SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
ปฏิบัติการที่ 9C
กฎของโอห์มและวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
ตอนที่ 1 กฎของโอห์ม(Ohm’s Law)
จุดประสงค์ ศึกษาความสัมพันธ์ตามกฎของโอห์ม
ทฤษฎี
กฎของโอห์มกล่าวว่า “เมื่ออุณหภูมิคงที่ อัตราส่วนของความ
ต่างศักย์ ( )V ระหว่างปลายทั้งสองข้างของตัวนำา กับกระแส ( )I ที่ไหล
ผ่านตัวนำา จะมีค่าคงที่เสมอ” และค่าคงที่นี้จะเท่ากับความต้านทาน
ของตัวต้านทาน ( )R นั้น นั่นเอง เขียนเป็นสมการได้ว่า
R
I
V
=
(9.1)
ถ้าเขียนกราฟระหว่างความต่างศักย์ V และกระแสไฟฟ้า I
จะได้กราฟเป็นเส้นตรง มีความชันเท่ากับความต้านทาน R
ดังรูป 9.1
รูปที่ 9.1 กราฟระหว่าง V และ I ตามกฎของโอห์ม
กฎของโอห์มยังประยุกต์ใช้กับอุปกรณ์อื่นๆ ได้ด้วย กราฟ
ระหว่าง V และ I ของวัสดุใดเป็นเส้นตรงเรากล่าวว่าวัสดุนั้นเป็น
ไปตามกฎของโอห์ม เช่น โลหะ และตัวต้านทาน เป็นต้น ถ้า
กราฟระหว่าง V และ I ของวัสดุใดไม่เป็นเส้นตรงเรากล่าวว่าวัสดุ
นั้นไม่เป็นไปตามกฎของโอห์ม เช่น ของเหลวและก๊าซ เป็นต้น
อย่างไรก็ตามมีวัสดุหลายชนิด ที่กราฟทั้งเส้นระหว่าง V และ I
( )VoltV
( )AmpI
Rslope =
ไม่เป็นเส้นตรงแต่มีบางช่วงเป็นเส้นตรง ซึ่งเรากล่าวว่า วัสดุนั้น
เป็นไปตามกฎของโอห์มเฉพาะ V และ I ช่วงนั้น(ช่วงที่กราฟเป็น
เส้นตรง) ดังรูปที่ 9.2
รูปที่ 9.2 กราฟระหว่าง V และ I
การทราบว่าวัสดุใดบ้างเป็นไปตามกฎของโอห์ม หรือเป็น
เพียงช่วงใดช่วงหนึ่ง มีประโยชน์ต่อการศึกษาและประยุกต์ใช้งาน
อย่างมาก โดยเฉพาะการคำานวณ เพราะเราจะนำาสมการ 9.1 มา
คำานวณได้ต่อเมื่อวัสดุนั้นเป็นตามกฎของโอห์ม เท่านั้น วิธีการ
ทดลองต่อไปนี้เป็นวิธีหนึ่งที่ทำาให้เราทราบว่า วัสดุนั้นเป็นไปตามกฎ
ของโอห์มหรือไม่ หรือเป็นเฉพาะช่วงใด
อุปกรณ์การทดลอง แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ตัว
ต้านทานไม่ทราบว่า สารละลาย 4CuSO
สายไฟ โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์
บิกเกอร์
วิธีทดลอง
1 ต่อวงจรตามรูป 9.3 โดยใช้ตัวต้านทานไม่ทราบค่า
แอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์ตั้งสเกลการวัดไว้สูง ๆ ปิด
สวิตซ์แหล่งจ่ายไฟ(ยังไม่ปล่อยกระแสเข้าวงจร)
( )VoltV
( )AmpI
( )VoltV
( )AmpI
วัสดุเป็นไปตามกฎของ
โอห์ม
วัสดุเป็นไปตามกฎของโอห์ม
บางช่วง
116
รูปที่ 9.3 วงจรทดลองตามกฎของโอห์ม
2 เปิดสวิตซ์แหล่งจ่ายไฟฟ้าเพื่อปล่อยกระแสเข้าวงจร แล้ว
ค่อย ๆ ปรับแรงดันไฟฟ้าขึ้นช้า ๆ พร้อมกับสังเกตความต่าง
ศักย์คร่อมตัวต้านทาน จนได้เท่ากับ 0.75 โวลท์ อ่านกระแส
จากแอมมิเตอร์ในขณะนั้น บันทึกผล
3 เพิ่มแรงดันจนความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทานเป็น 1.5V,
2.25V, 3V ,3.75V ,4.5V, 5.25V และ 6 โวลต์ ตามลำาดับ แต่ละครั้ง
บันทึกกระแสจากแอมมิเตอร์ที่สอดคล้องกัน
4 ลดแรงดันจนความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทานเป็น 3.5V, 3V,
2.5V ,2V ,1.5V, 1V และ 0.5 โวลต์ ตามลำาดับ แต่ละครั้งบันทึก
