SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรง (Distance Between a Point and a Line)
ให้ L เป็นเส้นตรงบนระนาบ และ P(x1,y1) เป็นจุดที่อยู่ห่าง
จาก L เท่ากับ d ให้ L1 เป็นเส้นตรงที่ขนานกับ L และผ่านจุด P(x1,y1)
ถ้าสมการของ L แบบนอร์มัลเป็น x cos q + y sin q – p = 0และถ้า P(x1,y1) และจุดกาเนิดอยู่คนละ
ข้างของเส้นตรง L แล้ว สมการของ L1 แบบนอร์มัลจะเป็น x cos q + y sin q – (p + d) = 0
เนื่องจาก P(x1,y1) อยู่บนเส้นตรง L1 พิกัดของจุด P ย่อมสอดคล้องกับสมการ
ของ L1 นั่นคือ x1 cos q + y1 sin q – (p + d) = 0
หรือ d = x1 cos q + y1 sin q – p
ถ้า P(x1,y1) และจุดกาเนินอยู่ข้างเดียวกันของเส้นตรง L แล้ว สมการของ L1 แบบนอร์
มัลจะเป็น
x cos q + y sin q – (p + d) = 0
และเพราะว่าจุด P สอดคล้องกับสมการของ L1 ดังนั้น
x1cos q + y1sin q - (p – d) = 0
d = -(x1cos q + y1sin q - p)
d = |x1cos q + y1sin q - p|
นั่นคือ ถ้า Ax + By + C = 0 เป็นสมการรูปทั่วไปของเส้นตรง L
ระยะจากจุด P(x1,y1) ถึงเส้นตรง L คือ
d =
ทฤษฎีบท ระยะระหว่างจุด P(x1,y1) และเส้นตรง L ที่มีสมการเป็น Ax + By + C = 0
มีค่าเท่ากับ d =
ที่มา : http://home.npru.ac.th/teerawat/Cal1_Web/chap17.htm
https://www.youtube.com/watch?v=Ar5etMEWhfE

More Related Content

More from Siwimol Wannasing

บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆบทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆSiwimol Wannasing
 
ระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลมระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลมSiwimol Wannasing
 
ระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้วระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้วSiwimol Wannasing
 

More from Siwimol Wannasing (7)

บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆบทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
ระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลมระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลม
 
ระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้วระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้ว
 

ระยะระหว่างจุดและเส้นตรง

  • 1. ระยะระหว่างจุดและเส้นตรง (Distance Between a Point and a Line) ให้ L เป็นเส้นตรงบนระนาบ และ P(x1,y1) เป็นจุดที่อยู่ห่าง จาก L เท่ากับ d ให้ L1 เป็นเส้นตรงที่ขนานกับ L และผ่านจุด P(x1,y1) ถ้าสมการของ L แบบนอร์มัลเป็น x cos q + y sin q – p = 0และถ้า P(x1,y1) และจุดกาเนิดอยู่คนละ ข้างของเส้นตรง L แล้ว สมการของ L1 แบบนอร์มัลจะเป็น x cos q + y sin q – (p + d) = 0 เนื่องจาก P(x1,y1) อยู่บนเส้นตรง L1 พิกัดของจุด P ย่อมสอดคล้องกับสมการ ของ L1 นั่นคือ x1 cos q + y1 sin q – (p + d) = 0 หรือ d = x1 cos q + y1 sin q – p ถ้า P(x1,y1) และจุดกาเนินอยู่ข้างเดียวกันของเส้นตรง L แล้ว สมการของ L1 แบบนอร์ มัลจะเป็น x cos q + y sin q – (p + d) = 0 และเพราะว่าจุด P สอดคล้องกับสมการของ L1 ดังนั้น x1cos q + y1sin q - (p – d) = 0 d = -(x1cos q + y1sin q - p) d = |x1cos q + y1sin q - p| นั่นคือ ถ้า Ax + By + C = 0 เป็นสมการรูปทั่วไปของเส้นตรง L ระยะจากจุด P(x1,y1) ถึงเส้นตรง L คือ d = ทฤษฎีบท ระยะระหว่างจุด P(x1,y1) และเส้นตรง L ที่มีสมการเป็น Ax + By + C = 0 มีค่าเท่ากับ d =