SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
 
 
รายงานวิชา การพัฒนาองคการ
Organization Development
(ศึกษาเรื่อง บริษัท คุณแมจู จํากัด)
จัดทําโดย
นางสาวฉวีวรรณ เกิดควน รหัส 5780141107
นางสาวนันทนภัส ณ นคร 5780141113
นางสาวอรอนงค จิตจํา 5780141126
นําเสนอ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ
รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของ รหัสวิชา 4472142 การพัฒนาองคการ
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2558
 
 
คํานํา
รายงานฉบับนี้จัดทําขึ้นเพื่อเปนสวนหนึ่งของวิชาการพัฒนาองคการ เพื่อใหไดศึกษาหา
ขอมูลและวิเคราะหแนวทางพัฒนาองคการของบริษัทคุณแมจู จํากัด และไดศึกษาอยางเขาใจเพื่อเปน
ประโยชนกับการเรียน ผูจัดทําหวังวา รายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนกับผูที่เกี่ยวของ หากมีขอแนะนําหรือ
ขอผิดพลาดประการใด ผูจัดทําขอนอมรับไวและขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย
คณะผูจัดทํา
วันที่ 20 กันยายน 2558
บริษัท คุณแมจู จํากัด
Khunmaeju Co., Ltd.
*********************
1. ประวัติความเปนมาของบริษัท
บริษัท คุณแมจู จํากัด
Khunmaeju Co., Ltd.
เลขทะเบียนนิติบุคคล : 0835542002466
วันจดทะเบียน : 14 กรกฎาคม 2542
ทุนจดทะเบียน : 5,000,000
ที่ตั้ง : 159/21 หมูที่ 5 ตําบล. เทพกระษัตรี อําเภอ ถลาง จังหวัด ภูเก็ต 83110
ประเภทธุรกิจ : การขายสงสินคาวัฒนธรรมและนันทนาการอื่นๆซึ่งมิไดจัดประเภทไวในที่อื่น
โทรศัพท : 0-7624-4856 khunmaeju@khunmaejuphuket.com
บริษัทคุณแมจู มีตํานานยาวนานมากกวา 70 ป คุณแมจู มีชื่อจริงวา คุณแมหงวดจู สันติกุล เปน
ชาวบาน สะปา คุณแมจูไดผลิตอาหารทะเลตากแหงสําเร็จรูปที่หมูบานสะปา ดวยความที่ทานเปนคนชอบ
ทําอาหารจึงไดลองแปรรูปอาหารทะเลที่มีอยูมากในสมัยมาเปนอาหารพื้นเมือง เชน แกงไตปลา เพื่อให
- 2 -
 
ชาวบานในหมูบานไดลิ้มลองรสชาติจนติดอกติดใจ ตอมาเมื่อการทองเที่ยวในจังหวัดภูเก็ตเริ่มเจริญเติบโต มี
นักทองเที่ยวเขามาทองเที่ยวเพิ่มมากขึ้นและไดซื้อผลิตภัณฑแกงไตปลาไปรับประทานก็ชื่นชอบในรสชาติ
และไดมีการบอกกันปากตอปาก ทําใหสินคาเริ่มขายดีมากขึ้น จึงไดเปลี่ยนบรรจุภัณฑที่บรรจุแกงไตปลาจาก
ถุงเปนกระปุกพลาสติก
ในป พ.ศ. 2542 นักทองเที่ยวเริ่มเขามาทองเที่ยวในภูเก็ตมากขึ้น ทายาทของคุณแมจูอยากจะ
สืบทอดเจตนารมณของคุณแม ในเรื่องอาหารพื้นเมืองของปกษใตใหเปนที่รูจักของนักทองเที่ยวเพิ่มมากขึ้น
จึงรวมกันลงทุนกอตั้งบริษัทขึ้น ณ ที่ตั้งปจจุบันคือ ต. เมืองใหม อ.ถลาง จ.ภูเก็ต และไดมีการขายสินคาเพิ่ม
มากขึ้น เชน น้ําพริกกุงเสียบและสินคาพื้นเมืองตาง ๆ อีกมากมาย ซึ่งรานคุณแมจู ถือเปนรานขายของฝากแหง
แรกของ จังหวัดภูเก็ต
1.2 ปรัชญา วิสัยทัศน ของบริษัท
ปรัชญา “ใหซื่อสัตยตอลูกคา” โดยคุณแมจูไดกลาวไววา “การทําอาหารอยาไปทําตามเขา
ทําตามสูตรของเรา อาหารที่อรอยตองมาจากจิตวิญญาณ ความตั้งใจ และเลือกใชสิ่งที่ดีที่สุดใหเหมือนเราทํา
กินกันเอง ดังนั้นอาหารทุกอยางในรานของเราจึงเปนอาหารรสนิยมที่แมเคยทําใหลูกกินทั้งนั้น”
วิสัยทัศน “ เปนผูนําในดานการผลิตและจําหนายอาหารพื้นเมืองของปกษใตในประเทศ”
โดยเนนการผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีดานอาหารและบุคลากรเพื่อที่จะตอบรับกับความตองการของผูบริโภค
ใหมากที่สุด
- 3 -
 
1.3 ดานผลิตภัณฑ
ผลิตภัณฑของบริษัท มีหลายประเภท เชน น้ําพริกกุงเสียบ น้ําพริกกุงเสียบตําสด แกงไตปลา ขนมเตาสอ
กลวยกวน เม็ดมะมวงหิมพานต ขนมงาพอง ขนมบี้ผาง ขนมพริก ปลาฉิ้งฉางกรอบ กุงเสียบแปรรูป
ปลาขาวสาร และของที่ระลึกตางๆ เปนตน
 
 
มาตรฐานการรับรองผลิตภัณฑ
1. 4 ชองทางการจัดจําหนาย
บริษัทคุณแมจู ไดมีตัวแทนจําหนายสินคาอยูทั่วประเทศ และชองทางการจัดจําหนายอีกหนึ่งชองทาง
คือการจําหนายผาน Modern Trade อาทิเชน Lotus, Big C , Top, Siam Paragon, Central World เปนตน
- 4 -
 
1.5 การบริหารงาน
1). ดานผูบริหาร
การบริหารงานของบริษัท คุณแมจู จํากัด เปนการบริหารงานแบบครอบครัวในเครือญาติซึ่งไดสืบ
ทอดกิจการกันมารุนตอรุน
2). ดานแรงงาน
แรงงานมีไมเพียงพอ แรงงานหายาก ซึ่งแรงงานสวนใหญเปนแรงงานตางดาวและแรงงานตางถิ่น
จํานวนมากซึ่งไมใชคนในพื้นที่ จึงมีการสลับหมุนเวียนกันบอยสงผลตอตนทุนในสวนนี้
2. ความโดดเดนในการพัฒนาองคกรของบริษัทคุณแมจู จํากัด
1. การปรับกลยุทธขยายการลงทุนแฟรนไชสคีออส หวังเปนชองทางกระจายสินคาและสราง
แบรนด ซึ่งจากที่ผานมาสินคากวา 50% อิงตลาดทองเที่ยว โดยเนนโชวจุดเดนอาหารใตที่ภาคอื่นไมมี ลงทุน
นอย 70,000 บาทเปนเจาของกิจการได ปจจัยที่ทําใหแมจูขยายธุรกิจในรูปแบบแฟรนไชส เพราะเปนกลยุทธ
การตลาดอยางหนึ่งที่จะสามารถสรางแบรนดไดและยังเปนการกระจายสินคาอีกทางหนึ่งดวย เพราะสินคาของ
- 5 -
 
รานคุณแมจูมากกวา 50% ขึ้นอยูกับการทองเที่ยว แตดวยภาวะการทองเที่ยวที่ซบเซามาจึงทําใหบริษัท ตองหา
ชองทางกระจายสินคาออกไปในทิศทางอื่น และการขยายธุรกิจแฟรนไชส โดยรูปแบบแฟรนไชสแมจูนี้จะ
เปดเปนลักษณะของคีออส เพราะใชเงินลงทุนไมมาก และทําเลไมจําเปนตองเปนสถานที่ทองเที่ยว ซึ่งจะทําให
ขยายสาขาไดมากกวา
โดยรูปแบบของรานคีออสนี้จะมีทั้งที่รับสินคาจากบริษัทแมไปจําหนาย และตองทําขายเองหนารานซึ่ง แฟรน
ไชซีจะตองมาเรียนรูวิธีการทําจากแฟรนไชซอรดวย เชน การทําน้ําพริกกุงเสียบเนื่องจากสินคานี้เปนสินคา
ขายของแมจู เพราะหากเปนแคการรับสินคาไปขายอยางเดียวก็จะไปทับไลนกับการขายสงที่บริษัทมีการทํามา
นานแลว
สําหรับจุดเดนของแฟรนไชสคีออสแมจูคือการเปนแฟรนไชสอาหารพื้นเมืองปกษใตที่
สะดวกซื้อ สะดวกทาน และวางจําหนายไดทุกจุดเพราะไมตองใชสถานที่ในการจําหนายที่ใหญโต นอกจากนี้
แมจูยังเปนผูเชี่ยวชาญดานอาหารปกษใตดวย
นอกจากนี้ยังไดวางกลุมเปาหมายของแฟรนไชซีที่บริษัทตองการไววา 1.ตองการเปนคนที่มี
ใจรักในการจะทําธุรกิจจริง โดยบริษัทจะดูความตองการในการทําธุรกิจแมจูของแฟรนไชซีดวย และ 2.ตองมี
ทําเลหรือสถานที่ขายที่ชัดเจน ใหเปนทําเลหรือสถานที่ที่มีกลุมเปาหมาย
2. เนนตลาดตางประเทศมากขึ้น เพราะกลุมลูกคาในปจจุบันเปนลูกคาชาวไทย 50% ซึ่งเปน
ลูกคาประจําและลูกคาทั่วไปบางสวน และอีก 50% เปนลูกคาตางชาติ ในโซนเอเชีย อาทิ จีน มาเลเซีย
สิงคโปร เวียดนาม ฮองกง ไตหวัน ซึ่งจะมีการขยายฐานลูกคาไปยังโซนยุโรป ใหมากขึ้นโดยการไปออกงาน
exhibition ในการจําหนายสินคาเพื่อเขาหาผูบริโภค
3. การพัฒนาบรรจุภัณฑสินคาใหมีความทันสมัยเพิ่มมากขึ้นแตก็สะทอนไวดวยความเปน
ไทย เพื่อตอบสนองกลุมคนทํางาน วัยรุน เด็ก เชนการออกแบบบรรจุภัณฑสําหรับน้ําพริกกุงเสียบใหเปนรูป
- 6 -
 
