SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
นิยามสมการวงรี
วงรี (Ellipse) คือเซตของจุดทั้งหมดในระนาบซึ่งผลบวกของระยะทางจากจุดใดๆจุดหนึ่งในเซตไปยังจุด
คงที่ 2 จุดมีค่าคงตัว
จากบทนิยามนี้ มีวิธีง่ายๆ ในการวาดรูปวงรี (ดูรูปที่ 2) วางกระดาษบนกระดานวาดรูปปักหมุด 2 ตัวที่
จุดต่างกัน ใช้เป็นโฟกัสของวงรี ตัดเชือกเส้นหนึ่งยาวกว่าระยะทางระหว่างหมุดทั้งสอง ผูกปลายเชือกแต่ละ
ข้างกับหมุด โดยใช้ดินสอรั้งเชื่อให้ตึงตลอดเวลา ขณะที่ค่อยๆ เคลื่อนดินสอรอบโฟกัส รอยดินสอที่เกิดขึ้น
จะเป็นรูปวงรีเพราะผลบวกของระยะทางจากจุดปลายดินสอถึงโฟกัสทั้งสองเท่ากับความยาวของเชือกที่มี
ความยาวคงตัวเสมอ
ถ้าเชือกยาวกว่าระยะห่างระหว่างโฟกัสเพียงเล็กน้อย วงรีที่วาดได้จะมีรูปร่างเรียวยาว ดังเช่นในรูปที่ 3ก
แต่ถ้าโฟกัสอยู่ใกล้กันเมื่อเปรียบเทียบกับความยาวของเชือกวงรีที่วาดได้จะเกือบกลม ดังเช่นในรูปทางขวา
ยิ่งถ้าจุดโฟกัสใกล้กันเท่าไหร่ ก็จะยิ่งกลมขึ้นๆ
ส่วนประกอบของวงรี
F, F’ เป็นจุดคงที่ เรียกว่าจุดโฟกัส (Focus)
V, V’ เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุดโฟกัส และมีจุดปลายทั้งสองเป็นจุดยอด เรียกว่า แกนนอก
B, B’ เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุดศูนย์กลางและตั้งฉากกับแกนเอก โดยมีจุดปลายทั้งสองอยู่บนวงรี เรียกว่า
แกนโท
m1m2, m1‘m2‘ เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุดโฟกัส และตั้งฉากกันแกนของรูป เรียกว่าเส้นลาตัสเรกตัม
วงรีที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด (0,0)
สรุปสมการวงรี
เราอาจแบ่งวงรีออกเป็น 2 แบบ ตามลักษณะการวางตัวตามแนวแกน x และแกน y ดังนี้
1) วงรีที่วางตัวในแนวแกน x (แนวนอน)
สมการวงรี:
ระยะโฟกัส (F):
แกนที่แบ่งครึ่งรูปวงรี ได้แก่ แกนเอก (ยาว=2a) ซึ่งแสดงความยาวของวงรี
ส่วนอีกแกนเรียกว่า แกนโท (ยาว=2b) แสดงถึงความกว้างของวงรี ซึ่ง a>b เสมอ
จากรูปข้างบน ถ้าจุดกาเนิดอยู่ที่ C(h, k) จะได้พิกัดของจุดปลายแกนทั้ง 4 จุด ดังนี้
พิกัดของจุดปลายแกนเอก A1 คือ (h-a, k)
พิกัดของจุดปลายแกนเอก A2 คือ (h+a, k)
พิกัดของจุดปลายแกนโท B1 คือ (h, k+b)
พิกัดของจุดปลายแกนโท B2 คือ (h, k-b)
ข้อสังเกตวงรี:
1. สมการวงรีจะคล้ายกับวงกลม วิธีสังเกตว่าสมการนี้ใช่วงรีหรือไม่ ให้สังเกตโดย
- จัดรูปให้เป็น x2
และ y2
สัมประสิทธิ์หน้าทั้งสองเทอมนี้เป็นค่าบวกแต่มีค่าไม่เท่ากัน
(ตัวส่วนไม่เท่ากัน ซึ่งเป็นการขยายระยะแกนเอกและแกนโท)
