SlideShare a Scribd company logo
1 of 84
Download to read offline
เครื่องมือวัดไฟฟ้ากระแสตรง
(DIRECT-CURRENT METER)
บทที่ 4
ELECTRONIC MEASUREMENT AND
INSTRUMENT
DR.PRATYA MONGKOLWAI
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
เครื่องมืดวัดไฟฟ้ากระแสตรง
▸ 1. เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง
▸ 2. แอมมิเตอร์กระแสตรง (DC Ammeter)
▸ 3. โวลต์มิเตอร์กระแสตรง (DC Voltmeter)
▸ 4. การวัดความต้านทานโดยใช้ Ammeter
and Voltmeter
▸ 5. โอห์มมิเตอร์ (Ohmmeter)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
1. เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง
แสดงการทดลองของ เออร์เสตด
เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรงส่วนมาก อาศัยหลักการพื้นฐานของความสัมพันธ์ระหว่างสนามแม่เหล็ก และกระแสไฟฟ้าซึ่งถูกค้นพบ
โดย “ฮานส์ คริสเตียน เออร์เสตด” (Hans Christain Oersted) นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ในปี ค.ศ.1620 พบว่าสนามแม่
เหล็กจะเกิดขึ้นรอบๆ ตัวนำไฟฟ้าได้เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนำไฟฟ้า ซึ่งสามารถทดสอบสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้นได้โดย
การใช้เข็มทิศมาว่างใกล้ๆ กับตัวนำไฟฟ้า
กฎมือขวาของ
ไมเคิล ฟาราเดย์
กฎมือขวากำหนดทิศทางของ
สนามแม่เหล็กรอบๆ ตัวนำเมื่อ
มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
พัฒนาโดย
ลอร์ด เคลวิน
ใช้ขดลวดตัวนำมาพันเป็นขดวงกลมและ วางเข็ม
ทิศให้อยู่ตรงกลางของวงขดลวดเพื่อเพิ่มความไว
(Sensitivity) ต่อกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเป็นหลัก
การพื้นฐานของ กัลวาโนมิเตอร์ (Galvanometer)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
1.1 หลักการทำงานของกัลวาโนมิเตอร์ (GALVANOMETER)
กัลวาโนมิเตอร์ คือ เครื่องมือที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า
ให้เป็นพลังงานกล ซึ่งเป็นเครื่องวัดที่มีความไว และ
สามารถใช้ตรวจวัดค่ากระแสไฟฟ้าปริมาณน้อยๆ ได้ดี
เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรงที่เรียกว่า ซัสเพนชั่น กัลวาโนมิเตอร์
“กัลวาโนมิเตอร์เป็นเครื่องวัดกระแสไฟฟ้าที่ได้
พัฒนามาก่อนเครื่องวัดที่ใช้ขดลวดคลื่อนที่
(Moving Coil) ในปัจจุบันกัลวาโนมิเตอร์ไม่ค่อย
นิยมใช้กันมากนัก เพราะไม่สะดวกในการใช้งานใน
การวัด ที่มีการเคลื่อนที่อยู่บ่อยๆ แต่จะนิยมใช้ใน
ห้องปฏิบัติการที่ต้องการความไวสูงๆ”
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
1.2 เครื่องมือวัดชนิดขดลวดเคลื่อนที่ (MOVING COIL METER)
ในปี ค.ศ.1881 มีนักวิทยาศาสตร์ชื่อ แจ๊คคิวส์ ดี อาร์ซอนวอล (Jacques d’Arsonval) ได้พัฒนารูปแบบของกัลวา
โนมิเตอร์ชนิดขดลวดเคลื่อนที่ขึ้นมา หรือที่เรียกว่า มิเตอร์แบบพีเอ็มเอ็มซี (PMMC : Permanet Magnet Moving-
coil) ซึ่งใช้เป็นหลักการทางานของเครื่องวัดแบบอนาลอกที่ใช้ อยู่ในปัจจุบัน
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
1.2 เครื่องมือวัดชนิดขดลวดเคลื่อนที่ (MOVING COIL METER)
แสดงส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครื่องวัดชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หลักการทำงาน
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
การทำงานของเครื่องวัดชนิดขดลวดเคลื่อนที่ เมื่อมีกระแส
ไฟฟ้าไหลผ่านเข้าไปในขดลวด (Moving coil) จะเกิดเส้น
แรงแม่เหล็กขึ้นที่ขดลวดในทิศทางที่ทำให้เกิดแรงผลักดัน
ทำให้ขดลวด (Moving Coil) หมุนไปทางขวามือตามลำดับ
เรียกว่า “แรงบิด” เข็มที่ยึดติดอยู่กับขดลวด (Moving
Coil) จะเบี่ยงเบนจากตำแหน่งเดิม (0) ไปมากหรือน้อยจะ
ขึ้นอยู่กับกำลังของสนามแม่เหล็กที่ผลักกันและแรง บังคับ
ต้านกลับของสปริงแบบขด (Spriral Spring) ที่ยึดติดกับ
แกนเพลาขดลวดซึ่งปกติสปริงแบบขดก้นหอยนี้จะเป็นตัวที่
มีความเกี่ยวข้องกับสเกล (Scale) อ่านค่า โดยสปริงแบบ
ขดก้นหอยนี้จะถูกสร้างให้มีกำลังต้านที่สมดุลกับกระแส
ไฟฟ้าที่ไหลผ่านเข้าไปนในขดลวด (Moving coil) ค่าที่อ่าน
ได้จากสเกลก็คือ ค่า ปริมาณของกระแสไฟฟ้าที่วัดได้นั้น
เอง
แสดงลักษณะโครงสร้างชุดที่เคลื่อนที่ของเครื่องวัดไฟฟ้าแบบ PMMC
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
1.3 สเกลของเครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง
แรงบิดขับซึ่งเกิดจากการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้คอยล์หมุน (Moving coil) มีหน้าที่ทำให้ส่วนที่เคลื่อนไหวของเครื่องวัด (Meter
Movement) คือเข็มชี้และคอยล์หมุนเคลื่อนที่ปริมาณแรงบิดขับ หาได้จากสมการดังนี้
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
1.3 สเกลของเครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง
แสดงการจัดวางตำแหน่งเข็มชี้และสเกลในสนามแม่เหล็ก
ค่า N, B และ A ในสมการหาค่าแรงบิด จะมีค่าคงที่ นอกจากนี้เมื่อพิจารณาในรูป (a) จะเห็นว่าเข็มของเครื่องวัดกับทิศ
ทางของฟลักซ์แม่เหล็กตั้งฉากกัน ตลอดแนวการเคลื่องที่ของเข็มชี้ ดังนี้นจึงเขียนสมการหาค่าแรงบิดขับใหม่
ได้เป็นดังนี้
จากสมการจะพบว่าค่าแรงบิด T จะแปรผันตามค่ากระแส (I) เพียงอย่างเดียว ด้วยเหตุนี้สเกลแต่ละช่องของเครื่องวัด
ไฟฟ้ากระแสตรงจึงมีขนาดเท่ากันหรือมีลักษณะเป็นเชิงเส้น (Linear)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
1.4 พฤติกรรมไดนามิกส์ (DYNAMIC BEHAVIOR)
“พฤติกรรมไดนามิกส์ คือ ผลตอบ
สนองของความเร็ว, ความหน่วง,
overshoot เป็นต้น”
สามารถสังเกตเห็นได้จาก เมื่อมีกระแสไหลเข้าสู่ขดลวดที่มีเข็มชี้ติดอยู่
จะแกว่งไปมาอยู่ระยะหนึ่งจึงหยุดนิ่งได้ และการเคลื่อนที่ในสนามแม่
เหล็ก เกิดจากคุณสมบัติของ 3 ปริมาณ คือ
“แต่ในทางปฏิบัติการตอบสนองจะมีลักษณะ
การหน่วงที่ต่ำกว่าค่าวิกฤติเล็กน้อย”
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
1.5 การหน่วงทางกลไก (DAMPING MECHANISM)
การหน่วงทางกลไกของกัลวาโนมิเตอร์สามารถทำได้ 2 ทางคือ
1.การหน่วงเกิดจากการเคลื่อนที่ของขดลวดผ่านอากาศ และ
2.การหน่วงทางแม่เหล็กไฟฟ้า
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
1.6 ความไวในการวัด (SENSITIVITY)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
1.6 ความไวในการวัด (SENSITIVITY)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
1.6 ความไวในการวัด (SENSITIVITY)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
2. แอมมิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC AMMETER)
“แอมมิเตอร์เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดค่ากระแส
ไฟฟ้าในวงจรโดยอาศัยหลักการทำงานของ
เครื่องวัดชนิดคอยล์หมุนโดยมีตัวต้านทานต่อ
ขนาดกับส่วนที่เคลื่อนไหว”
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
2. แอมมิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC AMMETER)
“เครื่องวัดที่ใช้หลักการต่อตัวต้านทานขนาดเหมาะสมขนานกับส่วนที่เคลื่อนไหวของเครื่องวัด
ทำให้อ่านค่ากระแสไฟฟ้าได้จำนวนมากขึ้นเราเรียกว่า แอมมิเตอร์ สำหรับตัวต้านทานที่นำมา
ต่อขนานเพื่อขยายย่านการวัดของแอมมิเตอร์นี้เรียกว่า ตัวต้านทานชันท์ “
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
2. แอมมิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC AMMETER)
ความต้านทาน Rsh กับ Rm ต่อขนานกันจึง
ทำให้แรงดันตกคร่อมเท่ากันคือ
Vsh = Vm
IshRsh = ImRm
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
2. แอมมิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC AMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
2. แอมมิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC AMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
2.1 ไอร์ตัน ชันท์ (AYRTON SHUNT)
“ไอร์ตัน ชันท์ หรือเรียกว่า
Universal Shunt คือ การต่อตัว
ต้านทานขนานกับส่วนที่เคลื่อง
ไหวของเครื่องวัดตลอดเวลาเพื่อ
ขยายย่านการวัด”
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
2.1 ไอร์ตัน ชันท์ (AYRTON SHUNT)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
2.1 ไอร์ตัน ชันท์ (AYRTON SHUNT)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
2.1 ไอร์ตัน ชันท์ (AYRTON SHUNT)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
2.1 ไอร์ตัน ชันท์ (AYRTON SHUNT)
2.2 แอมมิเตอร์โหลดดิ้ง (AMMETER LOADING)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
2.3 AMMETER INSERTION EFFECT
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
2.3 AMMETER INSERTION EFFECT
“วงจรเมื่อยังไม่ต่อ
AMMETER กระแสจะมีค่า
เท่ากับ Ie”
“แต่เมื่อมี AMMETER มาต่อ
เข้ากับวงจร ทำให้กระแส Ie
เปลี่ยนไปเป็น Im”
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
2.3 AMMETER INSERTION EFFECT
ในการหาค่า error ในวงจรเมื่อต่อแอมมิเตอร์และเมื่อทราบค่าความต้านทานวงจรเทียบเคียง
(Thevenin equivalent circuit) และความต้านทานของแอมมิเตอร์
ตัวอย่าง ความต้านทานภายในของแอมมิเตอร์มีค่าเท่ากับ 78 โอห์ม เป็นความต้านทานที่ใช้วัดกระแสที่ไหลผ่าน ตัวต้านทาน
Rc จงหาเปอร์เซ็นต์ของค่า error ที่เกิดจากการอ่านค่าของการใช้มิเตอร์ในวงจร
เมื่อต่อแอมมิเตอร์เข้าไปในวงจรที่จุด X และ Y
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
2.3 AMMETER INSERTION EFFECT
ในการหาค่า error ในวงจรเมื่อต่อแอมมิเตอร์และเมื่อทราบค่าความต้านทานวงจรเทียบเคียง
(Thevenin equivalent circuit) และความต้านทานของแอมมิเตอร์
ตัวอย่าง ความต้านทานภายในของแอมมิเตอร์มีค่าเท่ากับ 78 โอห์ม เป็นความต้านทานที่ใช้วัดกระแสที่ไหลผ่าน ตัวต้านทาน
Rc จงหาเปอร์เซ็นต์ของค่า error ที่เกิดจากการอ่านค่าของการใช้มิเตอร์ในวงจร
ใช้หลักการ Thevenin’s equivalent circuit หา
ค่าความต้านทาน Rth
V-SHOCK
I-OPEN
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
2.3 AMMETER INSERTION EFFECT
ในการหาค่า error ในวงจรเมื่อต่อแอมมิเตอร์และเมื่อทราบค่าความต้านทานวงจรเทียบเคียง
(Thevenin equivalent circuit) และความต้านทานของแอมมิเตอร์
ตัวอย่าง ความต้านทานภายในของแอมมิเตอร์มีค่าเท่ากับ 78 โอห์ม เป็นความต้านทานที่ใช้วัดกระแสที่ไหลผ่าน ตัวต้านทาน
Rc จงหาเปอร์เซ็นต์ของค่า error ที่เกิดจากการอ่านค่าของการใช้มิเตอร์ในวงจร
ใช้หลักการ Thevenin’s equivalent circuit หา
ค่าความต้านทาน Rth
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
2.3 AMMETER INSERTION EFFECT
ในการหาค่า error ในวงจรเมื่อต่อแอมมิเตอร์และเมื่อทราบค่าความต้านทานวงจรเทียบเคียง
(Thevenin equivalent circuit) และความต้านทานของแอมมิเตอร์
ตัวอย่าง ความต้านทานภายในของแอมมิเตอร์มีค่าเท่ากับ 78 โอห์ม เป็นความต้านทานที่ใช้วัดกระแสที่ไหลผ่าน ตัวต้านทาน
Rc จงหาเปอร์เซ็นต์ของค่า error ที่เกิดจากการอ่านค่าของการใช้มิเตอร์ในวงจร
ใช้หลักการ Thevenin’s equivalent circuit หา
ค่าความต้านทาน Rth
กระแสที่ไหลผ่านจะมีค่าเพียง 95% และผลที่ได้จากการวัดจะ
มีค่า error = 5% หาค่าPercentage ของ error ได้จาก
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3. โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC VOLTMETER)
“โวลต์มิเตอร์เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดค่าแรงดัน
ไฟฟ้าในวงจรโดยอาศัยหลักการทำงานของ
เครื่องวัดชนิดคอยล์หมุนโดยมีตัวต้านทานต่อ
อนุกรม กับส่วนที่เคลื่อนไหว”
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3. โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC VOLTMETER)
“ถ้าต้องการขยายย่านการวัดของโวลต์มิเตอร์จะ
ต้องนำตัวต้านทานมาต่ออนุกรมกับส่วนเคลื่อนที่
ของเครื่องวัด เรียกตัวต้านทานนั้นว่า ตัวต้านทาน
มัลติพลาย (Multiplier : Rs) ”
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3. โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC VOLTMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3. โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC VOLTMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3. โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC VOLTMETER)
RS - วิธีที่1
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3. โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC VOLTMETER)
RS - วิธีที่2
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3.1 โวลต์มิเตอร์หลายย่านวัด (MULTIRANGE VOLTMETER)
“โวลต์มิเตอร์ที่มีหลายย่านการวัด คือ
โวลต์มิเตอร์ที่มีความต้านทานมัลติพลาย
หลายๆ ค่าต่อกับวงจรของส่วนที่
เคลื่อนไหว โดยมีสวิตซ์เลือกย่านการวัด
เป็นตัวกลางในการต่อตัวต้านทานที่มี
ความเหมาะสมกับย่านการวัดนั้นๆ”
