SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ระบบพิกัดเชิงขั้ว
ในทางคณิตศาสตร ระบบพิกัดเชิงขั้ว (อังกฤษ: polar coordinate system) คือระบบคาพิกัดสองมิติใน
แตละจุดบนระนาบถูกกําหนดโดยระยะทางจากจุดตรึงและมุมจากทิศทางตรึง
จุดตรึง (เหมือนจุดกําเนิดของระบบพิกัดคารทีเซียน) เรียกวาขั้ว, และลากรังสีจากขั้วเขากับทิศทางตรึงคือ
แกนเชิงขั้ว ระยะทางจากขั้วเรียกวาพิกัดรัศมีหรือรัศมี และมุมคือพิกัดมุม, มุมเชิงขั้ว, หรือมุมทิศ
ประวัติ
มีการนําแนวคิดเรื่องมุมและรัศมีมาใชตั้งแตสมัยโบราณในหนึ่งสหัสวรรษกอนคริสตศักราช นักดารา
ศาสตรชาวกรีกที่ชื่อฮิปปารคัส (190-120 BCE) สรางตารางฟงกชันคอรดที่ใหความยาวของคอรดสําหรับแต
ละมุม และมีการอางอิงวาเขาใชระบบพิกัดเชิงขั้วในการพิสูจนตําแหนงของดวงดาวใน On Spirals (วาดวย
เสนเกลียว) อารคิมิดีสบรรยายถึงวงกนหอยอารคิมิดีสวารัศมีของฟงกชันขึ้นกับมุม อยางไรก็ตามสิ่งที่ชาว
กรีกเหลานี้ทําก็ยังไมขยายออกไปถึงระบบพิกัดเชิงขั้วที่สมบูรณ
ในคริสตศตวรรษที่ 9 นักคณิตศาสตรชาวเปอรเซียที่ชื่อ ฮะบัซ อัล-ฮะซับ อัล-มารวะซิ (Habash al-Hasib al-
Marwazi) ใชวิธีตรีโกณมิติเชิงทรงกลมและการฉายแผนที่เพื่อที่จะแปลงผันพิกัดเชิงขั้วไปเปนระบบพิกัดที่
แตกตางโดยมุงความสนใจไปยังจุดจําเพาะบนรูปทรงกลม ในที่นี้คือกิบลัตมีทิศทางสูมักกะหฺ นักภูมิศาสตร
ชาวเปอรเซียที่ชื่อ อะบู รอยฮาน บิรูนี (Abū Rayhān Bīrūnī) (973-1048) พัฒนาแนวคิดซึ่งดูเหมือนจะ
ใกลเคียงกับระบบพิกัดเชิงขั้วราวๆคริสตศตวรรษ 1025 เขาเปนคนแรกที่บรรยายถึงการฉายที่ระยะหาง
เทากันของแอซมัทเทากับขั้วของทรงกลมฟา
มีรายงานที่ตางกันของการเริ่มตนของพิกัดเชิงขั้วตามสวนหนึ่งของรูปนัยระบบพิกัด Origin of Polar
Coordinates (กําเนิดพิกัดเชิงขั้ว) ประวัติของพิกัดนี้ถูกบรรยายโดยจูเลียน โลเวล โคลลิดจ (Julian Lowell
Coolidge) ศาสตราจารยฮารวารด เกรกัวร เดอ แชง-แวงซอง (Grégoire de Saint-Vincent) และ โบนาเวนตูรา
คาวาลิเอริ (Bonaventura Cavalieri) ตางเริ่มนําแนวคิดมาใชในกลางคริสตศตวรรษที่ 7 แชง-แวงซองเขียนถึง
พิกัดเชิงขั้วโดยการสวนตัวในป ค.ศ. 1625 และตีพิมพงานของเขาในป ค.ศ. 1647 ขณะที่คาวาลิเอริตีพิมพใน
ป ค.ศ. 1635 และฉบับที่ถูกตองในป ค.ศ. 1653 คาวาลิเอริเปนบุคคลแรกที่ใชพิกัดเชิงขั้วแกปญหาเกี่ยวกับ
พื้นที่ในวงกนหอยอารคิมิดีส ตอมาแบลส ปาสกาลไดใชพิกัดเชิงขั้วคํานวณหาความยาวของสวนโคงของรูป