กระแสจากแอมมิเตอร์ที่สอดคล้องกัน
5 หาค่ากระแสไฟฟ้าเฉลี่ย ( )I ในแต่ละครั้ง
6 เขียนกราฟระหว่าง V และ I แล้วหาความชัน ซึ่งจะ
เป็นค่าความต้านทานของตัวต้านทานที่ใช้ทดลอง
7 นำาค่าความต้านทานที่หาได้ เปรียบเทียบกับค่าความ
ต้านทานจริง ๆ ของตัวต้านทานที่ใช้ทดลอง ( ถามจาก
อาจารย์หรือเจ้าหน้าที่ควบคุม )
8 เปลี่ยนตัวต้านทานเป็นสารละลาย 4CuSO บรรจุในบิกเกอร์
ปริมาณ และความเข้มข้นพอเหมาะ แล้วทดลองตามข้อ 2 –
7
คำาแนะนำา เมื่อเปลี่ยนเป็น 4CuSO ความต่างศักย์ที่ใช้บางค่า
อาจวัดกระแสได้ไม่ชัดเจน นิสิตต้องปรับเปลี่ยนความ
ต่างศักย์เพื่อให้เหมาะสมได้
ตอนที่ 2 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม
จุดประสงค์ ศึกษาคุณสมบัติวงจรตัวต้านทานแบบอนุกรม
ทฤษฎี
เมื่อนำาตัวต้านทานมาต่ออนุกรมกัน จะได้ความจริง 3 ข้อดังนี้
VA
+
−
+ −
R
117
1 กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าวงจรหรือกระแสรวม ( )I และ
กระแสไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว จะเท่ากันหมด ตาม
สมการ
...321 ==== IIII
(9.2)
2 ความต่างศักย์รวม ( )V เท่ากับผลรวมของความต่างศักย์ของ
ตัวต้านทานแต่ละตัว ตามสมการ
...321 +++= VVVV
(9.3)
3 ความต้านทานรวม ( )R เท่ากับผลรวมความต้านทานแต่ละ
ตัว ตามสมการ
...321 +++= RRRR
(9.4)
การทดลองต่อไปนี้ จะพิสูจน์ความจริงของการต่อตัวต้านทาน
อนุกรม ตามที่กล่าวมา
อุปกรณ์การทดลอง แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ตัวต้านทาน
โวลท์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ สายไฟ
วิธีทดลอง
1 ต่อวงจรตามรูป 9.4 โดยนิสิตเลือกใช้ตัวต้านทาน 3 ตัว
ตามต้องการ บันทึกค่าความต้านทานของตัวต้านทานแต่ละ
ตัว (ตัวต้านทานแต่ละตัวควรมีกำาลังวัตต์เท่ากัน)
รูปที่ 9.4 วงจรตัวต้านทานแบบอนุกรม
2 คำานวณความต้านทานรวมของวงจร โดยใช้สมการ (9.4)
จากนั้นให้คำานวณว่า ถ้าต้องการให้กระแสรวม ( )I เท่ากับ
75 mA ต้องใช้แรงดันไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟฟ้ากี่โวลต์
บันทึกแรงดันที่คำานวณได้ (เลือกกระแสค่าอื่นได้ แต่ต้องไม่
เกิน 200 mA)
1R 2R 3R
118
3 เปิดสวิตซ์แหล่งกำาเนิดไฟฟ้าเพื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าวงจร
โดยใช้แรงดันตามที่คำานวณตามข้อ 2 จากนั้น ให้วัดค่าดัง
ต่อไปนี้
3.1 ใช้โวลต์มิเตอร์กระแสตรงวัดความต่างศักย์รวม( )V
และความต่างศักย์ของตัวต้านทานแต่ละตัว บันทึก
ผล
3.2 ใช้แอมมิเตอร์กระแสตรงวัดกระแสทั้งวงจร( )I และ
กระแสไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว บันทึกผล
4 นำาค่ากระแสไฟฟ้าที่วัดได้ตรวจสอบว่าเป็นไปตามความจริง
หรือไม่
5 นำาค่าความต่างศักย์ที่วัดได้ ตรวจสอบว่าเป็นไปตามความ
จริงหรือไม่
6 นำาความต่างศักย์รวม และกระแสรวมทั้งวงจร ไปคำานวณหา
ค่าความต้านทานรวมของวงจร
แล้วนำาไปตรวจสอบเป็นไปตามความจริงหรือไม่
ตอนที่ 3 การต่อตัวต้านทานแบบขนาน
จุดประสงค์ ศึกษาคุณสมบัติวงจรตัวต้านทานแบบขนาน
ทฤษฎี
เมื่อนำาตัวต้านทานมาต่อขนานกัน จะได้ความจริง 3 ข้อดังนี้