โวลต์มิเตอร์ที่มีหลายย่านการวัด
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3.1 โวลต์มิเตอร์หลายย่านวัด (MULTIRANGE VOLTMETER)
ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงที่มีหลายย่านการวัด มีค่ากระแสไฟฟ้าและความต้านทานในส่วยเคลื่อนไหวขณะเข็มเบี่ยงเบน
เต็มสเกล 50 µA และ 1kΩ ถ้าต้องการขยายย่านการวัดเป็น 5V, 20V และ 5V จงหาค่าความต้านทาน ซึ่งต้องนำมาต่ออนุกรมกับ
เครื่องวัดนี้ที่ย่านการวัดต่างๆ
A
B
C
A ที่ย่านการวัด 5V
A
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3.1 โวลต์มิเตอร์หลายย่านวัด (MULTIRANGE VOLTMETER)
ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงที่มีหลายย่านการวัด มีค่ากระแสไฟฟ้าและความต้านทานในส่วยเคลื่อนไหวขณะเข็มเบี่ยงเบน
เต็มสเกล 50 µA และ 1kΩ ถ้าต้องการขยายย่านการวัดเป็น 5V, 20V และ 5V จงหาค่าความต้านทาน ซึ่งต้องนำมาต่ออนุกรมกับ
เครื่องวัดนี้ที่ย่านการวัดต่างๆ
B
C
ที่ย่านการวัด 20VB
B
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3.1 โวลต์มิเตอร์หลายย่านวัด (MULTIRANGE VOLTMETER)
ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงที่มีหลายย่านการวัด มีค่ากระแสไฟฟ้าและความต้านทานในส่วยเคลื่อนไหวขณะเข็มเบี่ยงเบน
เต็มสเกล 50 µA และ 1kΩ ถ้าต้องการขยายย่านการวัดเป็น 5V, 20V และ 5V จงหาค่าความต้านทาน ซึ่งต้องนำมาต่ออนุกรมกับ
เครื่องวัดนี้ที่ย่านการวัดต่างๆ
C
ที่ย่านการวัด 20VC
C
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3.1 โวลต์มิเตอร์หลายย่านวัด (MULTIRANGE VOLTMETER)
ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงที่มีหลายย่านการวัดในรูป มีค่ากระแสไฟฟ้าและความต้านทานในส่วนที่เคลื่อนไหวขณะเข็ม
เบี่ยงเบนเต็มสเกล 50µA และ 1kΩ จงหาค่า R1, R2 และ R3
ที่ย่านการวัด 5VR1
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3.1 โวลต์มิเตอร์หลายย่านวัด (MULTIRANGE VOLTMETER)
ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงที่มีหลายย่านการวัดในรูป มีค่ากระแสไฟฟ้าและความต้านทานในส่วนที่เคลื่อนไหวขณะเข็ม
เบี่ยงเบนเต็มสเกล 50µA และ 1kΩ จงหาค่า R1, R2 และ R3
ที่ย่านการวัด 20VR2
ที่ย่านการวัด 50VR3
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3.2 VOLTMETER LOADING EFFECTS
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3.2 VOLTMETER LOADING EFFECTS
ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ที่ต่างกันใช้ในการวัดโวลต์คร่อมความต้านทาน Rb ในวงจรมีค่าดังนี้
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3.2 VOLTMETER LOADING EFFECTS
ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ที่ต่างกันใช้ในการวัดโวลต์คร่อมความต้านทาน Rb ในวงจรมีค่าดังนี้
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3.2 VOLTMETER LOADING EFFECTS
ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ที่ต่างกันใช้ในการวัดโวลต์คร่อมความต้านทาน Rb ในวงจรมีค่าดังนี้
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3.2 VOLTMETER LOADING EFFECTS
ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ที่ต่างกันใช้ในการวัดโวลต์คร่อมความต้านทาน Rb ในวงจรมีค่าดังนี้
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3.3 ความไวของโวลต์มิเตอร์ (VOLTMETER SENSITIVITY)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
3.3 ความไวของโวลต์มิเตอร์ (VOLTMETER SENSITIVITY)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
4. การวัดความต้านทานโดยใช้แอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
4. การวัดความต้านทานโดยใช้แอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
4. การวัดความต้านทานโดยใช้แอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์
4.1 การวัดความต้านทานที่มีค่าสูง
(MEASUREMENT OF HIGHT RESISTANCE)
4.2 การวัดความต้านทานที่มีค่าต่ำ
(MEASUREMENT OF LOW RESISTANCE)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5. โอห์มมิเตอร์ (OHM METER)
“โอห์มมิเตอร์ (Ohm meter) เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับ
การวัดค่าความต้านทานทางไฟฟ้า”
หลักการของโอห์มมิเตอร์
การวัดความต้านทานสามารถกระทำได้โดยใช้วิธีการวัดกระแสไฟฟ้า
ที่ไหลผ่านตัวต้านทาน ซึ่งไม่ทราบค่าและวัดค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ตก
คร่อมตัวต้านทานตัวนั้น เมื่อทราบค่าของกระแสไฟฟ้าและแรง
เคลื่อนไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานแล้วเราก็จะหาค่าความต้านทาน
ได้โดยใช้กฎของ “โอห์ม Ohm’s Law”
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5. โอห์มมิเตอร์ (OHM METER)
“โอห์มมิเตอร์ (Ohm meter) เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับ
การวัดค่าความต้านทานทางไฟฟ้า”
ชนิดของโอห์มมิเตอร์
เราสามารถนำเอาค่าเครื่องวัดขดลวดชนิดเคลื่อนที่ (Moving coil)
หรือ PMMC มาใช้เป็นโอห์มมิเตอร์ได้โดยสามารถแบ่งออกเป็น 2
ประเภท คือ
1. โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ
2. โอห์มมิเตอร์แบบขนาน
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
E
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
“แสดงค่าผิดพลาดเกิด
จาก แบตเตอรี่”
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
“แสดงค่าผิดพลาดเกิด
จาก แบตเตอรี่”
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.2 โอห์มมิเตอร์แบบขนาน (SHUNT TYPE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.2 โอห์มมิเตอร์แบบขนาน (SHUNT TYPE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
เรืองยศ เกตุรักษา, “โครงการตำราทางวิชาการ เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟ้า”, สาขาวิชา
วิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
ชัยบูรณ์ กังสเจียรณ์, “การวัดและเครื่องมือวัด (MEASUREMENT AND
INSTRUMENTATION”,ภาคสาขาวิศวกรรมศาสตร์, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
มหานคร, 2550.
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ, WWW.NIMT.OR.TH
NATIONAL PHYSICAL LABORATORY, WWW.NPL.CO.UK
มาตรฐานการวัดแห่งชาติ , WWW.ACADEMIA.EDU
TYPE A QUOTE HERE.
Johnny Appleseed
TEXT