ใบตองหรือขนมเตาสอ ซึ่งใชชุดยาหยาเปนแบบในการออกแบบบรรจุภัณฑ หรือปรับในดานของภาษาที่ตัว
บรรจุภัณฑของสินคาเพิ่ม เชน ภาษาจีน อังกฤษ เพื่อใหนักทองเที่ยวตางชาติไดรูจักสินคาไดดียิ่งขึ้น
4. การพัฒนาดานบุคลากร เพื่อเปนการรองรับกับลูกคาตางชาติ รานคุณแมจู ไดมีการฝก
ทักษะดานภาษาและการบริการลูกคาใหกับบุคลากรของราน ใหสามารถพูดไดหลากหลายภาษามากขึ้น
5. ขยายโรงงานใหม เพื่อรองรับกําลังการผลิตใหไดมากขึ้น เนื่องจากการเปดตลาด AEC ซึ่ง
รานคุณแมจูคาดการณวาจํานวนลูกคาจะตองมีเพิ่มมากขึ้น
3. ผลจากขอ 2 สงผลกระทบตอกิจการ การตอตาน หรือการแขงขันอยางไร และธุรกิจ หรือ
บริษัทแกไขอยางไร
จากขอ 2 มีการแขงขันกับธุรกิจรานขายของฝาก ที่เหมือนหรือคลายกัน อยางรานพรทิพย
ภูเก็ต ดวยความที่ชื่อเสียงรานพรทิพยก็เปนที่รูจักดี ทั้งคนไทย และนักทองเที่ยวชาวตางชาติ ทั้งนี้ ทางรานแมจู
เองก็ตองมีการปรับเปลี่ยนตามกระแสธุรกิจเชนกัน เพราะการมีคูแขง ทําใหเราอยูกับที่ไมได ตองสรางความ
โดดเดนและความแตกตาง หาเอกลักษณของสินคาของตัวเอง เพื่อเปนจุดดึงดูดขึ้นมา จะเห็นไดวา มีการ
พัฒนา Packaging ของตัวผลิตภัณฑน้ําพริกดวยการหอสินคาดวยกระดาษลายใบตอง เพื่อใหผูบริโภคหรือ
ลูกคาที่มาซื้อไป ไดความรูสึกถึงความเปนธรรมชาติ ความสดใหมของน้ําพริก นอกจากนี้ ในเชิงเปรียบเทียบ
นั้น จะเห็นไดวามีผลกระทบทางดานการบริการของตัวบุคลากรในบริษัท เชน การใหบริการลูกคาของรานแม
จูเอง ก็ตองมีการพัฒนา และจัดใหมีการอบรมพนักงาน เพื่อสรางความสามัคคี สรางความรู ความใสใจตอ
ลูกคา ควรใหบริการลูกคามากกวาที่เคยทํา และสนใจ ดูแลลูกคาอยางใกลชิด เพราะหากเปรียบเทียบกับรานพร
ทิพยนั้น พนักงานจะมีการเทรนดมาอยางดี ใสใจรายละเอียด ดูแลลูกคาอยูเปนระยะ ไมปลอยใหลูกคารอนาน
ในเวลาที่ลูกคาไปจายเงิน
นอกจากนี้ ผลกระทบจากดานการเปดประเทศ เขา AEC ก็มีสวนทําใหทางบริษัทเองตอง
ออกมามีความตื่นตัวใหมากขึ้น ดวยการพัฒนาทางดานภาษาของคนในบริษัททุกฝาย ใหมีความรูหลากหลาย
ภาษา ลงทุนพัฒนาลูกจางและใหความรู แตดวยความที่ทางรานเองจะจางลูกจางที่เปนตางดาวมากกวา เชน
เมียนมาร ลูกจางเหลานี้ สวนมากจะจางเปนรายวัน หรือชั่วคราว ไมไดจางประจํา อาจทําใหสิ้นเปลืองการ
อบรมพนักงานโดยการจางคนมา แตทั้งนี้ เราสามารถใหฝายหัวหนาแตละแผนกเขาอบรม เพื่อนําเอาความรูที่
ไดนั้น มาพัฒนาตอยอดและใหความรูพนักงานตัวเองได โดยที่ไมตองเสียคาใชจาย จางคนอื่นมาอบรมบอยๆ
ขอดอยของระบบรานนี้คือ ระบบครอบครัว คือเปนระบบที่มีแคคนภายในดูแลงานในราน
เทานั้น ไมมีคนนอก อาจจะมีทั้งขอดี และขอเสียในตัว ทั้งเรื่องความไววางใจในระบบการเงิน หากหาคนที่
ไวใจได แตหากมีเรื่องอะไรที่ควรคุยกันตรงๆ แตไมคุย อาจจะทําใหเสียงานได เพราะคิดวา อาจจะมีปญหาผิด
ใจกับคนในเครือญาติกันเอง
- 7 -
 
นอกจากนี้ เปนเรื่องของผลิตภัณฑ ตัว Packaging ที่ควรมีใหหลากหลายมากกวานี้ สราง
เอกลักษณ แรงจูงใจลูกคา และยังคงรสชาติอาหาร ความเปนไทย และความเปนอาหารใตไดอยางเดิม เพราะ
คูแขงของแมจู เปนพรทิพย ยังคงมีความแตกตาง ดานเกรดอยูพอสมควร เพราะพรทิพยเองก็ไดรับรางวัลการ
ออกแบบสินคาที่โดดเดน
4. มีองคความรู หรือทฤษฎี อะไรรองรับ ในการวิเคราะหและการสรุปผลการศึกษา
ทางกลุม เลือกองคความรู OD และ แนวคิดเรื่อง Excellence vs. Best Practices
การพัฒนาองคการ (Organization Development หรือ OD)
ในการบริหารการเปลี่ยนแปลงจะประสบความสําเร็จไดตองรวมถึง การพัฒนาองคการ (OD)
ดวย โดยนิยามการพัฒนาองคการ หมายถึง การทําแผนเพื่อใชดําเนินการเปลี่ยนแปลงองคการใหเกิดความ มี
ประสิทธิผล และใหความสําคัญดานความเปนมนุษยมากยิ่งขึ้น (More effective and more human) จะเห็นวา
กระบวนทัศนของการพัฒนาองคการ (OD paradigm) คือการใหความสําคัญตอ คุณคาของมนุษยและ
ความกาวหนา ขององคการควบคูกันไป เนนความรวมมือและกระบวนการมีสวนรวม ตลอดจนการมีจิต
วิญญาณของการแสวงหา (Spirit of inquiry) กลาวโดยสรุป คานิยมที่ถือเปนสาระสําคัญเชิงปรัชญาของการ
พัฒนาองคการไดแก
ใหการนับถือตอคน (Respect for people) โดยเชื่อวา มนุษยมีความรับผิดชอบมีสติปญญาและ
ตองการให การใสใจและควรไดรับ การปฏิบัติ ดวยความเคารพในศักดิ์ศรีแหงความเปนมนุษย
ไววางใจและชวยเหลือเจือจุน (Trust and support) กลาวคือ องคการที่ถือวามีสุขภาพดีและมี
ประสิทธิผล ตองมีลักษณะของความไววางใจ มีความนาเชื่อถือ มีบรรยากาศที่เปดเผย และใหการเกื้อกูลตอกัน
มีความเสมอภาคดานอํานาจ (Power equalization) ในองคการที่มีประสิทธิผลจะไมเนนการ
ใชอํานาจและการควบคุมตามสายการบังคับบัญชา เปนประเด็นสําคัญ
กลาเผชิญปญหา (Confrontation) โดยไมเลี่ยง ไมประวิงเวลาหรือหนีปญหาที่เกิดขึ้น แตจะ
ใชวิธีเผชิญปญหาอยางเปดเผย
- 8 -
 