พาราโบลา
ใน Method of Fluxions (วิธีการไหล) (เขียนขึ้นในป ค.ศ. 1671, ตีพิมพในป ค.ศ. 1736) เซอรไอแซก นิวตัน
พิเคราะหการแปลงระหวางพิกัดเชิงขั้วซึ่งเขาไดอิงตาม "รูปแบบที่ 7 สําหรับวงกนหอย" และพิกัดอื่นๆอีก
เกาพิกัดในวารสาร Acta Eruditorum (1691), เจคอบ เบอรโนลลี (Jacob Bernoulli) ใชระบบรวมกับจุดบน
เสนที่เรียกวา ขั้ว และ แกนเชิงขั้ว ตามลําดับ พิกัดเปนระยะทางจากขั้วและมุมจากแกนเชิงขั้ว งานของเบอร
โนลลีครอบคลุมไปถึงการพบรัศมีความโคงของเสนโคงที่อยูในพิกัดนี้
คําวา พิกัดเชิงขั้ว โดยแทจริงแลวนาจะมาจากเกโกรีโอ ฟอนตานา (Gregorio Fontana) นักคณิตศาสตรชาว
อิตาลีในสมัยคริสตศตวรรษที่ 18 และคํานี้ปรากฏเปนภาษาอังกฤษในงานแปลของ จอรจ พีคอก (George
Peacock) ที่ชื่อ แคลคูลัสเชิงอนุพันธและปริพันธ ของลากรัซ (Lacroix) ในป ค.ศ. 1816[8][9]
อเล็กซิส คลา
เราตเปนคนแรกที่คิดพิกัดเชิงขั้วในรูปแบบสามมิติ และเลออนฮารด ออยเลอรเปนคนแรกที่นํามาใชงานจริง
สัญนิยม
เสนกริดขั้วและแถบบอกมุมในแตละองศา
พิกัดรัศมีมักใช r แสดงแทนและพิกัดมุมใช θ หรือ t แสดงแทน
มุมในเครื่องหมายขั้ว ทั่วไปถูกแสดงอยูในรูปแบบองศาหรือเรเดียน (2π rad เทากับ 360°) องศาถูกใชใน
การเดินเรือ, การสํารวจ, และมีการนําไปประยุกตใชในหลายสาขา ขณะที่เรเดียนโดยทั่วไปอยูใน
คณิตศาสตรและคณิตศาสตรฟสิกส
ในหลายๆบริบท พิกัดมุมบวกหมายความวามุม θ ถูกวัดในทิศทวนเข็มนาฬิกาจากแกนและมีคาพิกัดมุมลบ
เมื่อวัดในทิศตามเข็มนาฬิกา ในเอกสารทางคณิตศาสตร บอยครั้งแกนเชิงขั้วถูกลากในแนวนอนและไปทาง
ทางขวา
ความพิเศษของพิกัดเชิงขั้ว
ทุกตัวเลขของการหมุนครบรอบ (360°) พิกัดมุมจะไมเปลี่ยนทิศทาง และพิกัดรัศมีลบแสดงถึงระยะทางซึ่ง
ไดจากการวัดเหมือนพิกัดรัศมีบวกแตมีทิศทางตรงขาม ดังนั้นในจุดเดียวกันสามารถแสดงดวยตัวเลขไม
สิ้นสุดที่มีพิกัดเชิงขั้วตางกัน (r, θ ± n×360°) หรือ (−r, θ ± (2n + 1) 180°) เมื่อ n คือจํานวนเต็มใดๆยิ่งไป
กวานั้น ขั้วเองสามารถแสดงแทนดวย (0, θ) สําหรับมุม θ ใดๆ
เมื่อตองการแสดงแทนจุดใดๆ ปกติใช r เปนจํานวนไมเปนลบ (r ≥ 0) และ θ ในชวง [0, 360°) หรือ
(−180°, 180°] (ในเรเดียน, [0, 2π) หรือ (−π, π]) และตองเลือกแอซิมัทสําหรับขั้ว เชน θ = 0
ความสัมพันธระหวางพิกัดคารทีเซียนกับพิกัดเชิงขั้ว
แผนภาพความสัมพันธระหวางพิกัดเชิงขั้วและพิกัดคารทีเซียน
คาของพิกัดเชิงขั้ว r และ θ สามารถแปลงเปนพิกัดคารทีเซียน x and y โดยใชฟงกชันตรีโกณมิติไซนและ