More Related Content

What's hot

ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีPhakawat Owat
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์Pat Jitta
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมApinya Phuadsing
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1MaloNe Wanger
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาkrupornpana55
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าChakkrawut Mueangkhon
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1Somporn Laothongsarn
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการSomporn Laothongsarn
 
EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03
EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03
EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03Rajamangala University of Technology Rattanakosin
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 

What's hot (20)

ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
 
EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03
EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03
EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 

Viewers also liked

Dc ammeter
Dc ammeterDc ammeter
Dc ammeterpeerasuk
 
EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01
EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01
EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01Rajamangala University of Technology Rattanakosin
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าNIMT
 
Handbook electronic pressure_en_co_34154
Handbook electronic pressure_en_co_34154Handbook electronic pressure_en_co_34154
Handbook electronic pressure_en_co_34154Taufiku Rahman
 
IMPORTANCE OF MATHEMATICS IN ENGINEERING
IMPORTANCE OF MATHEMATICS IN ENGINEERINGIMPORTANCE OF MATHEMATICS IN ENGINEERING
IMPORTANCE OF MATHEMATICS IN ENGINEERINGPon Rajesh Kumar
 
Why So Few Women in STEM
Why So Few Women in STEMWhy So Few Women in STEM
Why So Few Women in STEMKevin Carter
 
Fundamentals of measurement
Fundamentals of measurementFundamentals of measurement
Fundamentals of measurementPat Barlow
 
Key notes in instrumenting change
Key notes in instrumenting changeKey notes in instrumenting change
Key notes in instrumenting changeSimon Lancaster
 
ultrasound biomicroscopy
ultrasound biomicroscopyultrasound biomicroscopy
ultrasound biomicroscopySSSIHMS-PG
 
Importance of Maths in Engineering
Importance of Maths in EngineeringImportance of Maths in Engineering
Importance of Maths in EngineeringYash Wani
 
Electronic code lock device
Electronic code lock deviceElectronic code lock device
Electronic code lock deviceAmitoj Kaur
 
Introduction, advantages of electronic instrumentation, instrument classifica...
Introduction, advantages of electronic instrumentation, instrument classifica...Introduction, advantages of electronic instrumentation, instrument classifica...
Introduction, advantages of electronic instrumentation, instrument classifica...Engr Ali Mouzam
 
Electrical engineering history
Electrical engineering historyElectrical engineering history
Electrical engineering historyPradeepRaj
 
Linear measurements
Linear measurementsLinear measurements
Linear measurementsNaman Dave
 
APPLICATION OF MATHEMATICS IN ENGINEERING FIELDS
APPLICATION OF MATHEMATICS IN ENGINEERING FIELDSAPPLICATION OF MATHEMATICS IN ENGINEERING FIELDS
APPLICATION OF MATHEMATICS IN ENGINEERING FIELDSDMANIMALA
 
Slideshare.Com Powerpoint
Slideshare.Com PowerpointSlideshare.Com Powerpoint
Slideshare.Com Powerpointguested929b
 

Viewers also liked (18)

Dc ammeter
Dc ammeterDc ammeter
Dc ammeter
 
EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01
EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01
EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
 
Handbook electronic pressure_en_co_34154
Handbook electronic pressure_en_co_34154Handbook electronic pressure_en_co_34154
Handbook electronic pressure_en_co_34154
 
IMPORTANCE OF MATHEMATICS IN ENGINEERING
IMPORTANCE OF MATHEMATICS IN ENGINEERINGIMPORTANCE OF MATHEMATICS IN ENGINEERING
IMPORTANCE OF MATHEMATICS IN ENGINEERING
 
Why So Few Women in STEM
Why So Few Women in STEMWhy So Few Women in STEM
Why So Few Women in STEM
 
Fundamentals of measurement
Fundamentals of measurementFundamentals of measurement
Fundamentals of measurement
 
Tachometer
TachometerTachometer
Tachometer
 
Key notes in instrumenting change
Key notes in instrumenting changeKey notes in instrumenting change
Key notes in instrumenting change
 
ultrasound biomicroscopy
ultrasound biomicroscopyultrasound biomicroscopy
ultrasound biomicroscopy
 
Importance of Maths in Engineering
Importance of Maths in EngineeringImportance of Maths in Engineering
Importance of Maths in Engineering
 
Electronic code lock device
Electronic code lock deviceElectronic code lock device
Electronic code lock device
 
Introduction, advantages of electronic instrumentation, instrument classifica...
Introduction, advantages of electronic instrumentation, instrument classifica...Introduction, advantages of electronic instrumentation, instrument classifica...
Introduction, advantages of electronic instrumentation, instrument classifica...
 