การมีสวนรวม (Participation) โดยเฉพาะผูที่ไดรับผลกระทบหรือเกี่ยวของกับการ
เปลี่ยนแปลงจะไดรับโอกาสมีสวนรวมในการตัดสินใจ เพราะการไดมีสวนรวมยิ่งทําใหตองผูกพันตอการนํา
ขอยุติลงสูการปฏิบัติ
เทคนิคที่ใชในการพัฒนาองคการ
เนื่องจากการพัฒนาองคการ เปนแผนรวมที่ใชในการเปลี่ยนแปลงสภาพการทํางานโดยมี
วัตถุประสงคเพื่อพัฒนาบุคลากรแตละคนขององคการ พรอมกับ ปรับปรุงใหการดําเนินงาน ตามภารกิจของ
องคการมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น
ดังนั้นกิจกรรมของ OD ก็คือ แสวงหาทางที่สงเสริมการปฏิบัติงานขององคการ โดยการ
ปรับปรุงคุณภาพของสภาวะแวดลอมในที่ทํางานตลอดจนเจตคติและความเปนอยูที่ดีของพนักงานแผนพัฒนา
องคการจึงประกอบดวยเทคนิคตาง ๆ หลายอยาง (บางครั้งเรียกวา กิจกรรมสอดแทรก หรือ OD interventions)
ซึ่งผูเชี่ยวชาญใชเพื่อปรับปรุงการทํางานขององคการทั้งในระดับบุคคล กลุมบุคคล และองคการโดยรวม ใน
ที่นี้จะเลือกนําเสนอเฉพาะเทคนิคการพัฒนาองคการที่เปนที่นิยมแพรหลาย 6 เทคนิค ไดแก
การสํารวจขอมูลยอนกลับ (survey feedback)
การฝกอบรมเพื่อฝกการรับรู (Sensitivity training)
การสรางทีมงาน (Team building)
โปรแกรมสรางคุณภาพในชีวิตงาน (Quality of work life programs)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค (Management by objectives)
การสรางองคการแหงการเรียนรู
1. เทคนิคการสํารวจขอมูลยอนกลับ (Survey feedback)
เปนวิธีการที่นําไปสูการเปลี่ยนแปลงดวยการรับรูขอมูลรวมกัน โดยมีฐานความเชื่อที่วา การ
เปลี่ยนแปลงใด ๆ จะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อ พนักงานตองรับรูและ เขาใจถึงจุดแข็งและจุดออนในปจจุบันของ
หนวยงานตน ซึ่งเปนหลักการและเหตุผลสําคัญของการใชเทคนิคการสํารวจขอมูลยอนกลับนี้ เทคนิคนี้
ประกอบดวย 3 ขึ้นตอนสําคัญ
- 9 -
 
ขั้นแรก เปนการรวบรวมขอมูลทั้งหลายที่เปนขอวิตกกังวนของพนักงาน เชน บรรยากาศขององคการ
แบบภาวะผูนํา และสภาพความพึงพอใจตองาน เปนตน โดยใชวิธีการสัมภาษณหรือใหตอบแบบสอบถามหรือ
ทั้งสองอยางก็ได ขอมูลที่ไดตองพยายามหลีกเลี่ยงอคติลําเอียงและตองเก็บเปนความลับ ดวยเหตุนี้จึงนิยมใชที่
ปรึกษาภายนอกดําเนินการ
ขั้นที่สอง เปนการเขียนรายงานขอมูลที่ไดรับกลับมาจากพนักงานระหวางการประชุมกลุมยอย เชน
สรุปคะแนนเฉลี่ยดานเจตคติของพนักงานที่วัดได เคาโครงแสดงที่มาของความรูสึกที่พนักงานมีตอองคการ
หรือตอผูนําหรือตองานที่ทําอภิปรายเพื่อหาประเด็นหลัก และการบงชี้ของขอมูล ใหไดวาปญหาคืออะไร
ขั้นสุดทาย เปนการวิเคราะหปญหาในแงที่เกี่ยวกับการสื่อสาร การตัดสินใจและกระบวนการตาง ๆ
ขององคการ เพื่อนํามาจัดทําแผนในแตละเรื่อง การอภิปรายจะไดผลดีถาไดมีการจัดเตรียมเอกสารขอมูลที่
เกี่ยวของเปนอยางดีมีผูนําจัดทําแผนที่มีความสามารถขอดีของเทคนิคการสํารวจขอมูลปอนกลับก็คือ มี
ประสิทธิภาพ รวดเร็ว ไดขอมูลมากตามที่ตองการ ทั้งยังยืดหยุนสอดคลองกับความตองการขององคการตาง ๆ
ซึ่งมีปญหาไมเหมือนกันไดดี แตมีจุดออนที่เกี่ยวกับความแมนยําเที่ยงตรงของเครื่องมือแบบสอบถามที่ใชและ
ตองไดรับความสนับสนุนจริงจังของฝายบริหารจึงจะไดผลดี
2. เทคนิคการฝกอบรมเพื่อฝกการรับรู (Sensitivity Training หรือ T-groups)
โดยใชกลุมเล็กประมาณ 8-15 คน มาเลาประสบการณหรือเรื่องเกี่ยวกับตนใหคนอื่นฟงและรวมแสดง
ความเห็นแงมุมตาง ๆ ของเรื่องนั้น เพื่อใหผูนั้นมองเห็นไดทะลุปรุโปรงจนสามารถเขาใจตนเอง เทคนิคนี้มี
หลักการและเหตุผลที่อยูเบื้องหลังก็คือ ปกติคนเราจะไมยอมเปดเผยความจริง เกี่ยวกับตัวเองและมีความ
ซื่อตรงตอคนอื่นอยางสมบูรณ ดังนั้น เทคนิค T-group นี้จึงมีเงื่อนไขกติกาของกลุมที่ทุกคนตองพูดจาสื่อสาร
ตอกันอยางเปดเผย และซื่อตรงตอกัน โดยไมมีความกดดันจากภายนอก ดังนั้นกิจกรรมนี้จึงมักจัดนอกสถานที่
ซึ่งไกลจากที่ทํางานไดหลายวัน โดยมีผูเชี่ยวชาญ ทําหนาที่อํานวยความสะดวก ประจํากลุมคอยใหคําแนะนํา
และรักษาบรรยากาศที่ดีของกลุมอยูตลอดเวลา ภายหลังจากกลุมมีความไววางใจตอกัน และชวยแลกเปลี่ยน
ความเห็นตอปญหาซึ่งกันและกันทีละคน ก็จะทําใหเจาของปญหามองเห็นและเขาใจตนเองดียิ่งขึ้น โดยทํา
หมุนเวียนจนครบทุกคน สมาชิกนอกจากเขาใจตนเองแลวยังเขาใจถึงความรูสึกของสมาชิกคนอื่นและเกิด
สัมพันธภาพที่ดีตอกัน
อยางไรก็ตาม การวัดความสําเร็จของเทคนิค T-group ที่นํามาใชเปนกิจกรรมพัฒนาองคการนั้น
มองเห็นไดยาก แมจะเกิดผลดีระหวางทํากิจกรรมกลุม ดังกลาว แตยังไมอาจสรุปไดวา สามารถถายโอนมาสู
- 10 -
 
บรรยากาศการทํางานจริงขององคการไดมากนอยเพียงไร ดังนั้น เทคนิค T-group มักใชรวมกับ เทคนิคอื่น ๆ
ในการพัฒนาองคการ
3. เทคนิคการสรางทีมงาน (Team Building Technique)
เทคนิคการสรางทีมงาน ประยุกตวิธีการและหลักการเหตุผลมาจากเทคนิค T-group ดังกลาวมาแลว
โดยใหสมาชิกของกลุมทํางานวิเคราะหวา ตนทํางานรวมกันอยางไร และใหเสนอแผนการปรับปรุงใหดีขึ้น
กวาเดิม ใหความสําคัญตอความพยายามของกลุมที่จะชวย ใหการปฏิบัติการกิจขององคการเกิดประสิทธิผล
โดยเชื่อวาถาปรับปรุงการทํางานของกลุมใหมีประสิทธิผลแลวยอมสงผลใหองคการมีประสิทธิผลไปดวย
เพราะกลุมเปนหนวยที่สําคัญขององคการ ดังนั้นในการพัฒนาองคการจึงตองเนนการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นที่
กลุมแทนที่จะเปนรายบุคคลการสรางทีมงานเริ่มเกิดขึ้นเมื่อสมาชิกของกลุมยอมรับวา พวกตนมีปญหาและ
พยายามรวบรวมขอมูลเพื่อใหเขาใจถึงปญหานั้น ปญหาดังกลาวอาจไดมาจากการทํากิจกรรม T-groups หรือ
จากเทคนิคอื่นเชน การสํารวจเจตคติหรือจากยอดตัวเลขผลผลิต เปนตน จากนั้นก็นําขอมูลที่ไดมาทําการ
แลกเปลี่ยนกันในชวงของการตรวจวินิจฉัย (Diagnostic session) เพื่อใหไดขอยุติรวมกันวา กลุมของตนมีจุด
แข็ง (Strength) และจุดออน (Weakness) อะไรบาง เมื่อทราบแลวจึงระบุประเด็นที่ตองปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
พรอมทั้งกําหนดแผนดําเนินการเปลี่ยนแปลงหรือทําแผนปฏิบัติ (Action plan) ตามไปดวย จากนั้นจึงลงมือ
ปฏิบัติจริงตามแผน ตามดวยการประเมินความกาวหนาและหาวาปญหาดังกลาวไดรับการแกไขหมดหรือไม
ถาปญหาไดรับการแกไขสมบูรณการประชุมของทีมงานก็จบลง แตถาปญหายังคงเหลืออยูก็จะตองเริ่มตน
กระบวนการใหม
4. เทคนิคการจัดโปรแกรมคุณภาพในชีวิตงาน (Quality of work life หรือ QWL)
เนื่องจากคนเราเมื่อตองทํางานที่ซ้ําซากจําเจจะเกิดความรูสึกเบื่อหนายขึ้น ดวยเหตุนี้องคการสวน
ใหญในปจจุบัน จะใหความสําคัญตอการจัดสภาพแวดลอม ที่มีคุณภาพอยางเปนระบบอยูตลอดเวลา โดย
มุงหวังใหสามารถตอบสนองความตองการของบุคคลใหไดทํางานอยางที่ตนคิดอยากจะทํา (Self- fulfilling)
ดวยเหตุนี้นักพัฒนาองคการจึงพยายามสรางเงื่อนไขแวดลอมของการทํางาน ใหสงเสริมแรงจูงใจ มีความพึง
พอใจ และสรางความผูกพันใหแกพนักงาน เพราะองคประกอบเหลานี้ชวยใหระดับผลงานขององคการสูงขึ้น
ความพยายามโดยรวมในการปรับปรุงสภาพแวดลอมของการทํางานใน แนวทางดังกลาวนี้ เรียกวา “การจัด
โปรแกรมคุณภาพในชีวิตงาน” หรือเรียกยอวา QWL ซึ่งเชื่อวาโปรแกรม QWL เปนแนวทางที่เพิ่มผลผลิตของ
องคการใหสูงขึ้น ถาใหพนักงานไดเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจที่จะสงผลกระทบตอการทํางานของตน
โปรแกรม QWL จึงปฏิบัติตอพนักงานทุกระดับดวยแนวคิด ความเปนประชาธิปไตย และกระตุนการมีสวน
รวมในการตัดสินใจ แนวคิดของโปรแกรม QWL จึงใหความสําคัญของ “ความเปนมนุษยในสถานที่ทํางาน”
(Humanizing the workplace) การใชเทคนิค QWL ในการปรับปรุงคุณภาพในชีวิต ประกอบดวยหลายวิธี
ตัวอยางเชน
- 11 -
 
