่นตามยาวที่เกิดจากความไหวสะเทือนใน
ตัวกลาง โดยอนุภาคของตัวกลางนั้นเกิดการเคลื่อนไหว
แบบอัดขยายในแนวเดียวกับที่คลื่นส่งผ่านไปคลื่นนี้
สามารถเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็น
ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ เป็นคลื่นที่สถานีวัด
แรงสั่นสะเทือนสามารถรับได้ก่อนชนิดอื่นโดยมี
ความเร็วประมาณ 6 – 7 กิโลเมตร/วินาที
คลื่นทุติยภูมิ (S wave)
เป็นคลื่นตามขวางที่เกิดจากความไหวสะเทือนใน
ตัวกลางโดยอนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวตั้งฉากกับ
ทิศทางที่คลื่นผ่าน มีทั้งแนวตั้งและแนวนอน คลื่นชนิด
นี้ผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของแข็งเท่านั้น ไม่
สามารถเดินทางผ่านของเหลว คลื่นทุติยภูมิมีความเร็ว
ประมาณ 3 – 4 กิโลเมตร/วินาที
คลื่นปฐมภูมิ (P wave) และ
คลื่นทุติยภูมิ (S wave)
คลื่นพื้นผิว (Surface wave)
เดินทางจากจุดเหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว
(Epicenter) ไปทางบนพื้่นผิวโลก ในลักษณะเดียวกับ
การโยนหินลงไปในน้าแล้วเกิดระลอกคลื่นบนผิว
น้า คลื่นพื้นผิวเคลื่อนที่ช้ากว่าคลื่นในตัวกลาง คลื่น
พื้นผิวมี 2 ชนิด คือ คลื่นเลิฟ (L wave) และคลื่นเรย์ลี (R
wave)
คลื่นเลิฟ (L wave)
เป็นคลื่นที่ทาให้อนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวราบ
โดยมีทิศทางตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่น ดังภาพ
ที่ 3 สามารถทาให้ถนนขาดหรือแม่น้าเปลี่ยนทิศ
ทางการไหล
คลื่นเรย์ลี (R wave)
เป็นคลื่นที่ทาให้อนุภาคตัวกลางสั่น ม้วนตัวขึ้นลงเป็น
รูปวงรี ในแนวดิ่ง โดยมีทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของ
คลื่น ดังภาพที่ 4 สามารถทาให้พื้นผิวแตกร้าว และเกิด
เนินเขา ทาให้อาคารที่ปลูกอยู่ด้านบนเกิดความเสียหาย
ความรุนแรงของแผ่นดินไหว
มีมาตราการวัดอยู่2 มาตราคือ
1.มาตราเมอร์คัลลี กาหนดจากความรู้สึกหรือการ
ตอบสนองของผู้คน
2.มาตราริกเตอร์ วัดขนาดของแผ่นดินไหว ซึ่งบันทึก
ได้จากเครื่องวัดคลื่นไหวสะเทือนโดยใช้หน่วย “ริก
เตอร์” เป็นตัวเลขที่ทาให้สามารถเปรียบเทียบขนาดของ
แผ่นดินไหวต่างๆ กันได้
ขนาดแผ่นดินไหว (ริกเตอร์) ประเภท
<3.0 แผ่นดินไหวขนาดเล็กมาก (Micro)
3.0 - 3.9 แผ่นดินไหวขนาดเล็ก (Minor)
4.0 - 4.9 แผ่นดินไหวขนาดค่อนข้างเล็ก (Light)
5.0 - 5.9 แผ่นดินไหวขนาดปานกลาง (Moderate)
6.0 - 6.9 แผ่นดินไหวขนาดค่อนข้างใหญ่ (Strong)
7.0 - 7.9 แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ (Major)
>8.0 แผ่นดินไหวใหญ่มาก (Great)
ภูเขาไฟระเบิด
ภูเขาเกิดจากการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
ซึ่งแผ่นธรณีทวีปดันกันทาให้ชั้นหินคดโค้ง (Fold)เป็น
รูปประทุนคว่าและประทุนหงายสลับกัน ภูเขาที่มียอด
แบนราบอาจเกิดจากการยกตัวของเปลือกโลกตาม
บริเวณรอยเลื่อน (Fault) แต่ภูเขาไฟ (Volcano) มีกาเนิด
แตกต่างจากภูเขาทั่วไป ภูเขาไฟเกิดจากการยกตัวของ
แมกมาใต้เปลือกโลก
โครงสร้างของภูเขาไฟ
ประเภทของภูเขาไฟ
ภูเขาไฟมีรูปร่างสัณฐานต่างๆ กัน เนื่องจากเกิดขึ้น
จากแมกมาซึ่งมีแหล่งกาเนิดแตกต่างกัน และมี
องค์ประกอบของแร่แตกต่างกัน เราจาแนกชนิดของ
ภูเขาไฟตามลักษณะทางกายภาพได้4 ประเภท
ที่ราบสูงลาวา เกิดจากแมกมาบะซอลต์แทรกตัวขึ้นมา
ตามรอยแตกของเปลือกโลกแล้วกลายเป็นลาวาไหล
ท่วมบนพื้นผิว ในลักษณะเช่นเดียวกับน้าท่วม เมื่อลาวา
เย็นตัวลงก็จะกลายเป็นที่ราบสูงลาวาขนาดใหญ่
ประมาณ 100,000 ถึง 1,000,000 ตารางกิโลเมตร
เช่น เกาะสกาย ประเทศอังกฤษ
ที่ราบสูงลาวา (เกาะสกาย)
ภูเขาไฟรูปโล่
ภูเขาไฟรูปโล่มักเกิดขึ้นจากแมกมาซึ่งยกตัวขึ้นจากจุด
ร้อนในเนื้อโลกชั้นล่าง ตัวอย่างเช่น ภูเขาไฟมอนาคีบน
เกาะฮาวาย ที่กลางมหาสมุทรแปซิฟิก
ภูเขาไฟรูปโล่ (มอนาคี)
กรวยกรวดภูเขาไฟ
เป็นภูเขาไฟขนาดเล็กมาก สูงประมาณ 100 -
400 เมตรภูเขาไฟแบบนี้ไม่มีธารลาวาซึ่งเกิดขึ้นจากแมก
มาไหล แต่จะมีลักษณะเป็นกรวดกลมๆ พุ่งออกมาจาก
ปากปล่อง แล้วกองสะสมกันทาให้เกิดความลาดชัน
ประมาณ 30 - 40 องศา เช่น กรวยภูเขาไฟในรัฐโอรี
กอน ประเทศสหรัฐอเมริกา
ภูเขาไฟกรวยสลับชั้น
เป็นภูเขาไฟขนาด ปานกลาง ที่มีรูปทรงสวยงามเป็น
รูปกรวยคว่า สูงประมาณ 100 เมตร ถึง 3,500 เมตร
เกิดขึ้นจากแผ่นธรณีมหาสมุทรที่หลอมละลายเป็นแมก
มา แล้วยกตัวขึ้นดันเปลือกโลกขึ้นมาเป็นแนวภูเขาไฟรูป
โค้ง สิ่งที่ภูเขาไฟพ่นออกมามีทั้งธารลาวา
กรวดเถ้าภูเขาไฟ สลับชั้นกันไป เนื่องจากในบางครั้ง
แมกมาแข็งตัวปิดปากปล่องภูเขาไฟ ทาให้เกิดแรงดันจาก
แก๊สร้อน ดันให้ภูเขาไฟระเบิดและเปลี่ยนรูปทรง
ตัวอย่างเช่น ภูเขาไฟฟูจิ ประเทศญี่ปุ่น
ภูเขาไฟกรวยสลับชั้น (ฟูจิ)
ประโยชน์และโทษของภูเขาไฟมื่อภูเขาไฟระเบิดใกล้
ชุมชนทาให้เกิดมหันตภัยครั้งยิ่งใหญ่ แผ่นดินไหวทาให้
อาคารพังพินาศ ถนนขาด และไฟไหม้เนื่องจากท่อแก๊ส
ถูกทาลาย ธารลาวา กรวดและเถ้าภูเขาไฟที่ไหลลงมา
สามารถทับถมหมู่บ้านและเมืองที่อยู่รอบข้าง
แต่อย่างไรก็ตามภูเขาไฟระเบิดหนึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวัฏ
จักรธรณีแปรสัณฐาน ซึ่งหมุนเวียนธาตุอาหารให้แก่ผิว
โลก ดินที่เกิดจากการสลายตัวของหินภูเขาไฟ มีความ
อุดมสมบูรณ์สูงใช้ปลูกพืชพรรณได้งอกงาม ก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งปล่อยออกมาจากปล่องภูเขาไฟ
ทาให้พืชสามารถสังเคราะห์ธาตุอาหารด้วยแสง แมกมา
ใต้เปลือกนาแร่ธาตุและอัญมณีที่หายาก เช่น เพชร พลอย
ขึ้นมา เป็นต้น
จัดทาโดย
นางสาวเมธาวี เมฆอรุณ เลขที่ 21
นางสาวอทิตยา ภิญโญ เลขที่ 25
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4

