SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
คณิตศาสตร์สาหรับครูช่างอุตสาหกรรมศิลป์
ไฟฟ้ากระแสสลับ
• วงจรไฟฟ้ากระแสสลับประกอบด้วยเครื่องกานิดกระแสสลับและ
ส่วนประกอบอีก 3 อย่างคือ ตัวต้านทาน (resistor) ตัวจุ (capacitor)
และ ตัวเหนี่ยวนา (inductor)
วงจรซึ่งมีตัวต้านทานอย่างเดียว
ในวงจรจะได้ 𝑉𝑅 = 𝐼𝑅
𝑉𝑅 = 𝑉 = 𝑉𝑚 sin 𝜔𝑡
𝐼𝑅 = 𝑉𝑚 sin 𝜔𝑡
วงจรซึ่งมีตัวต้านทานอย่างเดียว (ต่อ)
• กำลังไฟฟ้ำที่ตกคร่อมบนตัวต้ำนทำน (R) หาได้จาก 𝑖2 𝑅 เมื่อ i เป็นกระแสสลับที่เวลำใดๆ ค่ำโดย
เฉลี่ยของกระแสสลับดังกล่ำวเรียกว่ำ กระแสยังผล (effective current) นิยำมได้ดังนี้
• ค่ำยังผลของกระแสไฟฟ้ำสลับ หมำยถึง ค่ำของกระแสไฟฟ้ำตรงค่ำหนึ่ง ซึ่งจะทำให้ เกิดพลังงำน
(ควำมร้อน, แสง, เสียง) บนตัวต้ำนทำนตัวหนึ่งได้เท่ำกันในเวลำที่เท่ำกัน
• ในช่วงเวลำ dt พลังงำนที่เกิดขึ้นบนตัวต้ำนทำนเท่ำกับ dW คือ
dW = iR2dt
ต้องกำรหำงำนที่ได้จำกกระแสไฟฟ้ำสลับไหล 1 รอบ ซึ่งใช้เวลำ 𝑇 =
2𝜋
𝜔
วินำที
วงจรซึ่งมีตัวต้านทานอย่างเดียว (ต่อ)
• สมกำรทั่วไปของ กระแสไฟฟ้ำสลับที่ไหลผ่ำนตัวต้ำนทำน R คือ 𝑖 = 𝐼 𝑚 sin 2𝜋𝑓𝑡
ดังนั้นจะได้ W = 𝑅 0
𝑇
𝐼 𝑚
2 𝑠𝑖𝑛2 2𝜋𝑓𝑡𝑑𝑡
จำกสูตรตรีโกณมิติ
𝑠𝑖𝑛2
𝑥 =
1 − 𝑐𝑜𝑠2𝑥
2
จะได้
=
𝐼 𝑚
2 𝑅
2 0
𝑇
1 − 𝑐𝑜𝑠4𝜋𝑓𝑡 𝑑𝑡 =
𝐼 𝑚
2 𝑅
2
𝑇
ตัวอย่างที่ 6.1 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ำให้แรงเคลื่อนไฟฟ้ำสูงสุด 30 โวลต์ มีควำมถี่ 50 รอบ/วินำที ถ้ำเครื่องกำเนิดไฟฟ้ำนี้ต่อ
กับวงจรที่มีตัวต้ำนทำน 10 โอห์ม จงหำค่ำกระแสไฟฟ้ำและ กระแสไฟฟ้ำสูงสุดที่ไหลผ่ำนตัวต้ำนทำนนี้
วิธีทำ สมกำรแรงเคลื่อนไฟฟ้ำ 𝑉 = 𝑉𝑚 𝑠𝑖𝑛2𝜋𝑓𝑡
จำกสมกำร แทนค่ำจะได้ 𝑉 = 30𝑠𝑖𝑛100𝜋𝑡
𝑉𝑟𝑚𝑠 =
𝑉 𝑚
2
=
30
2
= 21.21 โวลต์
อำศัยกฎของโอห์มคำนวณหำกระแสยังผล (Irms) จะได้
𝐼𝑟𝑚𝑠 =
𝑉𝑟𝑚𝑠
𝑅
=
21.21
10
= 2.12 แอมแปร์
กระแสไฟฟ้ำค่ำสูงสุด =
𝑉 𝑚
𝐼 𝑚
=
30
10
= 3 แอมแปร์ Ans.
วงจรซึ่งมีตัวเหนี่ยวนาอย่างเดียว
มีแรงเคลื่อนไฟฟ้ำเป็น 𝑉 = 𝑉𝑚 sin 𝜔𝑡 และตัวเหนี่ยวนำซึ่งมีควำมเหนี่ยวนำ
(inductance) เป็น L (เฮนรี)
เมื่อ i เป็นกระแสไฟฟ้าในขณะใดๆ
VL ความต่างศักย์ระหว่างปลายทางของตัวเหนี่ยวนาในขณะใดๆ
วงจรซึ่งมีตัวเหนี่ยวนาอย่างเดียว (ต่อ)
วงจรที่มีขดลวดเหนี่ยวนำเพียงอย่ำงเดียว ควำมต่ำงศักย์ที่ตกคร่อม L คือ
𝑉𝐿 = 𝐿
𝑑𝑖
𝑑𝑡
= 𝑉𝑚 sin 𝜔𝑡
เมื่ออินทิเกรตจะได้สมกำร i เป็นฟังก์ชันกับเวลำ
𝑖 𝐿 =
𝑉𝑚
𝐿
𝑠𝑖𝑛𝜔𝑡𝑑𝑡
จะได้
𝑖 𝐿 =
𝑉𝑚
𝜔𝐿
−𝑐𝑜𝑠𝜔𝑡
วงจรซึ่งมีตัวเหนี่ยวนาอย่างเดียว (ต่อ)
กำรอินทิเกรตนี้จะละค่ำคงที่ไว้ เพรำะสำมำรถทำให้ค่ำคงที่มีค่ำเป็นศูนย์ได้โดยกำร
จัดเงื่อนไขเริ่มต้นให้เหมำะสม อำศัยตรีโกณมิติ ที่ว่ำ
−𝑐𝑜𝑠𝐴 = 𝑠𝑖𝑛 𝐴 − 90°
𝑖 𝐿 =
𝑉 𝑚
𝜔𝐿
𝑠𝑖𝑛 𝜔𝑡 −
𝜋
2
แอมแปร์
ให้ 𝐼 𝑚 =
𝑉 𝑚
𝜔𝐿
จะได้
𝑖 𝐿 = 𝐼 𝑚 𝑠𝑖𝑛 𝜔𝑡 −
𝜋
2
แอมแปร์
วงจรซึ่งมีตัวเก็บประจุอย่างเดียว
วงจรที่ประกอบด้วยตัวเก็บประจุเพียงอย่ำงเดียว ซึ่งมีสมกำรแรงเคลื่อนไฟฟ้ำใน
วงจรคือ 𝑉𝑐 = 𝑉𝑚 𝑠𝑖𝑛𝜔𝑡
𝑉𝑐 =
𝑞
𝑐
วงจรซึ่งมีตัวเก็บประจุอย่างเดียว (ต่อ)
• กระแสไฟฟ้ำในวงจรคือ 𝑖 𝑐 =
𝑑𝑞
𝑑𝑡
= 𝑉𝑐 𝜔𝑐 𝑐𝑜𝑠𝜔𝑡
𝑖 𝑐 =
𝑉 𝑚
1
𝜔𝑐
𝑠𝑖𝑛 𝜔𝑡 +
𝜋
2
โดยที่ 𝑋𝑐 คือควำมต้ำนทำนของตัวเก็บประจุ =