4.1 ใชกิจกรรมปรับโครงสรางใหมของงาน (Work restructuring) ซึ่งเปนกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงวิธีทํางานใหมใหมีความนาสนใจแกพนักงาน โดยสามารถทําไดหลายอยาง เชน ใชเทคนิคการ
จัดรูปแบบคุณสมบัติของงาน (Job characteristic model) (รายละเอียดของเทคนิคเหลานี้อานไดจากบทที่ 4
เรื่องการจูงใจในองคการ)
4.2 ใชกิจกรรมวงจรคุณภาพ (Quality circles หรือเรียกยอวา QC) เปนกิจกรรมที่แบงสมาชิก
ออกเปนกลุม ๆ ละประมาณ 10 คน เปนสมาชิกที่มาจากความสมัครใจและมีการประชุมพบปะกันอยูเสมอ
(อาทิตยละครั้งโดยประมาณ) เพื่อระบุถึงปญหาและแนวทางในการแกปญหาที่เกี่ยวกับ คุณภาพของงานและ
เงื่อนไขตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการทํางานของพวกตน ในองคการหนึ่งอาจมีทีมงาน QC หลายทีม โดยแตละทีมจะ
รับผิดชอบ ดูแลงานเฉพาะดาน ที่ตนสนใจและมีความถนัด เพื่อใหทีมงานเกิดผลดี สมาชิกของทีมควรผานการ
ฝกอบรมวิธีการแกปญหา (Problem solving) มากอน อยางไรก็ดีมีผลงานวิจัยระบุวา แมกิจกรรม QCs จะมี
ผลดีตอการปรับปรุงคุณภาพในชีวิตในชวงระยะเวลาสั้น (ราวไมเกิน 18 เดือน) แตพบวามีประสิทธิผลนอยลง
ถาจะใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในระยะยาว (Griffin,1988 อางใน Greenberg,1997:567)
กลาวโดยสรุป เทคนิคการจัดโปรแกรมคุณภาพในชีวิตงาน หรือ QWL มีประโยชนอยางนอย
3ประการไดแก
(1) เพิ่มความพึงพอใจในงาน เกิดความผูกพันตอองคการและลดการลาออกนอยลง
(2) เพิ่มผลผลิตหรือผลงาน ใหสูงขึ้น (Increased productivity)
(3) เพิ่มความมีประสิทธิผลขององคการ (เชน ผลกําไรมากขึ้น การไดบรรลุเปาหมาย)
5. เทคนิคการบริหารโดยยึดวัตถุประสงค (Management by objectives หรือเรียก MBO)
เปนเทคนิคที่ทั้งผูบริหารและพนักงานรวมกันกําหนดเปาหมายขององคการแลวพยายามดําเนินการให
บรรลุตามเปาหมายนั้น โดยกระบวนการของการบริหาร โดยยึดวัตถุประสงค หรือ MBO แบงออกเปน 3
ขั้นตอน
ในขั้นแรก ทําการเลือกเปาหมายที่ตองการใหพนักงานดําเนินการไดดีที่สุดตามความตองการ
ขององคการ การเลือกเปาหมายควรทํารวมกันทั้งผูบริหารและพนักงานแทนที่จะเปนการสั่งมาจาก ผูบริหาร
โดยเปาหมายที่กําหนดจะตองสามารถวัดไดและมีเงื่อนไขกํากับดวย ตัวอยางเชน “จะเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น
กวาเดิม 15 เปอรเซ็นตภายในไตรมาสแรกของป” หรือ “จะลดอัตราการชํารุดของผลิตภัณฑลงจากเดิม 25
เปอรเซ็นตภายในปนี้” เปนตน ในขั้นตอนนี้ทั้งผูบริหารและพนักงานจะ รวมกันจัดทําแผนปฏิบัติการ (Action
plan) เพื่อใหสามารถบรรลุเปาหมายตามที่กําหนด
ขั้นที่สอง เมื่อไดกําหนดเปาหมายและจัดทําแผนปฏิบัติแลวก็ถึงขั้นการนําแผนลงสูการ
ปฏิบัติ (Implementation) ในการปฏิบัติตามแผนจําเปนตองมีการตรวจสอบความกาวหนาของการดําเนินงาน
อยางสม่ําเสมอทุกระยะวาเปนไปตามที่ประมาณการตามเปาหมายหรือไม ถาเกิดปญหาขึ้นระหวางดําเนินการ
- 12 -
 
ปญหาดังกลาวไดรับการแกไขหรือไม และถามีการผิดพลาดไปจากแผนไดรับการแกไขแลวหรือยัง จําเปนตอง
ปรับแผนปรับวิธีดําเนินการหรือแมแตปรับเปาหมายหรือไม
ขั้นสุดทาย หลังจากไดกํากับดูแลใหมีความกาวหนาไปสูเปาหมายแลว ในขั้นตอไปที่ตองทํา
ก็คือ การประเมินผลวาเปนไปตามเปาหมายหรือไม และบรรลุตามเปาหมายขององคการเพียงไร โดยถาพบวา
ไดบรรลุตามเปาหมาย ก็สามารถริเริ่มกําหนดเปาหมายใหมที่สูงกวาเดิมขึ้นอีก แตในทางกลับกัน ถาประเมิน
แลวพบวา ไมสามารถบรรลุตามเปาหมายที่กําหนดได ก็กลับไปเริ่มจัดทําแผนปฏิบัติการขึ้นใหมที่สามารถ จะ
ดําเนินการ ใหบรรลุเปาหมายได ดวยเหตุที่เมื่อบรรลุเปาหมายไดแลว ระบุใหเริ่มเลือกกําหนดเปาหมายขึ้น
ใหมดังกลาว จึงทําให MBO เปนกระบวนการที่มีความตอเนื่อง ตลอดเวลา MBO จึงถือเปนเครื่องมือที่มี
ประสิทธิผลสูงที่ใชในการวางแผนและการวางกลยุทธการ เปลี่ยนแปลงขององคการ เปนวิธีการที่ทั้งพนักงาน
และองคการ รวมทํางานเพื่อบรรลุเปาหมายเดียวกัน พนักงานโดยเฉพาะระดับลางไดมีสวนรวมมากขึ้น โดย
ผูบริหารระดับสูงตองแสดงความเต็มใจ ใหการยอมรับใหการสนับสนุนและเขามารวมทุกขั้นตอนใหมากที่สุด
อยางไรก็ตามกิจกรรม MBO จะมองเห็นผลไดชัดเจนตองใชระยะเวลายาวนานพอควร โดยเฉลี่ยประมาณ 3-5
ป ดังนั้น MBO อาจไมเหมาะกับองคการประเภทที่ตองการเห็นผลรวดเร็ว
6. เทคนิคการสรางองคการแหงการเรียนรู (Creating a learning organization)
ในแตละทศวรรษที่ผานมามักมีการนําแนวคิดใหมมาใชพัฒนาองคการ กลาวคือ เทคนิคการบริหาร
คุณภาพโดยรวมหรือ TQM ในทศวรรษ 1980 ตอมาในทศวรรษ 1990 หันมาเนนเทคนิคการปฏิรูปยกรื้อระบบ
(Reengineering)และในปจจุบันกลาวถึงเรื่ององคการแหงการเรียนรู (Learning organization) โดยนักวิชาการ
และผูบริหารองคการตางพยายามเสนอหนทางใหมที่เหมาะสมกับโลกปจจุบันที่มีลักษณะเปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลาและตองมีการพึ่งพาระหวางกัน (Interdependence and change) ตอไปนี้จะกลาวถึงลักษณะของ
องคการแหงการเรียนรูและวิธีบริหารการเรียนรู
6.1 ลักษณะขององคการแหงการเรียนรู หมายถึง องคการที่มีศักยภาพที่สามารถยืดหยุนใน
การปรับตัวและเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา องคการก็เหมือนกับบุคคลที่ตองเรียนรูอยูเสมอไมวาจะโดยตั้งใจ
หรือไมก็ตาม ทั้งนี้ก็เพื่อใหองคการสามารถดํารงอยูดวยดีอยางถาวร เมื่อเกิดปญหาขึ้น องคการจะมีแนวทาง
ดําเนินการอยางใดอยางหนึ่งใน2วิธีตอไปนี้ วิธีแรก เปนการแกปญหาโดยใชประสบการณเกา (Single – loop
learning) เปนการเรียนรูการแกปญหาที่เกิดขึ้นโดยอาศัยวิธีการเดิมที่เคยใชไดผลในอดีต ผนวกเขากับนโยบาย
ที่มีในปจจุบัน ซึ่งเปนวิธีที่ตรงกันขาม กับที่ใชในองคการแหงการเรียนรู ซึ่งเปนวิธีที่สองที่เรียกวา เปนการ
แกปญหาแบบองครวม (Double – loop learning) กลาวคือ เมื่อพบวามีปญหา จะใชวิธีการที่มีการหลอมรวม
วัตถุประสงคขององคการ นโยบายและแนวปฏิบัติประจํา ที่มีมาตรฐานเขาดวยกัน ในการพิจารณาหาขอยุติ
ของปญหา วิธีแกปญหาแบบหลังจะมีลักษณะทาทายตอความเชื่อและปทัสถานที่มีในองคการ ในแงที่เชื่อวา
- 13 -
 