Electrical engineering history
Electrical engineering historyElectrical engineering history
Electrical engineering history
 
Linear measurements
Linear measurementsLinear measurements
Linear measurements
 
APPLICATION OF MATHEMATICS IN ENGINEERING FIELDS
APPLICATION OF MATHEMATICS IN ENGINEERING FIELDSAPPLICATION OF MATHEMATICS IN ENGINEERING FIELDS
APPLICATION OF MATHEMATICS IN ENGINEERING FIELDS
 
Basic instrumentation
Basic instrumentationBasic instrumentation
Basic instrumentation
 
Slideshare.Com Powerpoint
Slideshare.Com PowerpointSlideshare.Com Powerpoint
Slideshare.Com Powerpoint
 

Similar to EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04

การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าการประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2Teerapong Iemyong
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมPongsakorn Poosankam
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdfกระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdfCharanyaKanuson
 
บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total StationChattichai
 
Radiation Safety Instrument
Radiation Safety InstrumentRadiation Safety Instrument
Radiation Safety InstrumentPawitra Masa-ah
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 

Similar to EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04 (20)

Lab9 (1)
Lab9 (1)Lab9 (1)
Lab9 (1)
 
Meter
MeterMeter
Meter
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าการประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
 
สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01
 
Electricity lecture 2012 Week01
Electricity lecture 2012  Week01Electricity lecture 2012  Week01
Electricity lecture 2012 Week01
 
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdfกระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
 
บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total Station
 
Radiation Safety Instrument
Radiation Safety InstrumentRadiation Safety Instrument
Radiation Safety Instrument
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
Circuit analysis test
Circuit analysis testCircuit analysis test
Circuit analysis test
 

More from Rajamangala University of Technology Rattanakosin (11)

Process instrumentation unit 10
Process instrumentation unit 10Process instrumentation unit 10
Process instrumentation unit 10
 
Process instrumentation unit 09
Process instrumentation unit 09Process instrumentation unit 09
Process instrumentation unit 09
 
Process instrumentation unit 08
Process instrumentation unit 08Process instrumentation unit 08
Process instrumentation unit 08
 
Process instrumentation unit 07
Process instrumentation unit 07Process instrumentation unit 07
Process instrumentation unit 07
 
Process instrumentation unit 06
Process instrumentation unit 06Process instrumentation unit 06
Process instrumentation unit 06
 
Process instrumentation unit 05
Process instrumentation unit 05Process instrumentation unit 05
Process instrumentation unit 05
 
EMI ความถูกต้องและความผิดพลาด 02
EMI ความถูกต้องและความผิดพลาด 02EMI ความถูกต้องและความผิดพลาด 02
EMI ความถูกต้องและความผิดพลาด 02
 
Process instrumentation unit 04
Process instrumentation unit 04Process instrumentation unit 04
Process instrumentation unit 04
 
Process instrumentation unit 03
Process instrumentation unit 03Process instrumentation unit 03
Process instrumentation unit 03
 
Process instrumentation unit 02
Process instrumentation unit 02Process instrumentation unit 02
Process instrumentation unit 02
 
Process instrumentation unit 01
Process instrumentation unit 01Process instrumentation unit 01
Process instrumentation unit 01
 

EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04

  • 2. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M เครื่องมืดวัดไฟฟ้ากระแสตรง ▸ 1. เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง ▸ 2. แอมมิเตอร์กระแสตรง (DC Ammeter) ▸ 3. โวลต์มิเตอร์กระแสตรง (DC Voltmeter) ▸ 4. การวัดความต้านทานโดยใช้ Ammeter and Voltmeter ▸ 5. โอห์มมิเตอร์ (Ohmmeter)
  • 3. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 1. เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง แสดงการทดลองของ เออร์เสตด เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรงส่วนมาก อาศัยหลักการพื้นฐานของความสัมพันธ์ระหว่างสนามแม่เหล็ก และกระแสไฟฟ้าซึ่งถูกค้นพบ โดย “ฮานส์ คริสเตียน เออร์เสตด” (Hans Christain Oersted) นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ในปี ค.ศ.1620 พบว่าสนามแม่ เหล็กจะเกิดขึ้นรอบๆ ตัวนำไฟฟ้าได้เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนำไฟฟ้า ซึ่งสามารถทดสอบสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้นได้โดย การใช้เข็มทิศมาว่างใกล้ๆ กับตัวนำไฟฟ้า
  • 4. กฎมือขวาของ ไมเคิล ฟาราเดย์ กฎมือขวากำหนดทิศทางของ สนามแม่เหล็กรอบๆ ตัวนำเมื่อ มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน พัฒนาโดย ลอร์ด เคลวิน ใช้ขดลวดตัวนำมาพันเป็นขดวงกลมและ วางเข็ม ทิศให้อยู่ตรงกลางของวงขดลวดเพื่อเพิ่มความไว (Sensitivity) ต่อกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเป็นหลัก การพื้นฐานของ กัลวาโนมิเตอร์ (Galvanometer)
  • 5. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 1.1 หลักการทำงานของกัลวาโนมิเตอร์ (GALVANOMETER) กัลวาโนมิเตอร์ คือ เครื่องมือที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า ให้เป็นพลังงานกล ซึ่งเป็นเครื่องวัดที่มีความไว และ สามารถใช้ตรวจวัดค่ากระแสไฟฟ้าปริมาณน้อยๆ ได้ดี เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรงที่เรียกว่า ซัสเพนชั่น กัลวาโนมิเตอร์ “กัลวาโนมิเตอร์เป็นเครื่องวัดกระแสไฟฟ้าที่ได้ พัฒนามาก่อนเครื่องวัดที่ใช้ขดลวดคลื่อนที่ (Moving Coil) ในปัจจุบันกัลวาโนมิเตอร์ไม่ค่อย นิยมใช้กันมากนัก เพราะไม่สะดวกในการใช้งานใน การวัด ที่มีการเคลื่อนที่อยู่บ่อยๆ แต่จะนิยมใช้ใน ห้องปฏิบัติการที่ต้องการความไวสูงๆ”
  • 6.
  • 7. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 1.2 เครื่องมือวัดชนิดขดลวดเคลื่อนที่ (MOVING COIL METER) ในปี ค.ศ.1881 มีนักวิทยาศาสตร์ชื่อ แจ๊คคิวส์ ดี อาร์ซอนวอล (Jacques d’Arsonval) ได้พัฒนารูปแบบของกัลวา โนมิเตอร์ชนิดขดลวดเคลื่อนที่ขึ้นมา หรือที่เรียกว่า มิเตอร์แบบพีเอ็มเอ็มซี (PMMC : Permanet Magnet Moving- coil) ซึ่งใช้เป็นหลักการทางานของเครื่องวัดแบบอนาลอกที่ใช้ อยู่ในปัจจุบัน
  • 8. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 1.2 เครื่องมือวัดชนิดขดลวดเคลื่อนที่ (MOVING COIL METER) แสดงส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครื่องวัดชนิดขดลวดเคลื่อนที่
  • 9. หลักการทำงาน ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M การทำงานของเครื่องวัดชนิดขดลวดเคลื่อนที่ เมื่อมีกระแส ไฟฟ้าไหลผ่านเข้าไปในขดลวด (Moving coil) จะเกิดเส้น แรงแม่เหล็กขึ้นที่ขดลวดในทิศทางที่ทำให้เกิดแรงผลักดัน ทำให้ขดลวด (Moving Coil) หมุนไปทางขวามือตามลำดับ เรียกว่า “แรงบิด” เข็มที่ยึดติดอยู่กับขดลวด (Moving Coil) จะเบี่ยงเบนจากตำแหน่งเดิม (0) ไปมากหรือน้อยจะ ขึ้นอยู่กับกำลังของสนามแม่เหล็กที่ผลักกันและแรง บังคับ ต้านกลับของสปริงแบบขด (Spriral Spring) ที่ยึดติดกับ แกนเพลาขดลวดซึ่งปกติสปริงแบบขดก้นหอยนี้จะเป็นตัวที่ มีความเกี่ยวข้องกับสเกล (Scale) อ่านค่า โดยสปริงแบบ ขดก้นหอยนี้จะถูกสร้างให้มีกำลังต้านที่สมดุลกับกระแส ไฟฟ้าที่ไหลผ่านเข้าไปนในขดลวด (Moving coil) ค่าที่อ่าน ได้จากสเกลก็คือ ค่า ปริมาณของกระแสไฟฟ้าที่วัดได้นั้น เอง แสดงลักษณะโครงสร้างชุดที่เคลื่อนที่ของเครื่องวัดไฟฟ้าแบบ PMMC
  • 10. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 1.3 สเกลของเครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง แรงบิดขับซึ่งเกิดจากการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้คอยล์หมุน (Moving coil) มีหน้าที่ทำให้ส่วนที่เคลื่อนไหวของเครื่องวัด (Meter Movement) คือเข็มชี้และคอยล์หมุนเคลื่อนที่ปริมาณแรงบิดขับ หาได้จากสมการดังนี้
  • 11. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 1.3 สเกลของเครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง แสดงการจัดวางตำแหน่งเข็มชี้และสเกลในสนามแม่เหล็ก ค่า N, B และ A ในสมการหาค่าแรงบิด จะมีค่าคงที่ นอกจากนี้เมื่อพิจารณาในรูป (a) จะเห็นว่าเข็มของเครื่องวัดกับทิศ ทางของฟลักซ์แม่เหล็กตั้งฉากกัน ตลอดแนวการเคลื่องที่ของเข็มชี้ ดังนี้นจึงเขียนสมการหาค่าแรงบิดขับใหม่ ได้เป็นดังนี้ จากสมการจะพบว่าค่าแรงบิด T จะแปรผันตามค่ากระแส (I) เพียงอย่างเดียว ด้วยเหตุนี้สเกลแต่ละช่องของเครื่องวัด ไฟฟ้ากระแสตรงจึงมีขนาดเท่ากันหรือมีลักษณะเป็นเชิงเส้น (Linear)
  • 12. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 1.4 พฤติกรรมไดนามิกส์ (DYNAMIC BEHAVIOR) “พฤติกรรมไดนามิกส์ คือ ผลตอบ สนองของความเร็ว, ความหน่วง, overshoot เป็นต้น” สามารถสังเกตเห็นได้จาก เมื่อมีกระแสไหลเข้าสู่ขดลวดที่มีเข็มชี้ติดอยู่ จะแกว่งไปมาอยู่ระยะหนึ่งจึงหยุดนิ่งได้ และการเคลื่อนที่ในสนามแม่ เหล็ก เกิดจากคุณสมบัติของ 3 ปริมาณ คือ “แต่ในทางปฏิบัติการตอบสนองจะมีลักษณะ การหน่วงที่ต่ำกว่าค่าวิกฤติเล็กน้อย”
  • 13. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 1.5 การหน่วงทางกลไก (DAMPING MECHANISM) การหน่วงทางกลไกของกัลวาโนมิเตอร์สามารถทำได้ 2 ทางคือ 1.การหน่วงเกิดจากการเคลื่อนที่ของขดลวดผ่านอากาศ และ 2.การหน่วงทางแม่เหล็กไฟฟ้า
  • 14. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 1.6 ความไวในการวัด (SENSITIVITY)
  • 15. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 1.6 ความไวในการวัด (SENSITIVITY)
  • 16. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 1.6 ความไวในการวัด (SENSITIVITY)
  • 17. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 2. แอมมิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC AMMETER) “แอมมิเตอร์เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดค่ากระแส ไฟฟ้าในวงจรโดยอาศัยหลักการทำงานของ เครื่องวัดชนิดคอยล์หมุนโดยมีตัวต้านทานต่อ ขนาดกับส่วนที่เคลื่อนไหว”
  • 18. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 2. แอมมิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC AMMETER) “เครื่องวัดที่ใช้หลักการต่อตัวต้านทานขนาดเหมาะสมขนานกับส่วนที่เคลื่อนไหวของเครื่องวัด ทำให้อ่านค่ากระแสไฟฟ้าได้จำนวนมากขึ้นเราเรียกว่า แอมมิเตอร์ สำหรับตัวต้านทานที่นำมา ต่อขนานเพื่อขยายย่านการวัดของแอมมิเตอร์นี้เรียกว่า ตัวต้านทานชันท์ “