โคไซน:
ขณะที่คาของพิกัดคารทีเซียน x และ y ก็สามารถแปลงเปนพิกัดเชิงขั้ว r โดย
(ตามทฤษฎีบทพีทาโกรัส) และ
ทุกสูตรเหลานี้สมมุติวาขั้วคือจุดกําเนิดคารทีเซียน (0,0) แกนเชิงขั้วคือแกนคารทีเซียน x และทิศทางของ
แกนคารทีเซียน y มีแอซิมัท +π/2 rad = +90° (แทนที่ −π/2) ฟงกชันอารกไซนคือสวนกลับของฟงกชัน
ไซนซึ่งสมมุติแทนที่ดวยมุมในพิสัย [−π/2,+π/2] = [−90°,+90°]
สูตรสําหรับ θ นอกเหนือจากการแทนที่ดวยมุมในพิสัย [-π/2,+3π/2) = [−90°,+270°)
θ ในชวง [0, 2π) อาจใช
ฟงกชันอารกแทนเปนสวนกลับของฟงกชันแทนเจนตซึ่งสมมุติแทนที่ดวยมุมในพิสัย (−π/2,+π/2) =
(−90°,+90°)
θ ในชวง (−π, π] อาจใช[14]
ในภาษาโปรแกรมสมัยใหมมีฟงกชันที่จะคํานวณหาพิกัดมุม θ เพียงใหคา x และ y โดยไมตองใหอะไร
เพิ่มเติม เชน ฟงกชัน atan2 (y,x) ในภาษาซี และ atan (y,x) ในคอมมอน ลิซป (Common Lisp) ในทั้งสอง
กรณีนั้น ผลที่ไดเปนมุมในเรเดียนในพิสัย (−π, π]
ความสัมพันธระหวางพิกัดเชิงขั้วและพิกัดฉาก
เนื่องจากทั้งระบบพิกัดเชิงขั้วและระบบพิกัดฉากเปนระบบที่ใชอางอิงจุดตาง ๆ บนระนาบดวยกันทั้ง
สองระบบ ดังนั้นถากําหนดใหขั้วของระบบพิกัดเชิงขั้วอยูที่จุดกําเนิดของระบบพิกัดฉาก แกนเชิงขั้วของ
ระบบพิกัดเชิงขั้วอยูที่แกน X ดานบวกของระบบพิกัดฉาก และให P เปนจุดใด ๆ ที่มีพิกัดเชิงขั้ว
เปน (r, q) และพิกัดฉากเปน (x,y) แลว จะไดความสัมพันธของพิกัดของทั้งสองระบบ ดังนี้
y (x,y) (r, q)
r y = r sin q
O x = r cos q
x = r cos q , y = r sin q
ความสัมพันธดังกลาวสะดวกที่จะหาคา x และ y เมื่อทราบคา r และ q
ในทางกลับกัน ถาตองการหาคา r และ q เมื่อทราบคา x และ y สามารถใชเอกลักษณ sin2
q+ cos2
q =
1 และ tan q = ปรับเปลี่ยนความสัมพันธขางบนใหมไดเปน
r2
= x2
+ y2
,
tan q = เมื่อ x ¹ 0
ตัวอยางที่ 2.1
จงหาพิกัดฉากของจุด ที่มีพิกัดเชิงขั้วเปน (6, )
วิธีทํา จากพิกัดเชิงขั้วของจุด (6, ) จะไดวา r = 6, q =
x = r cos q = 6 cos = 6( ) = -3
y = r sin q = 6 sin = 6( ) =
นั่นคือ พิกัดฉากของจุดที่ตองการ คือ (-3, )
ที่มา:https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%
9E%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4
%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%A7
https://www.youtube.com/watch?v=y5zwVNTupQ8
http://home.npru.ac.th/teerawat/Cal2_Web/unit21.htm