สามารถแกปญหาไดอยางชนิดถอนรากถอนโคน และทําใหเกิดเปลี่ยนแปลงใหญขึ้นตอองคการเซนจ (P.M.
Senge) แหงสถาบัน MIT ของสหรัฐ ไดสรุปคุณลักษณะสําคัญ 5 ประการของ องคการแหงการเรียนรูไว ดังนี้
ทุกคนเห็นดวยและยึดมั่นตอวิสัยทัศนรวมกัน แตละคนจะละทิ้งวิธีการคิดแบบเกาตลอดจนมาตรฐานตาง ๆ ที่
เคยใชในการแกปญหาอยูประจํา
สมาชิกทุกคนตองคิดถึงกระบวนการขององคการในเชิงภาพรวม โดยที่กิจกรรมภารกิจ
หนาที่ตลอดดําเนินงานทั้งหลายจะเกี่ยวของ และเปนสิ่งแวดลอมซึ่งเปนสวนหนึ่งของระบบความสัมพันธ
ระหวางกันและกัน
สมาชิกใชวิธีสื่อสารตอกันอยางเปดเผย ทุกทิศทางทั้งในแนวตั้งและแนวนอน โดยปราศจากความรูสึก
หวาดกลัวตอคําวิจารณหรือ การลงโทษแตอยางใด
สมาชิกจะลดละตอสิ่งที่เปนผลประโยชนสวนตนของแผนกหรือของกลุมตนใหนอยลงแตจะ
หันมาทํางาน รวมกันเพื่อใหสามารถบรรลุวิสัยทัศนรวมกับองคการ
6.2 การบริหารจัดการการเรียนรู (Managing learning) เพื่อใหไดคําตอบวาจะตอง
เปลี่ยนแปลงองคการอยางไรจึงจะทําใหเกิดการเรียนรูอยางตอเนื่อง ผูบริหารจะตองมีบทบาทอะไรบางถาจะ
ทําใหบริษัทของตนกลายเปนองคการแหงการเรียนรู ซึ่งมีแนวดําเนินการดังนี้
กําหนดยุทธศาสตร (Establish a strategy) ฝายบริหารจําเปนตองแสดงจุดยืนของตนอยาง
ชัดเจนกวา ตนมุงมั่นผูกพันตอการเปลี่ยนแปลง อยางจริงจังและดําเนินการปรับปรุงอยางตอเนื่อง
ออกแบบโครงสรางใหมขององคการ (Redesign the organization’s structure) เนื่องจาก
โครงสรางอยาง ทางการแบบเกาเปนอุปสรรคขัดขวาง ตอการเรียนรูอยางยิ่ง จึงควรแกไขใหโครงสรางเปน
แบบแนวราบ (Flat organization) ซึ่งลดระดับสายการบังคับบัญชาใหเหลือนอยลง พยายามหลอมรวมแผนก
ตาง ๆ ที่มีภารกิจใกลเคียงเขาดวยกัน เพิ่มการใชทีมงานแบบไขวหนาที่ (Cross-functional teams) มากขึ้น
สงเสริมการทํางานที่ตองพึ่งพาระหวางกันมากขึ้น และขจัดพรมแดนระหวางบุคคลใหนอยลง
ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมใหมขององคการ (Reshape the organization’s culture) ดังกลาวแลววา
คุณลักษณะที่สําคัญขององคการแหงการเรียนรู ก็คือ มีความกลาเสี่ยง (Risk taking) ความเปดเผย (Openness)
และ ความกาวหนา (Growth)
ดังนั้นฝายบริหารจึงตองกําหนดทาทีทั้งทางคําพูดและการกระทําไปในลักษณะดังกลาวจนฝง
รากลึกกลายเปนวัฒนธรรมขององคการ ผูบริหารเองตอง แสดงออกใหเห็นถึงความเปนคนกลาเสี่ยงและ
ยอมรับวาการผิดพลาดเปนเรื่องธรรมดา ยอมใหผลตอบแทนแกคนที่กลาฉกฉวยโอกาสที่จะเปน ประโยชนแก
งานสวนรวม แมจะตองพบความผิดพลาดบางก็ตาม ฝายบริหารจําเปนตองกระตุนใหเกิดความขัดแยงที่
เกี่ยวกับงาน เพื่อใหทุกฝายไดเรียนรูรวมกันในการหาคําตอบที่ดีที่สุดแกองคการ
อยางไรก็ดี แนวคิดในการสรางองคการแหงการเรียนรูซึ่งมีคุณลักษณะทั้ง 5 ประการ ดังที่ได
กลาวมาแลวยังเปนรูปแบบเชิงอุดมคติ เนื่องจากยังไมพบ องคการใด ที่มีคุณลักษณะที่ครบถวน แตองคการ
- 14 -
 
แหงการเรียนรูก็ไดบรรจุแนวคิดตาง ๆ ดานพฤติกรรมองคการ อาทิเชน TQM วัฒนธรรมองคการ องคการที่ไร
พรมแดน ความขัดแยงเกี่ยวกับงาน และภาวะผูนําแบบเปลี่ยนสภาพ เปนตน กลาวคือองคการแหงการเรียนรู
รับแนวคิดของ TQM ในประเด็นที่เนนการยึดมั่นตอการปรับปรุงอยางตอเนื่อง องคการแหงการเรียนรูมี
วัฒนธรรมองคการที่เนนเรื่อง ความกลาเสี่ยง ความเปดเผยโปรงใส และความเจริญงอกงาม เปนตน องคการ
แหงการเรียนรูยังเนน หลักการไรพรมแดนดวยการปรับลดระดับของสายการบังคับบัญชาใหนอยลง พรอมทั้ง
หลอมรวมแผนกตาง ๆ ที่เคยแยกยอยซ้ําซอนเขาดวยกัน นอกจากนี้องคการแหงการเรียนรูยังสนับสนุนและให
ความสําคัญตอความคิดเห็นที่ตางกัน การวิจารณเชิงสรางสรรคและ ความขัดแยงที่เกี่ยวกับงาน ในรูปแบบตาง
ๆ และที่แนนอน
สรุปจากสาระสําคัญ ที่เราเลือก หลักของ OD นั้น เมื่อเราทํา OD แลว จะเกิดการพัฒนา ทางรานเองก็
จะไดมีการวางแผน แกไขปญหาใหไปในทิศทางที่ดีขึ้น แยกแยะปญหาตางๆและแกอยางเปนระบบ มีการเสริม
แรงกลยุทธ มีการตรวจสอบเพื่อนําไปสูการพัฒนาศักยภาพ เพื่อใหรานหรือบริษัทเกิดการตื่นตัวกับการ
ปรับเปลี่ยน เพื่ออนาคตที่ดีขึ้นตามลําดับทั้งหมดในภาพรวม ซึ่งเมื่อเราพัฒนามีการอบรมพนักงาน พัฒนาการ
บริการใหดีขึ้นแลวนั้น ก็จะสําเร็จไดไปอีกขั้นและเมื่อปรับเปลี่ยนและปรับปรุงไปเรื่อยๆ มั่นใจวาจะเกิดการ
พัฒนาที่ทําใหรานมีชื่อเสียงมากขึ้น
แนวคิดเรื่อง Excellence vs. Best Practices
ใชหลักแนวคิดนี้มาพัฒนาเปนขั้นตอน เพื่อนําไปสูความเปนเลิศของธุรกิจในเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติ
- 15 -
 
Best Practices
Solution 
Skill 
Strategy
Quality 
Develop 
Success
Vision 
16
 
17
 
บรรณานุกรม
http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9480000107071
http://khunmaejuphuket.com/
https://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/organization-development.htm
http://www.hyperiongp.com/portfolio-view/hgp-center-of-excellence/

More Related Content

Similar to ราบงานกลุ่ม วิชาการพัฒนาองค์การ MBA มรภ.ภูเก็ต

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Bai'mon Chankaew
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
NSTDA THAILAND
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
benty2443
 

Similar to ราบงานกลุ่ม วิชาการพัฒนาองค์การ MBA มรภ.ภูเก็ต (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Focus 5-55
Focus 5-55Focus 5-55
Focus 5-55
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
EAD 7205 Strategic leadership for Change Management in Education 2/ 53
EAD 7205 Strategic leadership for Change Management in Education  2/ 53EAD 7205 Strategic leadership for Change Management in Education  2/ 53
EAD 7205 Strategic leadership for Change Management in Education 2/ 53
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
 