- ด้านขวาของสมการเป็น 1
2. วงรีวางตัวแบบไหน ให้ดูจากแกนเอก แกนโท เพราะแกนเอกยาวกว่าแกนโทเสมอ นั่นคือ a>b เสมอ
สาหรับตัวส่วน a, b จะเป็นความยาวครึ่งหนึ่งของแกนเอก และแกนโทตามลาดับ
- ถ้า a อยู่กับ x และ b อยู่กับ y แสดงว่าแกนเอกของวงรีวางนอนขนานไปกับแกน x เหมือนในรูปตัวอย่าง
ข้างบน
- ถ้า a อยู่กับ y และ b อยู่กับ x แสดงว่าแกนเอกของวงรีวางตั้งขึ้นขนานไปกับแกน y ดังรูปในตัวอย่าง
ข้างล่างนี้
2) วงรีที่วางตัวในแนวแกน y (แนวตั้ง)
สมการวงรี:
ระยะโฟกัส (F):
จากรูป ถ้าจุดกาเนิดอยู่ที่ C(h, k) จะได้พิกัดของจุดปลายแกนทั้ง 4 จุด ดังนี้
พิกัดของจุดปลายแกนเอก B1 คือ (h, k+a)
พิกัดของจุดปลายแกนเอก B2 คือ (h, k-a)
พิกัดของจุดปลายแกนโท A1 คือ (h-b, k)
พิกัดของจุดปลายแกนโท A2 คือ (h+b, k)
โจทย์ แกนเอกของวงรีเป็นส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดตัดของวงกลม x2+y2=169x2+y2=169 กับ
วงกลม x2+y2+4y=149x2+y2+4y=149และโฟกัสจุดหนึ่งของวงรีอยู่บนเส้นตรง x+45√=0x+45=0 สมการ
วงรีตรงกับข้อใดต่อไปนี้
1. 4x2
+9y2
−160x=0
2.4x2
+9y2
+90y−351=0
3.9x2
+4y2
+10x−17=0
4.9x2
+4y2
−80y+48=0
เฉลยละเอียด
1. หาจุดตัดของวงกลมทั้งสอง
แทนค่า x2
=169−y2x2=169 − y2
ลงในอีกสมการวงกลม
(169−y2
)+y2
+4y−1494y = 0−20−5(169−y2)+y2
+4y−149 = 04y=−20y=−5
แทนค่า y=−5y=−5 ลงในสมการวงกลม x2+y2=169x2+y2=169 เพื่อหาจุดตัดจะได้ x=±12x=±12
ดังนั้นจุดตัดทั้งสอง คือ (−12,−5)(−12,−5) และ (12,−5)(12,−5)
2. วาดรูปประกอบ
พบว่าเป็นวงรีแนวนอนมีศูนย์กลางที่ (0,−5)(0,−5) มี a=12a=12 และ c=45√c=45
3. ใช้ความสัมพันธ์ a2−b2=c2a2−b2=c2 หาค่า bb ของวงรี
a2−b2122−b2b2b====c2(45√)2648a2−b2=c2122−b2=(45)2b2=64b=8
4. เขียนสมการวงรีและจัดให้อยู่ในรูปทั่วไป
x2122+(y+5)2824x2+9(y+5)24x2+9y2+90y−351===15760x2122+(y+5)282=14x2+9(y+5)2=5764x2+9y
2+90y−351=0
ตอบข้อ B ถูก
ที่มา : http://www.tewfree.com/%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B5-ellipse-
%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%
E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%A1-4/
http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewbulletin/188-
4+%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%81
%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A2+%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B5?
groupid=80