More Related Content

What's hot

ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014Nattakarn Namsawad
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยguest00db6d99
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยguest00db6d99
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นsawed kodnara
 
สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7Sammy'Zawa Zatanz
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)sawed kodnara
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1Nitikan2539
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกguest694cc9f
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกguest694cc9f
 
สมการเชิงเส้น
สมการเชิงเส้นสมการเชิงเส้น
สมการเชิงเส้นguesta6fb6b
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์guesta3302b1
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติPao Pro
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติmou38
 

What's hot (16)

ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
สรุปสูตรตรีโกณมิติ
สรุปสูตรตรีโกณมิติสรุปสูตรตรีโกณมิติ
สรุปสูตรตรีโกณมิติ
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
 
สมการเชิงเส้น
สมการเชิงเส้นสมการเชิงเส้น
สมการเชิงเส้น
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์
 
Calculus2
Calculus2Calculus2
Calculus2
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติ
 
111
111111
111
 

More from Siwimol Wannasing

More from Siwimol Wannasing (10)

พาราโบลา
พาราโบลาพาราโบลา
พาราโบลา
 
วงรี
วงรีวงรี
วงรี
 
วงกลม
วงกลมวงกลม
วงกลม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆบทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรงระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
 

ระบบพิกัดเชิงขั้ว

  • 1. ระบบพิกัดเชิงขั้ว ในทางคณิตศาสตร ระบบพิกัดเชิงขั้ว (อังกฤษ: polar coordinate system) คือระบบคาพิกัดสองมิติใน แตละจุดบนระนาบถูกกําหนดโดยระยะทางจากจุดตรึงและมุมจากทิศทางตรึง จุดตรึง (เหมือนจุดกําเนิดของระบบพิกัดคารทีเซียน) เรียกวาขั้ว, และลากรังสีจากขั้วเขากับทิศทางตรึงคือ แกนเชิงขั้ว ระยะทางจากขั้วเรียกวาพิกัดรัศมีหรือรัศมี และมุมคือพิกัดมุม, มุมเชิงขั้ว, หรือมุมทิศ ประวัติ มีการนําแนวคิดเรื่องมุมและรัศมีมาใชตั้งแตสมัยโบราณในหนึ่งสหัสวรรษกอนคริสตศักราช นักดารา ศาสตรชาวกรีกที่ชื่อฮิปปารคัส (190-120 BCE) สรางตารางฟงกชันคอรดที่ใหความยาวของคอรดสําหรับแต ละมุม และมีการอางอิงวาเขาใชระบบพิกัดเชิงขั้วในการพิสูจนตําแหนงของดวงดาวใน On Spirals (วาดวย เสนเกลียว) อารคิมิดีสบรรยายถึงวงกนหอยอารคิมิดีสวารัศมีของฟงกชันขึ้นกับมุม อยางไรก็ตามสิ่งที่ชาว กรีกเหลานี้ทําก็ยังไมขยายออกไปถึงระบบพิกัดเชิงขั้วที่สมบูรณ ในคริสตศตวรรษที่ 9 นักคณิตศาสตรชาวเปอรเซียที่ชื่อ ฮะบัซ อัล-ฮะซับ อัล-มารวะซิ (Habash al-Hasib