1 กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าวงจรหรือกระแสรวม ( )I เท่ากับผล
รวมของกระแสไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว ตามสมการ
...321 +++= IIII
(9.5)
2 ความต่างศักย์รวม ( )V เท่ากับความต่างศักย์ของตัวต้านทาน
แต่ละตัว ตามสมการ
...321 ==== VVVV
(9.6)
4 ความต้านทานรวม ( )R เท่ากับผลรวมความต้านทานของตัว
ต้านทานแต่ละตัว ตามสมการ
119
...
1111
321
+++=
RRRR
(9.7)
การทดลองต่อไปนี้ จะพิสูจน์ความจริงของการต่อตัวต้านทาน
ขนาน
อุปกรณ์ แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ตัวต้านทาน โวลต์มิเตอร์
แอมมิเตอร์ สายไฟ
วิธีทดลอง
1 ต่อวงจรตามรูป 9.5 โดยนิสิตเลือกใช้ตัวต้านทาน 3 ตัว
ตามต้องการ บันทึกค่าความต้านทานของตัวต้านทานแต่ละ
ตัว (ตัวต้านทานแต่ละตัวควรมีกำาลังวัตต์เท่ากัน) แล้ว
ทดลองตามขั้นตอนเหมือนตอนที่ 2
รูปที่ 9.5 วงจรตัวต้านทานแบบอนุกรม
บันทึกผลปฏิบัติการที่ 9C
กฎของโอห์มและวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
ชื่ อ ส กุ ล … … … … … … … … … … … … … … … … ..ร หั ส
………………………คณะ …………………
วันที่ ………เดือน ………..….…… พ ศ 25………...กลุ่มที่
……………ทดลองครั้งที่ …………….
ผู้ร่วมงาน ………………………………………………รหัส
………………………….……..
1R 2R 3R
120
ผู้ร่วมงาน ………………………………………………รหัส
………………………….……..
ผู้ร่วมงาน ………………………………………………รหัส
………………………….……..
ตอนที่ 1 กฎของโอห์ม
ตัวต้านทานไม่ทราบค่า
ความต่าง
ศักย์( )V
(…………..)
กระแสไฟฟ้า( )I
(………...)
กระแสเฉลี่ย
( )I
(……..…..)เพิ่ม ลด
0.75
1.50
2.25
3.00
3.75
4.50
5.25
6.00
สารละลาย 4CuSO
ความต่าง
ศักย์( )V
(………….)
กระแสไฟฟ้า( )I (…….
…..)
กระแสเฉลี่ย
( )I
(……..…..)เพิ่ม ลด
สรุปผลการทดลอง ตอน 1
หาค่าความต้านทานของตัวต้านทาน ได้
เท่ากับ…………………………….…………….(…….……)
แสดงวิธีคำานวณหาค่าความต้านทาน
……………………………………………………………………
121
……………………………………………………………………
……………………………………
……………………………………………………………………
…………………………………….
……………………………………………………………………
…………………………………….
ความต้านทานจริงๆ ของตัวต้านทาน เท่ากับ
…………………………………………….(…….……)
% ความคลาดเคลื่อน = ………………………………………….
……….………….………….…….
แสดงวิธีคำานวณ % ความคลาดเคลื่อน
………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………
……………………………………………………………………
…………………………………….
……………………………………………………………………
…………………………………….
ระหว่างตัวต้านทานและสารละลาย 4CuSO สิ่งใดบ้างที่เป็นไปตามกฎ
ของโอห์ม เหตุผลใดจึงสรุปเช่นนั้น
……………………………………………………………………
………………………….
……………………………………………………………………
…………………………………..
……………………………………………………………………
…………………………………..
ตอนที่ 2 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม
ตัวต้านทานที่เลือก =1R ……………………...(………)
=2R ……………………..(………)
=3R ……………………...(………)
แรงดันไฟฟ้าที่คำานวณได้ = ……………..…….……..(………)
ผลการวัด
=V ………………... ±..….....…(…..…....)
=1V ……….………. ±..………(………..)