  • 19. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 2. แอมมิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC AMMETER) ความต้านทาน Rsh กับ Rm ต่อขนานกันจึง ทำให้แรงดันตกคร่อมเท่ากันคือ Vsh = Vm IshRsh = ImRm
  • 20. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 2. แอมมิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC AMMETER)
  • 21. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 2. แอมมิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC AMMETER)
  • 22. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 2.1 ไอร์ตัน ชันท์ (AYRTON SHUNT) “ไอร์ตัน ชันท์ หรือเรียกว่า Universal Shunt คือ การต่อตัว ต้านทานขนานกับส่วนที่เคลื่อง ไหวของเครื่องวัดตลอดเวลาเพื่อ ขยายย่านการวัด”
  • 23. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 2.1 ไอร์ตัน ชันท์ (AYRTON SHUNT)
  • 24. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 2.1 ไอร์ตัน ชันท์ (AYRTON SHUNT)
  • 25. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 2.1 ไอร์ตัน ชันท์ (AYRTON SHUNT)
  • 26. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 2.1 ไอร์ตัน ชันท์ (AYRTON SHUNT)
  • 27. 2.2 แอมมิเตอร์โหลดดิ้ง (AMMETER LOADING) ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M
  • 28. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 2.3 AMMETER INSERTION EFFECT
  • 29. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 2.3 AMMETER INSERTION EFFECT “วงจรเมื่อยังไม่ต่อ AMMETER กระแสจะมีค่า เท่ากับ Ie” “แต่เมื่อมี AMMETER มาต่อ เข้ากับวงจร ทำให้กระแส Ie เปลี่ยนไปเป็น Im”
  • 30. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 2.3 AMMETER INSERTION EFFECT ในการหาค่า error ในวงจรเมื่อต่อแอมมิเตอร์และเมื่อทราบค่าความต้านทานวงจรเทียบเคียง (Thevenin equivalent circuit) และความต้านทานของแอมมิเตอร์ ตัวอย่าง ความต้านทานภายในของแอมมิเตอร์มีค่าเท่ากับ 78 โอห์ม เป็นความต้านทานที่ใช้วัดกระแสที่ไหลผ่าน ตัวต้านทาน Rc จงหาเปอร์เซ็นต์ของค่า error ที่เกิดจากการอ่านค่าของการใช้มิเตอร์ในวงจร เมื่อต่อแอมมิเตอร์เข้าไปในวงจรที่จุด X และ Y
  • 31. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 2.3 AMMETER INSERTION EFFECT ในการหาค่า error ในวงจรเมื่อต่อแอมมิเตอร์และเมื่อทราบค่าความต้านทานวงจรเทียบเคียง (Thevenin equivalent circuit) และความต้านทานของแอมมิเตอร์ ตัวอย่าง ความต้านทานภายในของแอมมิเตอร์มีค่าเท่ากับ 78 โอห์ม เป็นความต้านทานที่ใช้วัดกระแสที่ไหลผ่าน ตัวต้านทาน Rc จงหาเปอร์เซ็นต์ของค่า error ที่เกิดจากการอ่านค่าของการใช้มิเตอร์ในวงจร ใช้หลักการ Thevenin’s equivalent circuit หา ค่าความต้านทาน Rth V-SHOCK I-OPEN
  • 32. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 2.3 AMMETER INSERTION EFFECT ในการหาค่า error ในวงจรเมื่อต่อแอมมิเตอร์และเมื่อทราบค่าความต้านทานวงจรเทียบเคียง (Thevenin equivalent circuit) และความต้านทานของแอมมิเตอร์ ตัวอย่าง ความต้านทานภายในของแอมมิเตอร์มีค่าเท่ากับ 78 โอห์ม เป็นความต้านทานที่ใช้วัดกระแสที่ไหลผ่าน ตัวต้านทาน Rc จงหาเปอร์เซ็นต์ของค่า error ที่เกิดจากการอ่านค่าของการใช้มิเตอร์ในวงจร ใช้หลักการ Thevenin’s equivalent circuit หา ค่าความต้านทาน Rth
  • 33. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 2.3 AMMETER INSERTION EFFECT ในการหาค่า error ในวงจรเมื่อต่อแอมมิเตอร์และเมื่อทราบค่าความต้านทานวงจรเทียบเคียง (Thevenin equivalent circuit) และความต้านทานของแอมมิเตอร์ ตัวอย่าง ความต้านทานภายในของแอมมิเตอร์มีค่าเท่ากับ 78 โอห์ม เป็นความต้านทานที่ใช้วัดกระแสที่ไหลผ่าน ตัวต้านทาน Rc จงหาเปอร์เซ็นต์ของค่า error ที่เกิดจากการอ่านค่าของการใช้มิเตอร์ในวงจร ใช้หลักการ Thevenin’s equivalent circuit หา ค่าความต้านทาน Rth กระแสที่ไหลผ่านจะมีค่าเพียง 95% และผลที่ได้จากการวัดจะ มีค่า error = 5% หาค่าPercentage ของ error ได้จาก
  • 34. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3. โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC VOLTMETER) “โวลต์มิเตอร์เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดค่าแรงดัน ไฟฟ้าในวงจรโดยอาศัยหลักการทำงานของ เครื่องวัดชนิดคอยล์หมุนโดยมีตัวต้านทานต่อ อนุกรม กับส่วนที่เคลื่อนไหว”
  • 35. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3. โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC VOLTMETER) “ถ้าต้องการขยายย่านการวัดของโวลต์มิเตอร์จะ ต้องนำตัวต้านทานมาต่ออนุกรมกับส่วนเคลื่อนที่ ของเครื่องวัด เรียกตัวต้านทานนั้นว่า ตัวต้านทาน มัลติพลาย (Multiplier : Rs) ”
  • 36. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3. โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC VOLTMETER)
  • 37. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3. โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC VOLTMETER)
  • 38. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3. โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC VOLTMETER) RS - วิธีที่1
  • 39. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3. โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC VOLTMETER) RS - วิธีที่2
  • 40. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3.1 โวลต์มิเตอร์หลายย่านวัด (MULTIRANGE VOLTMETER) “โวลต์มิเตอร์ที่มีหลายย่านการวัด คือ โวลต์มิเตอร์ที่มีความต้านทานมัลติพลาย หลายๆ ค่าต่อกับวงจรของส่วนที่ เคลื่อนไหว โดยมีสวิตซ์เลือกย่านการวัด เป็นตัวกลางในการต่อตัวต้านทานที่มี ความเหมาะสมกับย่านการวัดนั้นๆ” โวลต์มิเตอร์ที่มีหลายย่านการวัด
  • 41. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3.1 โวลต์มิเตอร์หลายย่านวัด (MULTIRANGE VOLTMETER) ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงที่มีหลายย่านการวัด มีค่ากระแสไฟฟ้าและความต้านทานในส่วยเคลื่อนไหวขณะเข็มเบี่ยงเบน เต็มสเกล 50 µA และ 1kΩ ถ้าต้องการขยายย่านการวัดเป็น 5V, 20V และ 5V จงหาค่าความต้านทาน ซึ่งต้องนำมาต่ออนุกรมกับ เครื่องวัดนี้ที่ย่านการวัดต่างๆ A B C A ที่ย่านการวัด 5V A
  • 42. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3.1 โวลต์มิเตอร์หลายย่านวัด (MULTIRANGE VOLTMETER) ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงที่มีหลายย่านการวัด มีค่ากระแสไฟฟ้าและความต้านทานในส่วยเคลื่อนไหวขณะเข็มเบี่ยงเบน เต็มสเกล 50 µA และ 1kΩ ถ้าต้องการขยายย่านการวัดเป็น 5V, 20V และ 5V จงหาค่าความต้านทาน ซึ่งต้องนำมาต่ออนุกรมกับ เครื่องวัดนี้ที่ย่านการวัดต่างๆ B C ที่ย่านการวัด 20VB B