More Related Content

What's hot

ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟFern Monwalee
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
โจทย์ท้าทายความสามารถอัตราส่วนตรีโกณมิติ(ข้อสอบสมาคมฯ)
โจทย์ท้าทายความสามารถอัตราส่วนตรีโกณมิติ(ข้อสอบสมาคมฯ)โจทย์ท้าทายความสามารถอัตราส่วนตรีโกณมิติ(ข้อสอบสมาคมฯ)
โจทย์ท้าทายความสามารถอัตราส่วนตรีโกณมิติ(ข้อสอบสมาคมฯ)sawed kodnara
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfssusera0c3361
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดOwen Inkeaw
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 

What's hot (20)

ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
โจทย์ท้าทายความสามารถอัตราส่วนตรีโกณมิติ(ข้อสอบสมาคมฯ)
โจทย์ท้าทายความสามารถอัตราส่วนตรีโกณมิติ(ข้อสอบสมาคมฯ)โจทย์ท้าทายความสามารถอัตราส่วนตรีโกณมิติ(ข้อสอบสมาคมฯ)
โจทย์ท้าทายความสามารถอัตราส่วนตรีโกณมิติ(ข้อสอบสมาคมฯ)
 
Trigonometry1
Trigonometry1Trigonometry1
Trigonometry1
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
31201mid521
31201mid52131201mid521
31201mid521
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
 

More from Siwimol Wannasing

บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆบทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆSiwimol Wannasing
 
ระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลมระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลมSiwimol Wannasing
 
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรงระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรงSiwimol Wannasing
 
ระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้วระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้วSiwimol Wannasing
 

More from Siwimol Wannasing (11)

พาราโบลา
พาราโบลาพาราโบลา
พาราโบลา
 
วงกลม
วงกลมวงกลม
วงกลม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆบทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
ระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลมระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลม
 
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรงระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
 
ระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้วระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้ว
 