122
=2V …………..……. ±..….……(…….....)
=3V ……….………. ±..…….…(…….....)
=I ……………….…. ±….….…(…….....)
=1I …………….….. ±...…...…(………..)
=2I ……..………….. ±..…….…(……....)
=3I ………….……... ±…..….…(……....)
สรุปผลการทดลองตอน 2
ความต่างศักย์ของวงจรเป็นไปตามความจริง ของการต่อตัวต้านทาน
แบบอนุกรมหรือไม่ ด้วยเหตุผลใด
……………………………………………………………………
…………………………………...…
……………………………………………………………………
……………………………...………
……………………………………………………………………
………………………………….….
กระแสไฟฟ้าของวงจรเป็นไปตามความจริงของการต่อตัวต้านทาน
แบบอนุกรมหรือไม่ ด้วยเหตุผลใด
……………………………………………………………………
……………………..…….…………
……………………………………………………………………
………………………..….…………
……………………………………………………………………
…………………………..………….
ความต้านทานของวงจรเป็นไปตามความจริงของการต่อตัวต้านทาน
แบบอนุกรมหรือไม่ ด้วยเหตุผลใด
……………………………………………………………………
…………………………………...…
……………………………………………………………………
………………………………...……
……………………………………………………………………
…………………………….…….….
ตอนที่ 3 การต่อตัวต้านทานแบบขนาน
ตัวต้านทานที่เลือก =1R ……………………...(………)
123
=2R …………………..…..(………)
=3R ……………………...(………)
แรงดันไฟฟ้าที่คำานวณได้ = ……………..…….……..(………)
ผลการวัด
=V ………………... ±..….....…(…..…....)
=1V ……….………. ±..………(………..)
=2V …………..……. ±..….……(…….....)
=3V ……….………. ±..…….…(…….....)
=I ……………….…. ±….….…(…….....)
=1I …………….….. ±...…...…(………..)
=2I ……..………….. ±..…….…(……....)
=3I ………….……... ±…..….…(……....)
สรุปผลการทดลอง ตอน 3
ความต่างศักย์ของวงจรเป็นไปตามความจริง ของการต่อตัวต้านทาน
แบบขนานหรือไม่ ด้วยเหตุผลใด
……………………………………………………………………
…………………………………...…
……………………………………………………………………
……………………………...………
……………………………………………………………………
………………………………….….
กระแสไฟฟ้าของวงจรเป็นไปตามความจริงของการต่อตัวต้านทาน
แบบขนานหรือไม่ ด้วยเหตุผลใด
……………………………………………………………………
……………………..…….…………
……………………………………………………………………
………………………..….…………
……………………………………………………………………
…………………………..………….
ความต้านทานของวงจรเป็นไปตามความจริงของการต่อตัวต้านทาน
แบบขนานหรือไม่ ด้วยเหตุผลใด
124
……………………………………………………………………
…………………………………...…
……………………………………………………………………
………………………………...……
……………………………………………………………………
…………………………….…….….
วิเคราะห์ผลการทดลอง
……………………………………………………………………
…………………………………...…
……………………………………………………………………
………………………………….….
……………………………………………………………………
………………………………..……
……………………………………………………………………
……………………………….…….
……………………………………………………………………
………………………………..……
……………………………………………………………………
……………………………….…….
……………………………………………………………………
…………………………………...…
……………………………………………………………………
………………………………….….
……………………………………………………………………
………………………………..……
……………………………………………………………………
……………………………….…….
……………………………………………………………………
………………………………..……
……………………………………………………………………
……………………………….…….
125
126