al- Marwazi) ใชวิธีตรีโกณมิติเชิงทรงกลมและการฉายแผนที่เพื่อที่จะแปลงผันพิกัดเชิงขั้วไปเปนระบบพิกัดที่ แตกตางโดยมุงความสนใจไปยังจุดจําเพาะบนรูปทรงกลม ในที่นี้คือกิบลัตมีทิศทางสูมักกะหฺ นักภูมิศาสตร ชาวเปอรเซียที่ชื่อ อะบู รอยฮาน บิรูนี (Abū Rayhān Bīrūnī) (973-1048) พัฒนาแนวคิดซึ่งดูเหมือนจะ ใกลเคียงกับระบบพิกัดเชิงขั้วราวๆคริสตศตวรรษ 1025 เขาเปนคนแรกที่บรรยายถึงการฉายที่ระยะหาง เทากันของแอซมัทเทากับขั้วของทรงกลมฟา มีรายงานที่ตางกันของการเริ่มตนของพิกัดเชิงขั้วตามสวนหนึ่งของรูปนัยระบบพิกัด Origin of Polar Coordinates (กําเนิดพิกัดเชิงขั้ว) ประวัติของพิกัดนี้ถูกบรรยายโดยจูเลียน โลเวล โคลลิดจ (Julian Lowell Coolidge) ศาสตราจารยฮารวารด เกรกัวร เดอ แชง-แวงซอง (Grégoire de Saint-Vincent) และ โบนาเวนตูรา คาวาลิเอริ (Bonaventura Cavalieri) ตางเริ่มนําแนวคิดมาใชในกลางคริสตศตวรรษที่ 7 แชง-แวงซองเขียนถึง พิกัดเชิงขั้วโดยการสวนตัวในป ค.ศ. 1625 และตีพิมพงานของเขาในป ค.ศ. 1647 ขณะที่คาวาลิเอริตีพิมพใน ป ค.ศ. 1635 และฉบับที่ถูกตองในป ค.ศ. 1653 คาวาลิเอริเปนบุคคลแรกที่ใชพิกัดเชิงขั้วแกปญหาเกี่ยวกับ พื้นที่ในวงกนหอยอารคิมิดีส ตอมาแบลส ปาสกาลไดใชพิกัดเชิงขั้วคํานวณหาความยาวของสวนโคงของรูป พาราโบลา
  • 2. ใน Method of Fluxions (วิธีการไหล) (เขียนขึ้นในป ค.ศ. 1671, ตีพิมพในป ค.ศ. 1736) เซอรไอแซก นิวตัน พิเคราะหการแปลงระหวางพิกัดเชิงขั้วซึ่งเขาไดอิงตาม "รูปแบบที่ 7 สําหรับวงกนหอย" และพิกัดอื่นๆอีก เกาพิกัดในวารสาร Acta Eruditorum (1691), เจคอบ เบอรโนลลี (Jacob Bernoulli) ใชระบบรวมกับจุดบน เสนที่เรียกวา ขั้ว และ แกนเชิงขั้ว ตามลําดับ พิกัดเปนระยะทางจากขั้วและมุมจากแกนเชิงขั้ว งานของเบอร โนลลีครอบคลุมไปถึงการพบรัศมีความโคงของเสนโคงที่อยูในพิกัดนี้ คําวา พิกัดเชิงขั้ว โดยแทจริงแลวนาจะมาจากเกโกรีโอ ฟอนตานา (Gregorio Fontana) นักคณิตศาสตรชาว อิตาลีในสมัยคริสตศตวรรษที่ 18 และคํานี้ปรากฏเปนภาษาอังกฤษในงานแปลของ จอรจ พีคอก (George Peacock) ที่ชื่อ แคลคูลัสเชิงอนุพันธและปริพันธ ของลากรัซ (Lacroix) ในป ค.ศ. 1816[8][9] อเล็กซิส คลา เราตเปนคนแรกที่คิดพิกัดเชิงขั้วในรูปแบบสามมิติ และเลออนฮารด ออยเลอรเปนคนแรกที่นํามาใชงานจริง สัญนิยม เสนกริดขั้วและแถบบอกมุมในแตละองศา พิกัดรัศมีมักใช r แสดงแทนและพิกัดมุมใช θ หรือ t แสดงแทน มุมในเครื่องหมายขั้ว ทั่วไปถูกแสดงอยูในรูปแบบองศาหรือเรเดียน (2π rad เทากับ 360°) องศาถูกใชใน การเดินเรือ, การสํารวจ, และมีการนําไปประยุกตใชในหลายสาขา ขณะที่เรเดียนโดยทั่วไปอยูใน คณิตศาสตรและคณิตศาสตรฟสิกส ในหลายๆบริบท พิกัดมุมบวกหมายความวามุม θ ถูกวัดในทิศทวนเข็มนาฬิกาจากแกนและมีคาพิกัดมุมลบ เมื่อวัดในทิศตามเข็มนาฬิกา ในเอกสารทางคณิตศาสตร บอยครั้งแกนเชิงขั้วถูกลากในแนวนอนและไปทาง ทางขวา ความพิเศษของพิกัดเชิงขั้ว ทุกตัวเลขของการหมุนครบรอบ (360°) พิกัดมุมจะไมเปลี่ยนทิศทาง และพิกัดรัศมีลบแสดงถึงระยะทางซึ่ง ไดจากการวัดเหมือนพิกัดรัศมีบวกแตมีทิศทางตรงขาม ดังนั้นในจุดเดียวกันสามารถแสดงดวยตัวเลขไม สิ้นสุดที่มีพิกัดเชิงขั้วตางกัน (r, θ ± n×360°) หรือ (−r, θ ± (2n + 1) 180°) เมื่อ n คือจํานวนเต็มใดๆยิ่งไป กวานั้น ขั้วเองสามารถแสดงแทนดวย (0, θ) สําหรับมุม θ ใดๆ