แนวทางปฏิรูปด้านการศึกษาของไทย
แนวทางปฏิรูปด้านการศึกษาของไทยแนวทางปฏิรูปด้านการศึกษาของไทย
แนวทางปฏิรูปด้านการศึกษาของไทย
 

More from DrDanai Thienphut

บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
DrDanai Thienphut
 

More from DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

ราบงานกลุ่ม วิชาการพัฒนาองค์การ MBA มรภ.ภูเก็ต

  • 1.     รายงานวิชา การพัฒนาองคการ Organization Development (ศึกษาเรื่อง บริษัท คุณแมจู จํากัด) จัดทําโดย นางสาวฉวีวรรณ เกิดควน รหัส 5780141107 นางสาวนันทนภัส ณ นคร 5780141113 นางสาวอรอนงค จิตจํา 5780141126 นําเสนอ ดร.ดนัย เทียนพุฒ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของ รหัสวิชา 4472142 การพัฒนาองคการ ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2558
  • 2.     คํานํา รายงานฉบับนี้จัดทําขึ้นเพื่อเปนสวนหนึ่งของวิชาการพัฒนาองคการ เพื่อใหไดศึกษาหา ขอมูลและวิเคราะหแนวทางพัฒนาองคการของบริษัทคุณแมจู จํากัด และไดศึกษาอยางเขาใจเพื่อเปน ประโยชนกับการเรียน ผูจัดทําหวังวา รายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนกับผูที่เกี่ยวของ หากมีขอแนะนําหรือ ขอผิดพลาดประการใด ผูจัดทําขอนอมรับไวและขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย คณะผูจัดทํา วันที่ 20 กันยายน 2558
  • 3. บริษัท คุณแมจู จํากัด Khunmaeju Co., Ltd. ********************* 1. ประวัติความเปนมาของบริษัท บริษัท คุณแมจู จํากัด Khunmaeju Co., Ltd. เลขทะเบียนนิติบุคคล : 0835542002466 วันจดทะเบียน : 14 กรกฎาคม 2542 ทุนจดทะเบียน : 5,000,000 ที่ตั้ง : 159/21 หมูที่ 5 ตําบล. เทพกระษัตรี อําเภอ ถลาง จังหวัด ภูเก็ต 83110 ประเภทธุรกิจ : การขายสงสินคาวัฒนธรรมและนันทนาการอื่นๆซึ่งมิไดจัดประเภทไวในที่อื่น โทรศัพท : 0-7624-4856 khunmaeju@khunmaejuphuket.com บริษัทคุณแมจู มีตํานานยาวนานมากกวา 70 ป คุณแมจู มีชื่อจริงวา คุณแมหงวดจู สันติกุล เปน ชาวบาน สะปา คุณแมจูไดผลิตอาหารทะเลตากแหงสําเร็จรูปที่หมูบานสะปา ดวยความที่ทานเปนคนชอบ ทําอาหารจึงไดลองแปรรูปอาหารทะเลที่มีอยูมากในสมัยมาเปนอาหารพื้นเมือง เชน แกงไตปลา เพื่อให
  • 4. - 2 -   ชาวบานในหมูบานไดลิ้มลองรสชาติจนติดอกติดใจ ตอมาเมื่อการทองเที่ยวในจังหวัดภูเก็ตเริ่มเจริญเติบโต มี นักทองเที่ยวเขามาทองเที่ยวเพิ่มมากขึ้นและไดซื้อผลิตภัณฑแกงไตปลาไปรับประทานก็ชื่นชอบในรสชาติ และไดมีการบอกกันปากตอปาก ทําใหสินคาเริ่มขายดีมากขึ้น จึงไดเปลี่ยนบรรจุภัณฑที่บรรจุแกงไตปลาจาก ถุงเปนกระปุกพลาสติก ในป พ.ศ. 2542 นักทองเที่ยวเริ่มเขามาทองเที่ยวในภูเก็ตมากขึ้น ทายาทของคุณแมจูอยากจะ สืบทอดเจตนารมณของคุณแม ในเรื่องอาหารพื้นเมืองของปกษใตใหเปนที่รูจักของนักทองเที่ยวเพิ่มมากขึ้น จึงรวมกันลงทุนกอตั้งบริษัทขึ้น ณ ที่ตั้งปจจุบันคือ ต. เมืองใหม อ.ถลาง จ.ภูเก็ต และไดมีการขายสินคาเพิ่ม มากขึ้น เชน น้ําพริกกุงเสียบและสินคาพื้นเมืองตาง ๆ อีกมากมาย ซึ่งรานคุณแมจู ถือเปนรานขายของฝากแหง แรกของ จังหวัดภูเก็ต 1.2 ปรัชญา วิสัยทัศน ของบริษัท ปรัชญา “ใหซื่อสัตยตอลูกคา” โดยคุณแมจูไดกลาวไววา “การทําอาหารอยาไปทําตามเขา ทําตามสูตรของเรา อาหารที่อรอยตองมาจากจิตวิญญาณ ความตั้งใจ และเลือกใชสิ่งที่ดีที่สุดใหเหมือนเราทํา กินกันเอง ดังนั้นอาหารทุกอยางในรานของเราจึงเปนอาหารรสนิยมที่แมเคยทําใหลูกกินทั้งนั้น” วิสัยทัศน “ เปนผูนําในดานการผลิตและจําหนายอาหารพื้นเมืองของปกษใตในประเทศ” โดยเนนการผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีดานอาหารและบุคลากรเพื่อที่จะตอบรับกับความตองการของผูบริโภค ใหมากที่สุด
  • 5. - 3 -   1.3 ดานผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑของบริษัท มีหลายประเภท เชน น้ําพริกกุงเสียบ น้ําพริกกุงเสียบตําสด แกงไตปลา ขนมเตาสอ กลวยกวน เม็ดมะมวงหิมพานต ขนมงาพอง ขนมบี้ผาง ขนมพริก ปลาฉิ้งฉางกรอบ กุงเสียบแปรรูป ปลาขาวสาร และของที่ระลึกตางๆ เปนตน     มาตรฐานการรับรองผลิตภัณฑ 1. 4 ชองทางการจัดจําหนาย บริษัทคุณแมจู ไดมีตัวแทนจําหนายสินคาอยูทั่วประเทศ และชองทางการจัดจําหนายอีกหนึ่งชองทาง คือการจําหนายผาน Modern Trade อาทิเชน Lotus, Big C , Top, Siam Paragon, Central World เปนตน
  • 6. - 4 -   1.5 การบริหารงาน 1). ดานผูบริหาร การบริหารงานของบริษัท คุณแมจู จํากัด เปนการบริหารงานแบบครอบครัวในเครือญาติซึ่งไดสืบ ทอดกิจการกันมารุนตอรุน 2). ดานแรงงาน แรงงานมีไมเพียงพอ แรงงานหายาก ซึ่งแรงงานสวนใหญเปนแรงงานตางดาวและแรงงานตางถิ่น จํานวนมากซึ่งไมใชคนในพื้นที่ จึงมีการสลับหมุนเวียนกันบอยสงผลตอตนทุนในสวนนี้ 2. ความโดดเดนในการพัฒนาองคกรของบริษัทคุณแมจู จํากัด 1. การปรับกลยุทธขยายการลงทุนแฟรนไชสคีออส หวังเปนชองทางกระจายสินคาและสราง แบรนด ซึ่งจากที่ผานมาสินคากวา 50% อิงตลาดทองเที่ยว โดยเนนโชวจุดเดนอาหารใตที่ภาคอื่นไมมี ลงทุน นอย 70,000 บาทเปนเจาของกิจการได ปจจัยที่ทําใหแมจูขยายธุรกิจในรูปแบบแฟรนไชส เพราะเปนกลยุทธ การตลาดอยางหนึ่งที่จะสามารถสรางแบรนดไดและยังเปนการกระจายสินคาอีกทางหนึ่งดวย เพราะสินคาของ