  • 43. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3.1 โวลต์มิเตอร์หลายย่านวัด (MULTIRANGE VOLTMETER) ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงที่มีหลายย่านการวัด มีค่ากระแสไฟฟ้าและความต้านทานในส่วยเคลื่อนไหวขณะเข็มเบี่ยงเบน เต็มสเกล 50 µA และ 1kΩ ถ้าต้องการขยายย่านการวัดเป็น 5V, 20V และ 5V จงหาค่าความต้านทาน ซึ่งต้องนำมาต่ออนุกรมกับ เครื่องวัดนี้ที่ย่านการวัดต่างๆ C ที่ย่านการวัด 20VC C
  • 44. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3.1 โวลต์มิเตอร์หลายย่านวัด (MULTIRANGE VOLTMETER) ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงที่มีหลายย่านการวัดในรูป มีค่ากระแสไฟฟ้าและความต้านทานในส่วนที่เคลื่อนไหวขณะเข็ม เบี่ยงเบนเต็มสเกล 50µA และ 1kΩ จงหาค่า R1, R2 และ R3 ที่ย่านการวัด 5VR1
  • 45. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3.1 โวลต์มิเตอร์หลายย่านวัด (MULTIRANGE VOLTMETER) ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงที่มีหลายย่านการวัดในรูป มีค่ากระแสไฟฟ้าและความต้านทานในส่วนที่เคลื่อนไหวขณะเข็ม เบี่ยงเบนเต็มสเกล 50µA และ 1kΩ จงหาค่า R1, R2 และ R3 ที่ย่านการวัด 20VR2 ที่ย่านการวัด 50VR3
  • 46. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3.2 VOLTMETER LOADING EFFECTS
  • 47. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3.2 VOLTMETER LOADING EFFECTS ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ที่ต่างกันใช้ในการวัดโวลต์คร่อมความต้านทาน Rb ในวงจรมีค่าดังนี้
  • 48. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3.2 VOLTMETER LOADING EFFECTS ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ที่ต่างกันใช้ในการวัดโวลต์คร่อมความต้านทาน Rb ในวงจรมีค่าดังนี้
  • 49. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3.2 VOLTMETER LOADING EFFECTS ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ที่ต่างกันใช้ในการวัดโวลต์คร่อมความต้านทาน Rb ในวงจรมีค่าดังนี้
  • 50. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3.2 VOLTMETER LOADING EFFECTS ตัวอย่าง โวลต์มิเตอร์ที่ต่างกันใช้ในการวัดโวลต์คร่อมความต้านทาน Rb ในวงจรมีค่าดังนี้
  • 51. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3.3 ความไวของโวลต์มิเตอร์ (VOLTMETER SENSITIVITY)
  • 52. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 3.3 ความไวของโวลต์มิเตอร์ (VOLTMETER SENSITIVITY)
  • 53. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 4. การวัดความต้านทานโดยใช้แอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์
  • 54. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 4. การวัดความต้านทานโดยใช้แอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์
  • 55. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 4. การวัดความต้านทานโดยใช้แอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์ 4.1 การวัดความต้านทานที่มีค่าสูง (MEASUREMENT OF HIGHT RESISTANCE) 4.2 การวัดความต้านทานที่มีค่าต่ำ (MEASUREMENT OF LOW RESISTANCE)
  • 56. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5. โอห์มมิเตอร์ (OHM METER) “โอห์มมิเตอร์ (Ohm meter) เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับ การวัดค่าความต้านทานทางไฟฟ้า” หลักการของโอห์มมิเตอร์ การวัดความต้านทานสามารถกระทำได้โดยใช้วิธีการวัดกระแสไฟฟ้า ที่ไหลผ่านตัวต้านทาน ซึ่งไม่ทราบค่าและวัดค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ตก คร่อมตัวต้านทานตัวนั้น เมื่อทราบค่าของกระแสไฟฟ้าและแรง เคลื่อนไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานแล้วเราก็จะหาค่าความต้านทาน ได้โดยใช้กฎของ “โอห์ม Ohm’s Law”
  • 57. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5. โอห์มมิเตอร์ (OHM METER) “โอห์มมิเตอร์ (Ohm meter) เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับ การวัดค่าความต้านทานทางไฟฟ้า” ชนิดของโอห์มมิเตอร์ เราสามารถนำเอาค่าเครื่องวัดขดลวดชนิดเคลื่อนที่ (Moving coil) หรือ PMMC มาใช้เป็นโอห์มมิเตอร์ได้โดยสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ 2. โอห์มมิเตอร์แบบขนาน
  • 58. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
  • 59. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
  • 60. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
  • 61. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
  • 62. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER) E
  • 63. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
  • 64. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
  • 65. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
  • 66. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
  • 67. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER)
  • 68. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER) “แสดงค่าผิดพลาดเกิด จาก แบตเตอรี่”
  • 69. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.1 โอห์มมิเตอร์แบบอันดับ (SERIES TYPE OHMMETER) “แสดงค่าผิดพลาดเกิด จาก แบตเตอรี่”
  • 70. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.2 โอห์มมิเตอร์แบบขนาน (SHUNT TYPE OHMMETER)
  • 71. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.2 โอห์มมิเตอร์แบบขนาน (SHUNT TYPE OHMMETER)
  • 72. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
  • 73. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
  • 74. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
  • 75. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
  • 76. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
  • 77. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
  • 78. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
  • 79. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
  • 80. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
  • 81. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
  • 82. ELECTRONIC MEASUREMENT AND INSTRUMENT PAT.M 5.3 โอห์มมิเตอร์ที่มีหลายย่านวัด (MULTIPLE-RANGE OHMMETER)
  • 83. เรืองยศ เกตุรักษา, “โครงการตำราทางวิชาการ เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟ้า”, สาขาวิชา วิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ชัยบูรณ์ กังสเจียรณ์, “การวัดและเครื่องมือวัด (MEASUREMENT AND INSTRUMENTATION”,ภาคสาขาวิศวกรรมศาสตร์, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี มหานคร, 2550. สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ, WWW.NIMT.OR.TH NATIONAL PHYSICAL LABORATORY, WWW.NPL.CO.UK มาตรฐานการวัดแห่งชาติ , WWW.ACADEMIA.EDU
  • 84. TYPE A QUOTE HERE. Johnny Appleseed TEXT