More Related Content

What's hot

สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3Sukanda Panpetch
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติPatt Thank
 
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพsarawut chaiyong
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...Prachoom Rangkasikorn
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาsoysuwanyuennan
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกochestero
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟเรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟKobwit Piriyawat
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กApinya Phuadsing
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 

What's hot (20)

สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟเรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาคแบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 

Similar to ปรากฏการณ์ทางธรณี

งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่naleesaetor
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่naleesaetor
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติnaleesaetor
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่naleesaetor
 
แผ่นดินไหว1
แผ่นดินไหว1แผ่นดินไหว1
แผ่นดินไหว1apiwan
 
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัวแผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัวNIMT
 
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณพัน พัน
 
โครงงานแผ่นดินไหว
โครงงานแผ่นดินไหวโครงงานแผ่นดินไหว
โครงงานแผ่นดินไหวthanaporn2118
 
โครงงานแผ่นดินไหว
โครงงานแผ่นดินไหวโครงงานแผ่นดินไหว
โครงงานแผ่นดินไหวthanaporn2118
 
test upload
test uploadtest upload
test uploadoumkmcn
 
test uoload
test uoloadtest uoload
test uoloadmmomie
 
ภัยธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติภัยธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติN'nam Love Peerayut
 

Similar to ปรากฏการณ์ทางธรณี (14)

งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่
 
แผ่นดินไหว503
แผ่นดินไหว503แผ่นดินไหว503
แผ่นดินไหว503
 
แผ่นดินไหว1
แผ่นดินไหว1แผ่นดินไหว1
แผ่นดินไหว1
 
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัวแผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
 
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
 
โครงงานแผ่นดินไหว
โครงงานแผ่นดินไหวโครงงานแผ่นดินไหว
โครงงานแผ่นดินไหว
 
โครงงานแผ่นดินไหว
โครงงานแผ่นดินไหวโครงงานแผ่นดินไหว
โครงงานแผ่นดินไหว
 
02
0202
02
 
test upload
test uploadtest upload
test upload
 
test uoload
test uoloadtest uoload
test uoload
 
ภัยธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติภัยธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติ
 

ปรากฏการณ์ทางธรณี