1
𝜔𝑐
มีหน่วยเป็นโอห์ม
ตัวอย่างที่ 6.3 ควำมต่ำงศักย์ที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุขนำด 1 ไมโครฟำรัด เขียนเป็น
สมกำรคือ 𝑉𝑐 = 30𝑠𝑖𝑛400𝑡 โวลต์ จงเขียนสมกำรแสดงกระแสไฟฟ้ำที่ไหลผ่ำนตัวเก็บประจุ
วิธีทำ 𝑋𝑐 =
1
𝜔𝑐
=
1
400×1×10−6
= 2500 โอห์ม
𝐼 𝑚 =
𝑉𝑚
𝑋𝑐
=
30
2500
= 0.012 แอมแปร์
สมกำรแสดงกระแสไฟฟ้ำที่ไหลผ่ำนตัวเก็บประจุ คือ 𝑖 𝑐 = 0.012𝑠𝑖𝑛400𝑡
ตัวอย่างที่ 6.4 กำหนดให้ 𝑉𝐿 = 10𝑠𝑖𝑛2𝑡 และ 𝐿 = 5 เฮนรี จงหำคำตอบของ
สมกำรกระแสไฟฟ้ำเมื่อเทียบกับเวลำ
วิธีทำ จำกสมกำร 𝑖 𝐿 =
𝑉 𝑚
𝐿
𝑠𝑖𝑛𝜔𝑡𝑑𝑡
แทนค่ำ 𝑖 𝐿 =
10
5
𝑠𝑖𝑛2𝑡𝑑𝑡
= 2 𝑠𝑖𝑛2𝑡𝑑𝑡
= 2
−𝑐𝑜𝑠2𝑡
2
= −𝑐𝑜𝑠2𝑡

More Related Content

Similar to การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า

การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1yasotornrit
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมPongsakorn Poosankam
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04
EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04
EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04Rajamangala University of Technology Rattanakosin
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptxkhwanchaipawasan2
 
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดพลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดpanawan306
 

Similar to การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า (20)

การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01
 
EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04
EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04
EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
Meter
MeterMeter
Meter
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดพลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 

More from CC Nakhon Pathom Rajabhat University

การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 

More from CC Nakhon Pathom Rajabhat University (20)

ภาษา php
ภาษา phpภาษา php
ภาษา php
 
ภาษา java sript
ภาษา java sriptภาษา java sript
ภาษา java sript
 
session cookies
session cookiessession cookies
session cookies
 
ภาษา css
ภาษา cssภาษา css
ภาษา css
 
ภาษา xhtml
ภาษา xhtmlภาษา xhtml
ภาษา xhtml
 
ภาษา html5
ภาษา html5ภาษา html5
ภาษา html5
 
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์
 
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
 
Entity Relationship
Entity RelationshipEntity Relationship
Entity Relationship
 
แบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบแบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบ
 
การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2
 
การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
 

การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า