More Related Content

What's hot

Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1MaloNe Wanger
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1Somporn Laothongsarn
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2Apinya Phuadsing
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2MaloNe Wanger
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1Theerawat Duangsin
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2Somporn Laothongsarn
 
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสหน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสPornsak Tongma
 
แบบฝึกหัดท้ายบท8
แบบฝึกหัดท้ายบท8แบบฝึกหัดท้ายบท8
แบบฝึกหัดท้ายบท8Gawewat Dechaapinun
 
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานหน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานPornsak Tongma
 

What's hot (20)

Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
ไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรงไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรง
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ
ไฟฟ้ากระแสสลับไฟฟ้ากระแสสลับ
ไฟฟ้ากระแสสลับ
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
A ccircuit
A ccircuitA ccircuit
A ccircuit
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
 
Lesson18
Lesson18Lesson18
Lesson18
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
 
เทวินิน
เทวินินเทวินิน
เทวินิน
 
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสหน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
 
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
แบบฝึกหัดท้ายบท8
แบบฝึกหัดท้ายบท8แบบฝึกหัดท้ายบท8
แบบฝึกหัดท้ายบท8
 
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานหน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
 

Similar to Lab9 (1)

กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdfกระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdfCharanyaKanuson
 
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdfฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdfsensei48
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมPongsakorn Poosankam
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2Teerapong Iemyong
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์Jiraporn
 
Lab kawee knok
Lab kawee knokLab kawee knok
Lab kawee knokZHEZA
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1Chakkrawut Mueangkhon
 

Similar to Lab9 (1) (20)

514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
Meter
MeterMeter
Meter
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdfกระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdfฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
Electricity lecture 2012 Week01
Electricity lecture 2012  Week01Electricity lecture 2012  Week01
Electricity lecture 2012 Week01
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์
 
Lab kawee knok
Lab kawee knokLab kawee knok
Lab kawee knok
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 

Lab9 (1)