  • 3. เมื่อตองการแสดงแทนจุดใดๆ ปกติใช r เปนจํานวนไมเปนลบ (r ≥ 0) และ θ ในชวง [0, 360°) หรือ (−180°, 180°] (ในเรเดียน, [0, 2π) หรือ (−π, π]) และตองเลือกแอซิมัทสําหรับขั้ว เชน θ = 0 ความสัมพันธระหวางพิกัดคารทีเซียนกับพิกัดเชิงขั้ว แผนภาพความสัมพันธระหวางพิกัดเชิงขั้วและพิกัดคารทีเซียน คาของพิกัดเชิงขั้ว r และ θ สามารถแปลงเปนพิกัดคารทีเซียน x and y โดยใชฟงกชันตรีโกณมิติไซนและ โคไซน: ขณะที่คาของพิกัดคารทีเซียน x และ y ก็สามารถแปลงเปนพิกัดเชิงขั้ว r โดย (ตามทฤษฎีบทพีทาโกรัส) และ ทุกสูตรเหลานี้สมมุติวาขั้วคือจุดกําเนิดคารทีเซียน (0,0) แกนเชิงขั้วคือแกนคารทีเซียน x และทิศทางของ แกนคารทีเซียน y มีแอซิมัท +π/2 rad = +90° (แทนที่ −π/2) ฟงกชันอารกไซนคือสวนกลับของฟงกชัน ไซนซึ่งสมมุติแทนที่ดวยมุมในพิสัย [−π/2,+π/2] = [−90°,+90°] สูตรสําหรับ θ นอกเหนือจากการแทนที่ดวยมุมในพิสัย [-π/2,+3π/2) = [−90°,+270°) θ ในชวง [0, 2π) อาจใช ฟงกชันอารกแทนเปนสวนกลับของฟงกชันแทนเจนตซึ่งสมมุติแทนที่ดวยมุมในพิสัย (−π/2,+π/2) = (−90°,+90°) θ ในชวง (−π, π] อาจใช[14] ในภาษาโปรแกรมสมัยใหมมีฟงกชันที่จะคํานวณหาพิกัดมุม θ เพียงใหคา x และ y โดยไมตองใหอะไร เพิ่มเติม เชน ฟงกชัน atan2 (y,x) ในภาษาซี และ atan (y,x) ในคอมมอน ลิซป (Common Lisp) ในทั้งสอง กรณีนั้น ผลที่ไดเปนมุมในเรเดียนในพิสัย (−π, π]
  • 4. ความสัมพันธระหวางพิกัดเชิงขั้วและพิกัดฉาก เนื่องจากทั้งระบบพิกัดเชิงขั้วและระบบพิกัดฉากเปนระบบที่ใชอางอิงจุดตาง ๆ บนระนาบดวยกันทั้ง สองระบบ ดังนั้นถากําหนดใหขั้วของระบบพิกัดเชิงขั้วอยูที่จุดกําเนิดของระบบพิกัดฉาก แกนเชิงขั้วของ ระบบพิกัดเชิงขั้วอยูที่แกน X ดานบวกของระบบพิกัดฉาก และให P เปนจุดใด ๆ ที่มีพิกัดเชิงขั้ว เปน (r, q) และพิกัดฉากเปน (x,y) แลว จะไดความสัมพันธของพิกัดของทั้งสองระบบ ดังนี้ y (x,y) (r, q) r y = r sin q O x = r cos q x = r cos q , y = r sin q ความสัมพันธดังกลาวสะดวกที่จะหาคา x และ y เมื่อทราบคา r และ q ในทางกลับกัน ถาตองการหาคา r และ q เมื่อทราบคา x และ y สามารถใชเอกลักษณ sin2 q+ cos2 q = 1 และ tan q = ปรับเปลี่ยนความสัมพันธขางบนใหมไดเปน r2 = x2 + y2 , tan q = เมื่อ x ¹ 0
  • 5. ตัวอยางที่ 2.1 จงหาพิกัดฉากของจุด ที่มีพิกัดเชิงขั้วเปน (6, ) วิธีทํา จากพิกัดเชิงขั้วของจุด (6, ) จะไดวา r = 6, q = x = r cos q = 6 cos = 6( ) = -3 y = r sin q = 6 sin = 6( ) = นั่นคือ พิกัดฉากของจุดที่ตองการ คือ (-3, ) ที่มา:https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8% 9E%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4 %E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%A7 https://www.youtube.com/watch?v=y5zwVNTupQ8 http://home.npru.ac.th/teerawat/Cal2_Web/unit21.htm