  • 7. - 5 -   รานคุณแมจูมากกวา 50% ขึ้นอยูกับการทองเที่ยว แตดวยภาวะการทองเที่ยวที่ซบเซามาจึงทําใหบริษัท ตองหา ชองทางกระจายสินคาออกไปในทิศทางอื่น และการขยายธุรกิจแฟรนไชส โดยรูปแบบแฟรนไชสแมจูนี้จะ เปดเปนลักษณะของคีออส เพราะใชเงินลงทุนไมมาก และทําเลไมจําเปนตองเปนสถานที่ทองเที่ยว ซึ่งจะทําให ขยายสาขาไดมากกวา โดยรูปแบบของรานคีออสนี้จะมีทั้งที่รับสินคาจากบริษัทแมไปจําหนาย และตองทําขายเองหนารานซึ่ง แฟรน ไชซีจะตองมาเรียนรูวิธีการทําจากแฟรนไชซอรดวย เชน การทําน้ําพริกกุงเสียบเนื่องจากสินคานี้เปนสินคา ขายของแมจู เพราะหากเปนแคการรับสินคาไปขายอยางเดียวก็จะไปทับไลนกับการขายสงที่บริษัทมีการทํามา นานแลว สําหรับจุดเดนของแฟรนไชสคีออสแมจูคือการเปนแฟรนไชสอาหารพื้นเมืองปกษใตที่ สะดวกซื้อ สะดวกทาน และวางจําหนายไดทุกจุดเพราะไมตองใชสถานที่ในการจําหนายที่ใหญโต นอกจากนี้ แมจูยังเปนผูเชี่ยวชาญดานอาหารปกษใตดวย นอกจากนี้ยังไดวางกลุมเปาหมายของแฟรนไชซีที่บริษัทตองการไววา 1.ตองการเปนคนที่มี ใจรักในการจะทําธุรกิจจริง โดยบริษัทจะดูความตองการในการทําธุรกิจแมจูของแฟรนไชซีดวย และ 2.ตองมี ทําเลหรือสถานที่ขายที่ชัดเจน ใหเปนทําเลหรือสถานที่ที่มีกลุมเปาหมาย 2. เนนตลาดตางประเทศมากขึ้น เพราะกลุมลูกคาในปจจุบันเปนลูกคาชาวไทย 50% ซึ่งเปน ลูกคาประจําและลูกคาทั่วไปบางสวน และอีก 50% เปนลูกคาตางชาติ ในโซนเอเชีย อาทิ จีน มาเลเซีย สิงคโปร เวียดนาม ฮองกง ไตหวัน ซึ่งจะมีการขยายฐานลูกคาไปยังโซนยุโรป ใหมากขึ้นโดยการไปออกงาน exhibition ในการจําหนายสินคาเพื่อเขาหาผูบริโภค 3. การพัฒนาบรรจุภัณฑสินคาใหมีความทันสมัยเพิ่มมากขึ้นแตก็สะทอนไวดวยความเปน ไทย เพื่อตอบสนองกลุมคนทํางาน วัยรุน เด็ก เชนการออกแบบบรรจุภัณฑสําหรับน้ําพริกกุงเสียบใหเปนรูป
  • 8. - 6 -   ใบตองหรือขนมเตาสอ ซึ่งใชชุดยาหยาเปนแบบในการออกแบบบรรจุภัณฑ หรือปรับในดานของภาษาที่ตัว บรรจุภัณฑของสินคาเพิ่ม เชน ภาษาจีน อังกฤษ เพื่อใหนักทองเที่ยวตางชาติไดรูจักสินคาไดดียิ่งขึ้น 4. การพัฒนาดานบุคลากร เพื่อเปนการรองรับกับลูกคาตางชาติ รานคุณแมจู ไดมีการฝก ทักษะดานภาษาและการบริการลูกคาใหกับบุคลากรของราน ใหสามารถพูดไดหลากหลายภาษามากขึ้น 5. ขยายโรงงานใหม เพื่อรองรับกําลังการผลิตใหไดมากขึ้น เนื่องจากการเปดตลาด AEC ซึ่ง รานคุณแมจูคาดการณวาจํานวนลูกคาจะตองมีเพิ่มมากขึ้น 3. ผลจากขอ 2 สงผลกระทบตอกิจการ การตอตาน หรือการแขงขันอยางไร และธุรกิจ หรือ บริษัทแกไขอยางไร จากขอ 2 มีการแขงขันกับธุรกิจรานขายของฝาก ที่เหมือนหรือคลายกัน อยางรานพรทิพย ภูเก็ต ดวยความที่ชื่อเสียงรานพรทิพยก็เปนที่รูจักดี ทั้งคนไทย และนักทองเที่ยวชาวตางชาติ ทั้งนี้ ทางรานแมจู เองก็ตองมีการปรับเปลี่ยนตามกระแสธุรกิจเชนกัน เพราะการมีคูแขง ทําใหเราอยูกับที่ไมได ตองสรางความ โดดเดนและความแตกตาง หาเอกลักษณของสินคาของตัวเอง เพื่อเปนจุดดึงดูดขึ้นมา จะเห็นไดวา มีการ พัฒนา Packaging ของตัวผลิตภัณฑน้ําพริกดวยการหอสินคาดวยกระดาษลายใบตอง เพื่อใหผูบริโภคหรือ ลูกคาที่มาซื้อไป ไดความรูสึกถึงความเปนธรรมชาติ ความสดใหมของน้ําพริก นอกจากนี้ ในเชิงเปรียบเทียบ นั้น จะเห็นไดวามีผลกระทบทางดานการบริการของตัวบุคลากรในบริษัท เชน การใหบริการลูกคาของรานแม จูเอง ก็ตองมีการพัฒนา และจัดใหมีการอบรมพนักงาน เพื่อสรางความสามัคคี สรางความรู ความใสใจตอ ลูกคา ควรใหบริการลูกคามากกวาที่เคยทํา และสนใจ ดูแลลูกคาอยางใกลชิด เพราะหากเปรียบเทียบกับรานพร ทิพยนั้น พนักงานจะมีการเทรนดมาอยางดี ใสใจรายละเอียด ดูแลลูกคาอยูเปนระยะ ไมปลอยใหลูกคารอนาน ในเวลาที่ลูกคาไปจายเงิน นอกจากนี้ ผลกระทบจากดานการเปดประเทศ เขา AEC ก็มีสวนทําใหทางบริษัทเองตอง ออกมามีความตื่นตัวใหมากขึ้น ดวยการพัฒนาทางดานภาษาของคนในบริษัททุกฝาย ใหมีความรูหลากหลาย ภาษา ลงทุนพัฒนาลูกจางและใหความรู แตดวยความที่ทางรานเองจะจางลูกจางที่เปนตางดาวมากกวา เชน เมียนมาร ลูกจางเหลานี้ สวนมากจะจางเปนรายวัน หรือชั่วคราว ไมไดจางประจํา อาจทําใหสิ้นเปลืองการ อบรมพนักงานโดยการจางคนมา แตทั้งนี้ เราสามารถใหฝายหัวหนาแตละแผนกเขาอบรม เพื่อนําเอาความรูที่ ไดนั้น มาพัฒนาตอยอดและใหความรูพนักงานตัวเองได โดยที่ไมตองเสียคาใชจาย จางคนอื่นมาอบรมบอยๆ ขอดอยของระบบรานนี้คือ ระบบครอบครัว คือเปนระบบที่มีแคคนภายในดูแลงานในราน เทานั้น ไมมีคนนอก อาจจะมีทั้งขอดี และขอเสียในตัว ทั้งเรื่องความไววางใจในระบบการเงิน หากหาคนที่ ไวใจได แตหากมีเรื่องอะไรที่ควรคุยกันตรงๆ แตไมคุย อาจจะทําใหเสียงานได เพราะคิดวา อาจจะมีปญหาผิด ใจกับคนในเครือญาติกันเอง
  • 9. - 7 -   นอกจากนี้ เปนเรื่องของผลิตภัณฑ ตัว Packaging ที่ควรมีใหหลากหลายมากกวานี้ สราง เอกลักษณ แรงจูงใจลูกคา และยังคงรสชาติอาหาร ความเปนไทย และความเปนอาหารใตไดอยางเดิม เพราะ คูแขงของแมจู เปนพรทิพย ยังคงมีความแตกตาง ดานเกรดอยูพอสมควร เพราะพรทิพยเองก็ไดรับรางวัลการ ออกแบบสินคาที่โดดเดน 4. มีองคความรู หรือทฤษฎี อะไรรองรับ ในการวิเคราะหและการสรุปผลการศึกษา ทางกลุม เลือกองคความรู OD และ แนวคิดเรื่อง Excellence vs. Best Practices การพัฒนาองคการ (Organization Development หรือ OD) ในการบริหารการเปลี่ยนแปลงจะประสบความสําเร็จไดตองรวมถึง การพัฒนาองคการ (OD) ดวย โดยนิยามการพัฒนาองคการ หมายถึง การทําแผนเพื่อใชดําเนินการเปลี่ยนแปลงองคการใหเกิดความ มี ประสิทธิผล และใหความสําคัญดานความเปนมนุษยมากยิ่งขึ้น (More effective and more human) จะเห็นวา กระบวนทัศนของการพัฒนาองคการ (OD paradigm) คือการใหความสําคัญตอ คุณคาของมนุษยและ ความกาวหนา ขององคการควบคูกันไป เนนความรวมมือและกระบวนการมีสวนรวม ตลอดจนการมีจิต วิญญาณของการแสวงหา (Spirit of inquiry) กลาวโดยสรุป คานิยมที่ถือเปนสาระสําคัญเชิงปรัชญาของการ พัฒนาองคการไดแก ใหการนับถือตอคน (Respect for people) โดยเชื่อวา มนุษยมีความรับผิดชอบมีสติปญญาและ ตองการให การใสใจและควรไดรับ การปฏิบัติ ดวยความเคารพในศักดิ์ศรีแหงความเปนมนุษย ไววางใจและชวยเหลือเจือจุน (Trust and support) กลาวคือ องคการที่ถือวามีสุขภาพดีและมี ประสิทธิผล ตองมีลักษณะของความไววางใจ มีความนาเชื่อถือ มีบรรยากาศที่เปดเผย และใหการเกื้อกูลตอกัน มีความเสมอภาคดานอํานาจ (Power equalization) ในองคการที่มีประสิทธิผลจะไมเนนการ ใชอํานาจและการควบคุมตามสายการบังคับบัญชา เปนประเด็นสําคัญ กลาเผชิญปญหา (Confrontation) โดยไมเลี่ยง ไมประวิงเวลาหรือหนีปญหาที่เกิดขึ้น แตจะ ใชวิธีเผชิญปญหาอยางเปดเผย