  • 1. ปฏิบัติการที่ 9C กฎของโอห์มและวงจรไฟฟ้ากระแสตรง ตอนที่ 1 กฎของโอห์ม(Ohm’s Law) จุดประสงค์ ศึกษาความสัมพันธ์ตามกฎของโอห์ม ทฤษฎี กฎของโอห์มกล่าวว่า “เมื่ออุณหภูมิคงที่ อัตราส่วนของความ ต่างศักย์ ( )V ระหว่างปลายทั้งสองข้างของตัวนำา กับกระแส ( )I ที่ไหล ผ่านตัวนำา จะมีค่าคงที่เสมอ” และค่าคงที่นี้จะเท่ากับความต้านทาน ของตัวต้านทาน ( )R นั้น นั่นเอง เขียนเป็นสมการได้ว่า R I V = (9.1) ถ้าเขียนกราฟระหว่างความต่างศักย์ V และกระแสไฟฟ้า I จะได้กราฟเป็นเส้นตรง มีความชันเท่ากับความต้านทาน R ดังรูป 9.1 รูปที่ 9.1 กราฟระหว่าง V และ I ตามกฎของโอห์ม กฎของโอห์มยังประยุกต์ใช้กับอุปกรณ์อื่นๆ ได้ด้วย กราฟ ระหว่าง V และ I ของวัสดุใดเป็นเส้นตรงเรากล่าวว่าวัสดุนั้นเป็น ไปตามกฎของโอห์ม เช่น โลหะ และตัวต้านทาน เป็นต้น ถ้า กราฟระหว่าง V และ I ของวัสดุใดไม่เป็นเส้นตรงเรากล่าวว่าวัสดุ นั้นไม่เป็นไปตามกฎของโอห์ม เช่น ของเหลวและก๊าซ เป็นต้น อย่างไรก็ตามมีวัสดุหลายชนิด ที่กราฟทั้งเส้นระหว่าง V และ I ( )VoltV ( )AmpI Rslope =
  • 2. ไม่เป็นเส้นตรงแต่มีบางช่วงเป็นเส้นตรง ซึ่งเรากล่าวว่า วัสดุนั้น เป็นไปตามกฎของโอห์มเฉพาะ V และ I ช่วงนั้น(ช่วงที่กราฟเป็น เส้นตรง) ดังรูปที่ 9.2 รูปที่ 9.2 กราฟระหว่าง V และ I การทราบว่าวัสดุใดบ้างเป็นไปตามกฎของโอห์ม หรือเป็น เพียงช่วงใดช่วงหนึ่ง มีประโยชน์ต่อการศึกษาและประยุกต์ใช้งาน อย่างมาก โดยเฉพาะการคำานวณ เพราะเราจะนำาสมการ 9.1 มา คำานวณได้ต่อเมื่อวัสดุนั้นเป็นตามกฎของโอห์ม เท่านั้น วิธีการ ทดลองต่อไปนี้เป็นวิธีหนึ่งที่ทำาให้เราทราบว่า วัสดุนั้นเป็นไปตามกฎ ของโอห์มหรือไม่ หรือเป็นเฉพาะช่วงใด อุปกรณ์การทดลอง แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ตัว ต้านทานไม่ทราบว่า สารละลาย 4CuSO สายไฟ โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ บิกเกอร์ วิธีทดลอง 1 ต่อวงจรตามรูป 9.3 โดยใช้ตัวต้านทานไม่ทราบค่า แอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์ตั้งสเกลการวัดไว้สูง ๆ ปิด สวิตซ์แหล่งจ่ายไฟ(ยังไม่ปล่อยกระแสเข้าวงจร) ( )VoltV ( )AmpI ( )VoltV ( )AmpI วัสดุเป็นไปตามกฎของ โอห์ม วัสดุเป็นไปตามกฎของโอห์ม บางช่วง 116
  • 3. รูปที่ 9.3 วงจรทดลองตามกฎของโอห์ม 2 เปิดสวิตซ์แหล่งจ่ายไฟฟ้าเพื่อปล่อยกระแสเข้าวงจร แล้ว ค่อย ๆ ปรับแรงดันไฟฟ้าขึ้นช้า ๆ พร้อมกับสังเกตความต่าง ศักย์คร่อมตัวต้านทาน จนได้เท่ากับ 0.75 โวลท์ อ่านกระแส จากแอมมิเตอร์ในขณะนั้น บันทึกผล 3 เพิ่มแรงดันจนความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทานเป็น 1.5V, 2.25V, 3V ,3.75V ,4.5V, 5.25V และ 6 โวลต์ ตามลำาดับ แต่ละครั้ง บันทึกกระแสจากแอมมิเตอร์ที่สอดคล้องกัน 4 ลดแรงดันจนความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทานเป็น 3.5V, 3V, 2.5V ,2V ,1.5V, 1V และ 0.5 โวลต์ ตามลำาดับ แต่ละครั้งบันทึก กระแสจากแอมมิเตอร์ที่สอดคล้องกัน 5 หาค่ากระแสไฟฟ้าเฉลี่ย ( )I ในแต่ละครั้ง 6 เขียนกราฟระหว่าง V และ I แล้วหาความชัน ซึ่งจะ เป็นค่าความต้านทานของตัวต้านทานที่ใช้ทดลอง 7 นำาค่าความต้านทานที่หาได้ เปรียบเทียบกับค่าความ ต้านทานจริง ๆ ของตัวต้านทานที่ใช้ทดลอง ( ถามจาก อาจารย์หรือเจ้าหน้าที่ควบคุม ) 8 เปลี่ยนตัวต้านทานเป็นสารละลาย 4CuSO บรรจุในบิกเกอร์ ปริมาณ และความเข้มข้นพอเหมาะ แล้วทดลองตามข้อ 2 – 7 คำาแนะนำา เมื่อเปลี่ยนเป็น 4CuSO ความต่างศักย์ที่ใช้บางค่า อาจวัดกระแสได้ไม่ชัดเจน นิสิตต้องปรับเปลี่ยนความ ต่างศักย์เพื่อให้เหมาะสมได้ ตอนที่ 2 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม จุดประสงค์ ศึกษาคุณสมบัติวงจรตัวต้านทานแบบอนุกรม ทฤษฎี เมื่อนำาตัวต้านทานมาต่ออนุกรมกัน จะได้ความจริง 3 ข้อดังนี้ VA + − + − R 117