วงรี

  • 1. นิยามสมการวงรี วงรี (Ellipse) คือเซตของจุดทั้งหมดในระนาบซึ่งผลบวกของระยะทางจากจุดใดๆจุดหนึ่งในเซตไปยังจุด คงที่ 2 จุดมีค่าคงตัว จากบทนิยามนี้ มีวิธีง่ายๆ ในการวาดรูปวงรี (ดูรูปที่ 2) วางกระดาษบนกระดานวาดรูปปักหมุด 2 ตัวที่ จุดต่างกัน ใช้เป็นโฟกัสของวงรี ตัดเชือกเส้นหนึ่งยาวกว่าระยะทางระหว่างหมุดทั้งสอง ผูกปลายเชือกแต่ละ ข้างกับหมุด โดยใช้ดินสอรั้งเชื่อให้ตึงตลอดเวลา ขณะที่ค่อยๆ เคลื่อนดินสอรอบโฟกัส รอยดินสอที่เกิดขึ้น จะเป็นรูปวงรีเพราะผลบวกของระยะทางจากจุดปลายดินสอถึงโฟกัสทั้งสองเท่ากับความยาวของเชือกที่มี ความยาวคงตัวเสมอ ถ้าเชือกยาวกว่าระยะห่างระหว่างโฟกัสเพียงเล็กน้อย วงรีที่วาดได้จะมีรูปร่างเรียวยาว ดังเช่นในรูปที่ 3ก แต่ถ้าโฟกัสอยู่ใกล้กันเมื่อเปรียบเทียบกับความยาวของเชือกวงรีที่วาดได้จะเกือบกลม ดังเช่นในรูปทางขวา ยิ่งถ้าจุดโฟกัสใกล้กันเท่าไหร่ ก็จะยิ่งกลมขึ้นๆ
  • 2. ส่วนประกอบของวงรี F, F’ เป็นจุดคงที่ เรียกว่าจุดโฟกัส (Focus) V, V’ เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุดโฟกัส และมีจุดปลายทั้งสองเป็นจุดยอด เรียกว่า แกนนอก B, B’ เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุดศูนย์กลางและตั้งฉากกับแกนเอก โดยมีจุดปลายทั้งสองอยู่บนวงรี เรียกว่า แกนโท m1m2, m1‘m2‘ เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุดโฟกัส และตั้งฉากกันแกนของรูป เรียกว่าเส้นลาตัสเรกตัม วงรีที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด (0,0)
  • 3. สรุปสมการวงรี เราอาจแบ่งวงรีออกเป็น 2 แบบ ตามลักษณะการวางตัวตามแนวแกน x และแกน y ดังนี้ 1) วงรีที่วางตัวในแนวแกน x (แนวนอน) สมการวงรี: ระยะโฟกัส (F): แกนที่แบ่งครึ่งรูปวงรี ได้แก่ แกนเอก (ยาว=2a) ซึ่งแสดงความยาวของวงรี ส่วนอีกแกนเรียกว่า แกนโท (ยาว=2b) แสดงถึงความกว้างของวงรี ซึ่ง a>b เสมอ
  • 4. จากรูปข้างบน ถ้าจุดกาเนิดอยู่ที่ C(h, k) จะได้พิกัดของจุดปลายแกนทั้ง 4 จุด ดังนี้ พิกัดของจุดปลายแกนเอก A1 คือ (h-a, k) พิกัดของจุดปลายแกนเอก A2 คือ (h+a, k) พิกัดของจุดปลายแกนโท B1 คือ (h, k+b) พิกัดของจุดปลายแกนโท B2 คือ (h, k-b) ข้อสังเกตวงรี: 1. สมการวงรีจะคล้ายกับวงกลม วิธีสังเกตว่าสมการนี้ใช่วงรีหรือไม่ ให้สังเกตโดย - จัดรูปให้เป็น x2 และ y2 สัมประสิทธิ์หน้าทั้งสองเทอมนี้เป็นค่าบวกแต่มีค่าไม่เท่ากัน (ตัวส่วนไม่เท่ากัน ซึ่งเป็นการขยายระยะแกนเอกและแกนโท) - ด้านขวาของสมการเป็น 1 2. วงรีวางตัวแบบไหน ให้ดูจากแกนเอก แกนโท เพราะแกนเอกยาวกว่าแกนโทเสมอ นั่นคือ a>b เสมอ สาหรับตัวส่วน a, b จะเป็นความยาวครึ่งหนึ่งของแกนเอก และแกนโทตามลาดับ - ถ้า a อยู่กับ x และ b อยู่กับ y แสดงว่าแกนเอกของวงรีวางนอนขนานไปกับแกน x เหมือนในรูปตัวอย่าง ข้างบน - ถ้า a อยู่กับ y และ b อยู่กับ x แสดงว่าแกนเอกของวงรีวางตั้งขึ้นขนานไปกับแกน y ดังรูปในตัวอย่าง ข้างล่างนี้ 2) วงรีที่วางตัวในแนวแกน y (แนวตั้ง) สมการวงรี:
  • 5. ระยะโฟกัส (F): จากรูป ถ้าจุดกาเนิดอยู่ที่ C(h, k) จะได้พิกัดของจุดปลายแกนทั้ง 4 จุด ดังนี้ พิกัดของจุดปลายแกนเอก B1 คือ (h, k+a) พิกัดของจุดปลายแกนเอก B2 คือ (h, k-a) พิกัดของจุดปลายแกนโท A1 คือ (h-b, k) พิกัดของจุดปลายแกนโท A2 คือ (h+b, k) โจทย์ แกนเอกของวงรีเป็นส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดตัดของวงกลม x2+y2=169x2+y2=169 กับ วงกลม x2+y2+4y=149x2+y2+4y=149และโฟกัสจุดหนึ่งของวงรีอยู่บนเส้นตรง x+45√=0x+45=0 สมการ วงรีตรงกับข้อใดต่อไปนี้ 1. 4x2 +9y2 −160x=0 2.4x2 +9y2 +90y−351=0 3.9x2 +4y2 +10x−17=0 4.9x2 +4y2 −80y+48=0 เฉลยละเอียด 1. หาจุดตัดของวงกลมทั้งสอง แทนค่า x2 =169−y2x2=169 − y2 ลงในอีกสมการวงกลม (169−y2 )+y2 +4y−1494y = 0−20−5(169−y2)+y2 +4y−149 = 04y=−20y=−5 แทนค่า y=−5y=−5 ลงในสมการวงกลม x2+y2=169x2+y2=169 เพื่อหาจุดตัดจะได้ x=±12x=±12 ดังนั้นจุดตัดทั้งสอง คือ (−12,−5)(−12,−5) และ (12,−5)(12,−5) 2. วาดรูปประกอบ พบว่าเป็นวงรีแนวนอนมีศูนย์กลางที่ (0,−5)(0,−5) มี a=12a=12 และ c=45√c=45 3. ใช้ความสัมพันธ์ a2−b2=c2a2−b2=c2 หาค่า bb ของวงรี a2−b2122−b2b2b====c2(45√)2648a2−b2=c2122−b2=(45)2b2=64b=8
  • 6. 4. เขียนสมการวงรีและจัดให้อยู่ในรูปทั่วไป x2122+(y+5)2824x2+9(y+5)24x2+9y2+90y−351===15760x2122+(y+5)282=14x2+9(y+5)2=5764x2+9y 2+90y−351=0 ตอบข้อ B ถูก ที่มา : http://www.tewfree.com/%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B5-ellipse- %E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA% E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%A1-4/ http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewbulletin/188- 4+%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%81 %E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A2+%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B5? groupid=80