SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
3. คาพ้องทั้งรูปและเสียง เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า คาหลาย
ความหมาย ซึ่งหมายถึง คาที่มีรูปเหมือนกัน อ่าน
ออกเสียงอย่างเดียวกัน เเต่มีความหมายหลายอย่าง
แล้วแต่จะนาไปใช้
ตัวอย่าง ตาเตือนฉันว่าไม่ควรเอามือขยี้ตาจะทาให้เป็น
โรคตาแดง
ตา คาแรกเป็นคานาม หมายถึง ญาติผู้ใหญ่
ตา คาที่สองเป็นคานาม หมายถึง อวัยวะที่ใช้ใน
การดู
ตา คาที่สาม หมายถึง โรคชนิดหนึ่ง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
คาพ้องรูปและเสียง
คา ความหมาย
ขัน
ภาชนะสาหรับตักหรือใส่น้า
ทาให้ตึงหรือเเน่นด้วยวิธีหมุนเข้าไปเช่น
ขันนอต
อาการร้องเป็นเสียงอย่างหนึ่งของไก่
หัวเราะ รู้สึกตลก
แกะ
๑. ชื่อสัตว์๔ เท้า ประเภทหนึ่ง
๒. เอาเล็บมือค่อยๆ แกะ เพื่อให้หลุดออก
เงาะ
๑. คนป่าพวกหนึ่ง รูปร่างเตี้ย ตัวดา ผมหยิก
๒. ชื่อผลไม้ชนิดหนึ่ง
แบบฝึกหัดเรื่องคาพ้องรูป
คาชี้แจงให้เขียนคาอ่านของคาต่อไปนี้
1.มีการแข่งขันว่าวระหว่างว่าวจุฬากับปักเป้ า
(........................)ปลาปักเป้า (.............................) เป็นปลา
ที่มีพิษ
2.คนแขม (.........................) ปลูกต้นแขม ( .............)
ไว้หลายต้น
3.คุณแม่รักและหวงแหน (......................) ลูกสาวคนนี้มาก
คุณพ่อช้อนแหน (....................) มาให้เป็ดกิน
4..เพลา (.....................) รถของลุงหัก
เพลา (......................) นี้มีข้าศึกมาประชิดเมืองแล้ว
แบบฝึกหัดเรื่องคาพ้องเสียง
คาชี้แจงให้นักเรียนเติมคาพ้องเสียง(คาที่ขีดเส้นใต้)
ให้ถูกต้อง
1. จักตอก เครื่อง.................ประ........... ....
2.สะบัด สม.................... นาม...............
3.ผูกพัน สัม.................... ผิว............. ...
4.ผักกาด ประ.................. เก่ง................
5.ประสาน สง.................... มหา...............
จัดทาโดย นางสาวธนภรณ์ ชูชาติ
รหัสนิสิต 5781124011 สาขาภาษาไทย
คาพ้อง คือ คาที่มีรูปหรือเสียงเหมือนกัน
แต่ความหมายต่างกัน ดังนั้น เวลาอ่าน
หรือเขียนต้องอาศัยความรู้ในการ
พิจารณาเนื้อความ เพื่อให้อ่านและเขียน
ได้ถูกต้อง
คาพ้อง แบ่งเป็น 3 ชนิด ดังนี้
1. คาพ้องรูป
2. คาพ้องเสียง
3. คาพ้องรูปและเสียง
1. คาพ้องรูป คือคาที่เขียนเหมือนกัน ออกเสียง
ต่างกันและความหมายก็ต่างกัน การอ่านคาพ้องรูปให้
ถูกต้องควรดูข้อความอื่นๆ ประกอบด้วยว่าคาพ้องรูป
นั้นหมายถึงอะไร เเล้วจึงอ่านให้ถูก
ตัวอย่าง
คาพ้องรูป คาพ้องเสียง
2. คาพ้องเสียง คือคาที่ออกเสียงเหมือนกัน
แต่เขียนต่างกันและความหมายก็ต่างกันด้วย
ตัวอย่าง เขาเอาน้าที่ใช้ล้างรถไปรดน้า
ต้นไม้
รถ คาแรกเป็นคานาม หมายถึง
ยานพาหนะ
รด คาที่สองเป็นคากริยา หมายถึง
เท ราด หรือสาดน้า
คา ความ
หมาย
คา ความ
หมาย
กรรณ หู กัณฐ์ คอ
ข้า คนรับใช้ ค่า คุณประโยชน์
ควาน เอามือค้นห
าของ
ควาญ เลี้ยงเเละขับขี่
ช้าง
คา อ่านว่า ความหมาย
ครุ
คฺรุ ภาชนะสานชนิดหนึ่ง
คะ-รุ ครู, หนึ่ง
ปรามาส
ปฺรา-มาด ดูถูก
ปะ-รา-มาด การจับต้อง การลูบคลา
พยาธิ
พะ-ยา-ธิ ความเจ็บไข้
พะ-ยาด ชื่อสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ชนิดหนึ่ง
เพลา
เพลา แกน, ดุมล้อ, เบาลง
เพ-ลา เวลา

More Related Content

What's hot

คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์Kansinee Kosirojhiran
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 4 คำวิเศษณ์ ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 4  คำวิเศษณ์ ป.4.pdfหน่วยที่ 4 เรื่องที่ 4  คำวิเศษณ์ ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 4 คำวิเศษณ์ ป.4.pdfPloykarn Lamdual
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 

What's hot (20)

คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 4 คำวิเศษณ์ ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 4  คำวิเศษณ์ ป.4.pdfหน่วยที่ 4 เรื่องที่ 4  คำวิเศษณ์ ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 4 คำวิเศษณ์ ป.4.pdf
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 

Similar to แผ่นพับคำพ้อง

หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยKittitus Sa-admoang
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 

Similar to แผ่นพับคำพ้อง (20)

การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
นาฏย ศัพท์
นาฏย ศัพท์นาฏย ศัพท์
นาฏย ศัพท์
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 

แผ่นพับคำพ้อง

  • 1. 3. คาพ้องทั้งรูปและเสียง เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า คาหลาย ความหมาย ซึ่งหมายถึง คาที่มีรูปเหมือนกัน อ่าน ออกเสียงอย่างเดียวกัน เเต่มีความหมายหลายอย่าง แล้วแต่จะนาไปใช้ ตัวอย่าง ตาเตือนฉันว่าไม่ควรเอามือขยี้ตาจะทาให้เป็น โรคตาแดง ตา คาแรกเป็นคานาม หมายถึง ญาติผู้ใหญ่ ตา คาที่สองเป็นคานาม หมายถึง อวัยวะที่ใช้ใน การดู ตา คาที่สาม หมายถึง โรคชนิดหนึ่ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คาพ้องรูปและเสียง คา ความหมาย ขัน ภาชนะสาหรับตักหรือใส่น้า ทาให้ตึงหรือเเน่นด้วยวิธีหมุนเข้าไปเช่น ขันนอต อาการร้องเป็นเสียงอย่างหนึ่งของไก่ หัวเราะ รู้สึกตลก แกะ ๑. ชื่อสัตว์๔ เท้า ประเภทหนึ่ง ๒. เอาเล็บมือค่อยๆ แกะ เพื่อให้หลุดออก เงาะ ๑. คนป่าพวกหนึ่ง รูปร่างเตี้ย ตัวดา ผมหยิก ๒. ชื่อผลไม้ชนิดหนึ่ง แบบฝึกหัดเรื่องคาพ้องรูป คาชี้แจงให้เขียนคาอ่านของคาต่อไปนี้ 1.มีการแข่งขันว่าวระหว่างว่าวจุฬากับปักเป้ า (........................)ปลาปักเป้า (.............................) เป็นปลา ที่มีพิษ 2.คนแขม (.........................) ปลูกต้นแขม ( .............) ไว้หลายต้น 3.คุณแม่รักและหวงแหน (......................) ลูกสาวคนนี้มาก คุณพ่อช้อนแหน (....................) มาให้เป็ดกิน 4..เพลา (.....................) รถของลุงหัก เพลา (......................) นี้มีข้าศึกมาประชิดเมืองแล้ว แบบฝึกหัดเรื่องคาพ้องเสียง คาชี้แจงให้นักเรียนเติมคาพ้องเสียง(คาที่ขีดเส้นใต้) ให้ถูกต้อง 1. จักตอก เครื่อง.................ประ........... .... 2.สะบัด สม.................... นาม............... 3.ผูกพัน สัม.................... ผิว............. ... 4.ผักกาด ประ.................. เก่ง................ 5.ประสาน สง.................... มหา............... จัดทาโดย นางสาวธนภรณ์ ชูชาติ รหัสนิสิต 5781124011 สาขาภาษาไทย
  • 2. คาพ้อง คือ คาที่มีรูปหรือเสียงเหมือนกัน แต่ความหมายต่างกัน ดังนั้น เวลาอ่าน หรือเขียนต้องอาศัยความรู้ในการ พิจารณาเนื้อความ เพื่อให้อ่านและเขียน ได้ถูกต้อง คาพ้อง แบ่งเป็น 3 ชนิด ดังนี้ 1. คาพ้องรูป 2. คาพ้องเสียง 3. คาพ้องรูปและเสียง 1. คาพ้องรูป คือคาที่เขียนเหมือนกัน ออกเสียง ต่างกันและความหมายก็ต่างกัน การอ่านคาพ้องรูปให้ ถูกต้องควรดูข้อความอื่นๆ ประกอบด้วยว่าคาพ้องรูป นั้นหมายถึงอะไร เเล้วจึงอ่านให้ถูก ตัวอย่าง คาพ้องรูป คาพ้องเสียง 2. คาพ้องเสียง คือคาที่ออกเสียงเหมือนกัน แต่เขียนต่างกันและความหมายก็ต่างกันด้วย ตัวอย่าง เขาเอาน้าที่ใช้ล้างรถไปรดน้า ต้นไม้ รถ คาแรกเป็นคานาม หมายถึง ยานพาหนะ รด คาที่สองเป็นคากริยา หมายถึง เท ราด หรือสาดน้า คา ความ หมาย คา ความ หมาย กรรณ หู กัณฐ์ คอ ข้า คนรับใช้ ค่า คุณประโยชน์ ควาน เอามือค้นห าของ ควาญ เลี้ยงเเละขับขี่ ช้าง คา อ่านว่า ความหมาย ครุ คฺรุ ภาชนะสานชนิดหนึ่ง คะ-รุ ครู, หนึ่ง ปรามาส ปฺรา-มาด ดูถูก ปะ-รา-มาด การจับต้อง การลูบคลา พยาธิ พะ-ยา-ธิ ความเจ็บไข้ พะ-ยาด ชื่อสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ชนิดหนึ่ง เพลา เพลา แกน, ดุมล้อ, เบาลง เพ-ลา เวลา