  • 4. 1 กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าวงจรหรือกระแสรวม ( )I และ กระแสไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว จะเท่ากันหมด ตาม สมการ ...321 ==== IIII (9.2) 2 ความต่างศักย์รวม ( )V เท่ากับผลรวมของความต่างศักย์ของ ตัวต้านทานแต่ละตัว ตามสมการ ...321 +++= VVVV (9.3) 3 ความต้านทานรวม ( )R เท่ากับผลรวมความต้านทานแต่ละ ตัว ตามสมการ ...321 +++= RRRR (9.4) การทดลองต่อไปนี้ จะพิสูจน์ความจริงของการต่อตัวต้านทาน อนุกรม ตามที่กล่าวมา อุปกรณ์การทดลอง แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ตัวต้านทาน โวลท์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ สายไฟ วิธีทดลอง 1 ต่อวงจรตามรูป 9.4 โดยนิสิตเลือกใช้ตัวต้านทาน 3 ตัว ตามต้องการ บันทึกค่าความต้านทานของตัวต้านทานแต่ละ ตัว (ตัวต้านทานแต่ละตัวควรมีกำาลังวัตต์เท่ากัน) รูปที่ 9.4 วงจรตัวต้านทานแบบอนุกรม 2 คำานวณความต้านทานรวมของวงจร โดยใช้สมการ (9.4) จากนั้นให้คำานวณว่า ถ้าต้องการให้กระแสรวม ( )I เท่ากับ 75 mA ต้องใช้แรงดันไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟฟ้ากี่โวลต์ บันทึกแรงดันที่คำานวณได้ (เลือกกระแสค่าอื่นได้ แต่ต้องไม่ เกิน 200 mA) 1R 2R 3R 118
  • 5. 3 เปิดสวิตซ์แหล่งกำาเนิดไฟฟ้าเพื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าวงจร โดยใช้แรงดันตามที่คำานวณตามข้อ 2 จากนั้น ให้วัดค่าดัง ต่อไปนี้ 3.1 ใช้โวลต์มิเตอร์กระแสตรงวัดความต่างศักย์รวม( )V และความต่างศักย์ของตัวต้านทานแต่ละตัว บันทึก ผล 3.2 ใช้แอมมิเตอร์กระแสตรงวัดกระแสทั้งวงจร( )I และ กระแสไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว บันทึกผล 4 นำาค่ากระแสไฟฟ้าที่วัดได้ตรวจสอบว่าเป็นไปตามความจริง หรือไม่ 5 นำาค่าความต่างศักย์ที่วัดได้ ตรวจสอบว่าเป็นไปตามความ จริงหรือไม่ 6 นำาความต่างศักย์รวม และกระแสรวมทั้งวงจร ไปคำานวณหา ค่าความต้านทานรวมของวงจร แล้วนำาไปตรวจสอบเป็นไปตามความจริงหรือไม่ ตอนที่ 3 การต่อตัวต้านทานแบบขนาน จุดประสงค์ ศึกษาคุณสมบัติวงจรตัวต้านทานแบบขนาน ทฤษฎี เมื่อนำาตัวต้านทานมาต่อขนานกัน จะได้ความจริง 3 ข้อดังนี้ 1 กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าวงจรหรือกระแสรวม ( )I เท่ากับผล รวมของกระแสไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว ตามสมการ ...321 +++= IIII (9.5) 2 ความต่างศักย์รวม ( )V เท่ากับความต่างศักย์ของตัวต้านทาน แต่ละตัว ตามสมการ ...321 ==== VVVV (9.6) 4 ความต้านทานรวม ( )R เท่ากับผลรวมความต้านทานของตัว ต้านทานแต่ละตัว ตามสมการ 119
  • 6. ... 1111 321 +++= RRRR (9.7) การทดลองต่อไปนี้ จะพิสูจน์ความจริงของการต่อตัวต้านทาน ขนาน อุปกรณ์ แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ตัวต้านทาน โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ สายไฟ วิธีทดลอง 1 ต่อวงจรตามรูป 9.5 โดยนิสิตเลือกใช้ตัวต้านทาน 3 ตัว ตามต้องการ บันทึกค่าความต้านทานของตัวต้านทานแต่ละ ตัว (ตัวต้านทานแต่ละตัวควรมีกำาลังวัตต์เท่ากัน) แล้ว ทดลองตามขั้นตอนเหมือนตอนที่ 2 รูปที่ 9.5 วงจรตัวต้านทานแบบอนุกรม บันทึกผลปฏิบัติการที่ 9C กฎของโอห์มและวงจรไฟฟ้ากระแสตรง ชื่ อ ส กุ ล … … … … … … … … … … … … … … … … ..ร หั ส ………………………คณะ ………………… วันที่ ………เดือน ………..….…… พ ศ 25………...กลุ่มที่ ……………ทดลองครั้งที่ ……………. ผู้ร่วมงาน ………………………………………………รหัส ………………………….…….. 1R 2R 3R 120
  • 7. ผู้ร่วมงาน ………………………………………………รหัส ………………………….…….. ผู้ร่วมงาน ………………………………………………รหัส ………………………….…….. ตอนที่ 1 กฎของโอห์ม ตัวต้านทานไม่ทราบค่า ความต่าง ศักย์( )V (…………..) กระแสไฟฟ้า( )I (………...) กระแสเฉลี่ย ( )I (……..…..)เพิ่ม ลด 0.75 1.50 2.25 3.00 3.75 4.50 5.25 6.00 สารละลาย 4CuSO ความต่าง ศักย์( )V (………….) กระแสไฟฟ้า( )I (……. …..) กระแสเฉลี่ย ( )I (……..…..)เพิ่ม ลด สรุปผลการทดลอง ตอน 1 หาค่าความต้านทานของตัวต้านทาน ได้ เท่ากับ…………………………….…………….(…….……) แสดงวิธีคำานวณหาค่าความต้านทาน …………………………………………………………………… 121
  • 8. …………………………………………………………………… …………………………………… …………………………………………………………………… ……………………………………. …………………………………………………………………… ……………………………………. ความต้านทานจริงๆ ของตัวต้านทาน เท่ากับ …………………………………………….(…….……) % ความคลาดเคลื่อน = …………………………………………. ……….………….………….……. แสดงวิธีคำานวณ % ความคลาดเคลื่อน ……………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………… …………………………………………………………………… ……………………………………. …………………………………………………………………… ……………………………………. ระหว่างตัวต้านทานและสารละลาย 4CuSO สิ่งใดบ้างที่เป็นไปตามกฎ ของโอห์ม เหตุผลใดจึงสรุปเช่นนั้น …………………………………………………………………… …………………………. …………………………………………………………………… ………………………………….. …………………………………………………………………… ………………………………….. ตอนที่ 2 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม ตัวต้านทานที่เลือก =1R ……………………...(………) =2R ……………………..(………) =3R ……………………...(………) แรงดันไฟฟ้าที่คำานวณได้ = ……………..…….……..(………) ผลการวัด =V ………………... ±..….....…(…..…....) =1V ……….………. ±..………(………..) 122
  • 9. =2V …………..……. ±..….……(…….....) =3V ……….………. ±..…….…(…….....) =I ……………….…. ±….….…(…….....) =1I …………….….. ±...…...…(………..) =2I ……..………….. ±..…….…(……....) =3I ………….……... ±…..….…(……....) สรุปผลการทดลองตอน 2 ความต่างศักย์ของวงจรเป็นไปตามความจริง ของการต่อตัวต้านทาน แบบอนุกรมหรือไม่ ด้วยเหตุผลใด …………………………………………………………………… …………………………………...… …………………………………………………………………… ……………………………...……… …………………………………………………………………… ………………………………….…. กระแสไฟฟ้าของวงจรเป็นไปตามความจริงของการต่อตัวต้านทาน แบบอนุกรมหรือไม่ ด้วยเหตุผลใด …………………………………………………………………… ……………………..…….………… …………………………………………………………………… ………………………..….………… …………………………………………………………………… …………………………..…………. ความต้านทานของวงจรเป็นไปตามความจริงของการต่อตัวต้านทาน แบบอนุกรมหรือไม่ ด้วยเหตุผลใด …………………………………………………………………… …………………………………...… …………………………………………………………………… ………………………………...…… …………………………………………………………………… …………………………….…….…. ตอนที่ 3 การต่อตัวต้านทานแบบขนาน ตัวต้านทานที่เลือก =1R ……………………...(………) 123
  • 10. =2R …………………..…..(………) =3R ……………………...(………) แรงดันไฟฟ้าที่คำานวณได้ = ……………..…….……..(………) ผลการวัด =V ………………... ±..….....…(…..…....) =1V ……….………. ±..………(………..) =2V …………..……. ±..….……(…….....) =3V ……….………. ±..…….…(…….....) =I ……………….…. ±….….…(…….....) =1I …………….….. ±...…...…(………..) =2I ……..………….. ±..…….…(……....) =3I ………….……... ±…..….…(……....) สรุปผลการทดลอง ตอน 3 ความต่างศักย์ของวงจรเป็นไปตามความจริง ของการต่อตัวต้านทาน แบบขนานหรือไม่ ด้วยเหตุผลใด …………………………………………………………………… …………………………………...… …………………………………………………………………… ……………………………...……… …………………………………………………………………… ………………………………….…. กระแสไฟฟ้าของวงจรเป็นไปตามความจริงของการต่อตัวต้านทาน แบบขนานหรือไม่ ด้วยเหตุผลใด …………………………………………………………………… ……………………..…….………… …………………………………………………………………… ………………………..….………… …………………………………………………………………… …………………………..…………. ความต้านทานของวงจรเป็นไปตามความจริงของการต่อตัวต้านทาน แบบขนานหรือไม่ ด้วยเหตุผลใด 124
  • 11. …………………………………………………………………… …………………………………...… …………………………………………………………………… ………………………………...…… …………………………………………………………………… …………………………….…….…. วิเคราะห์ผลการทดลอง …………………………………………………………………… …………………………………...… …………………………………………………………………… ………………………………….…. …………………………………………………………………… ………………………………..…… …………………………………………………………………… ……………………………….……. …………………………………………………………………… ………………………………..…… …………………………………………………………………… ……………………………….……. …………………………………………………………………… …………………………………...… …………………………………………………………………… ………………………………….…. …………………………………………………………………… ………………………………..…… …………………………………………………………………… ……………………………….……. …………………………………………………………………… ………………………………..…… …………………………………………………………………… ……………………………….……. 125
  • 12. 126