  • 10. - 8 -   การมีสวนรวม (Participation) โดยเฉพาะผูที่ไดรับผลกระทบหรือเกี่ยวของกับการ เปลี่ยนแปลงจะไดรับโอกาสมีสวนรวมในการตัดสินใจ เพราะการไดมีสวนรวมยิ่งทําใหตองผูกพันตอการนํา ขอยุติลงสูการปฏิบัติ เทคนิคที่ใชในการพัฒนาองคการ เนื่องจากการพัฒนาองคการ เปนแผนรวมที่ใชในการเปลี่ยนแปลงสภาพการทํางานโดยมี วัตถุประสงคเพื่อพัฒนาบุคลากรแตละคนขององคการ พรอมกับ ปรับปรุงใหการดําเนินงาน ตามภารกิจของ องคการมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น ดังนั้นกิจกรรมของ OD ก็คือ แสวงหาทางที่สงเสริมการปฏิบัติงานขององคการ โดยการ ปรับปรุงคุณภาพของสภาวะแวดลอมในที่ทํางานตลอดจนเจตคติและความเปนอยูที่ดีของพนักงานแผนพัฒนา องคการจึงประกอบดวยเทคนิคตาง ๆ หลายอยาง (บางครั้งเรียกวา กิจกรรมสอดแทรก หรือ OD interventions) ซึ่งผูเชี่ยวชาญใชเพื่อปรับปรุงการทํางานขององคการทั้งในระดับบุคคล กลุมบุคคล และองคการโดยรวม ใน ที่นี้จะเลือกนําเสนอเฉพาะเทคนิคการพัฒนาองคการที่เปนที่นิยมแพรหลาย 6 เทคนิค ไดแก การสํารวจขอมูลยอนกลับ (survey feedback) การฝกอบรมเพื่อฝกการรับรู (Sensitivity training) การสรางทีมงาน (Team building) โปรแกรมสรางคุณภาพในชีวิตงาน (Quality of work life programs) การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค (Management by objectives) การสรางองคการแหงการเรียนรู 1. เทคนิคการสํารวจขอมูลยอนกลับ (Survey feedback) เปนวิธีการที่นําไปสูการเปลี่ยนแปลงดวยการรับรูขอมูลรวมกัน โดยมีฐานความเชื่อที่วา การ เปลี่ยนแปลงใด ๆ จะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อ พนักงานตองรับรูและ เขาใจถึงจุดแข็งและจุดออนในปจจุบันของ หนวยงานตน ซึ่งเปนหลักการและเหตุผลสําคัญของการใชเทคนิคการสํารวจขอมูลยอนกลับนี้ เทคนิคนี้ ประกอบดวย 3 ขึ้นตอนสําคัญ
  • 11. - 9 -   ขั้นแรก เปนการรวบรวมขอมูลทั้งหลายที่เปนขอวิตกกังวนของพนักงาน เชน บรรยากาศขององคการ แบบภาวะผูนํา และสภาพความพึงพอใจตองาน เปนตน โดยใชวิธีการสัมภาษณหรือใหตอบแบบสอบถามหรือ ทั้งสองอยางก็ได ขอมูลที่ไดตองพยายามหลีกเลี่ยงอคติลําเอียงและตองเก็บเปนความลับ ดวยเหตุนี้จึงนิยมใชที่ ปรึกษาภายนอกดําเนินการ ขั้นที่สอง เปนการเขียนรายงานขอมูลที่ไดรับกลับมาจากพนักงานระหวางการประชุมกลุมยอย เชน สรุปคะแนนเฉลี่ยดานเจตคติของพนักงานที่วัดได เคาโครงแสดงที่มาของความรูสึกที่พนักงานมีตอองคการ หรือตอผูนําหรือตองานที่ทําอภิปรายเพื่อหาประเด็นหลัก และการบงชี้ของขอมูล ใหไดวาปญหาคืออะไร ขั้นสุดทาย เปนการวิเคราะหปญหาในแงที่เกี่ยวกับการสื่อสาร การตัดสินใจและกระบวนการตาง ๆ ขององคการ เพื่อนํามาจัดทําแผนในแตละเรื่อง การอภิปรายจะไดผลดีถาไดมีการจัดเตรียมเอกสารขอมูลที่ เกี่ยวของเปนอยางดีมีผูนําจัดทําแผนที่มีความสามารถขอดีของเทคนิคการสํารวจขอมูลปอนกลับก็คือ มี ประสิทธิภาพ รวดเร็ว ไดขอมูลมากตามที่ตองการ ทั้งยังยืดหยุนสอดคลองกับความตองการขององคการตาง ๆ ซึ่งมีปญหาไมเหมือนกันไดดี แตมีจุดออนที่เกี่ยวกับความแมนยําเที่ยงตรงของเครื่องมือแบบสอบถามที่ใชและ ตองไดรับความสนับสนุนจริงจังของฝายบริหารจึงจะไดผลดี 2. เทคนิคการฝกอบรมเพื่อฝกการรับรู (Sensitivity Training หรือ T-groups) โดยใชกลุมเล็กประมาณ 8-15 คน มาเลาประสบการณหรือเรื่องเกี่ยวกับตนใหคนอื่นฟงและรวมแสดง ความเห็นแงมุมตาง ๆ ของเรื่องนั้น เพื่อใหผูนั้นมองเห็นไดทะลุปรุโปรงจนสามารถเขาใจตนเอง เทคนิคนี้มี หลักการและเหตุผลที่อยูเบื้องหลังก็คือ ปกติคนเราจะไมยอมเปดเผยความจริง เกี่ยวกับตัวเองและมีความ ซื่อตรงตอคนอื่นอยางสมบูรณ ดังนั้น เทคนิค T-group นี้จึงมีเงื่อนไขกติกาของกลุมที่ทุกคนตองพูดจาสื่อสาร ตอกันอยางเปดเผย และซื่อตรงตอกัน โดยไมมีความกดดันจากภายนอก ดังนั้นกิจกรรมนี้จึงมักจัดนอกสถานที่ ซึ่งไกลจากที่ทํางานไดหลายวัน โดยมีผูเชี่ยวชาญ ทําหนาที่อํานวยความสะดวก ประจํากลุมคอยใหคําแนะนํา และรักษาบรรยากาศที่ดีของกลุมอยูตลอดเวลา ภายหลังจากกลุมมีความไววางใจตอกัน และชวยแลกเปลี่ยน ความเห็นตอปญหาซึ่งกันและกันทีละคน ก็จะทําใหเจาของปญหามองเห็นและเขาใจตนเองดียิ่งขึ้น โดยทํา หมุนเวียนจนครบทุกคน สมาชิกนอกจากเขาใจตนเองแลวยังเขาใจถึงความรูสึกของสมาชิกคนอื่นและเกิด สัมพันธภาพที่ดีตอกัน อยางไรก็ตาม การวัดความสําเร็จของเทคนิค T-group ที่นํามาใชเปนกิจกรรมพัฒนาองคการนั้น มองเห็นไดยาก แมจะเกิดผลดีระหวางทํากิจกรรมกลุม ดังกลาว แตยังไมอาจสรุปไดวา สามารถถายโอนมาสู
  • 12. - 10 -   บรรยากาศการทํางานจริงขององคการไดมากนอยเพียงไร ดังนั้น เทคนิค T-group มักใชรวมกับ เทคนิคอื่น ๆ ในการพัฒนาองคการ 3. เทคนิคการสรางทีมงาน (Team Building Technique) เทคนิคการสรางทีมงาน ประยุกตวิธีการและหลักการเหตุผลมาจากเทคนิค T-group ดังกลาวมาแลว โดยใหสมาชิกของกลุมทํางานวิเคราะหวา ตนทํางานรวมกันอยางไร และใหเสนอแผนการปรับปรุงใหดีขึ้น กวาเดิม ใหความสําคัญตอความพยายามของกลุมที่จะชวย ใหการปฏิบัติการกิจขององคการเกิดประสิทธิผล โดยเชื่อวาถาปรับปรุงการทํางานของกลุมใหมีประสิทธิผลแลวยอมสงผลใหองคการมีประสิทธิผลไปดวย เพราะกลุมเปนหนวยที่สําคัญขององคการ ดังนั้นในการพัฒนาองคการจึงตองเนนการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นที่ กลุมแทนที่จะเปนรายบุคคลการสรางทีมงานเริ่มเกิดขึ้นเมื่อสมาชิกของกลุมยอมรับวา พวกตนมีปญหาและ พยายามรวบรวมขอมูลเพื่อใหเขาใจถึงปญหานั้น ปญหาดังกลาวอาจไดมาจากการทํากิจกรรม T-groups หรือ จากเทคนิคอื่นเชน การสํารวจเจตคติหรือจากยอดตัวเลขผลผลิต เปนตน จากนั้นก็นําขอมูลที่ไดมาทําการ แลกเปลี่ยนกันในชวงของการตรวจวินิจฉัย (Diagnostic session) เพื่อใหไดขอยุติรวมกันวา กลุมของตนมีจุด แข็ง (Strength) และจุดออน (Weakness) อะไรบาง เมื่อทราบแลวจึงระบุประเด็นที่ตองปรับปรุงเปลี่ยนแปลง พรอมทั้งกําหนดแผนดําเนินการเปลี่ยนแปลงหรือทําแผนปฏิบัติ (Action plan) ตามไปดวย จากนั้นจึงลงมือ ปฏิบัติจริงตามแผน ตามดวยการประเมินความกาวหนาและหาวาปญหาดังกลาวไดรับการแกไขหมดหรือไม ถาปญหาไดรับการแกไขสมบูรณการประชุมของทีมงานก็จบลง แตถาปญหายังคงเหลืออยูก็จะตองเริ่มตน กระบวนการใหม 4. เทคนิคการจัดโปรแกรมคุณภาพในชีวิตงาน (Quality of work life หรือ QWL) เนื่องจากคนเราเมื่อตองทํางานที่ซ้ําซากจําเจจะเกิดความรูสึกเบื่อหนายขึ้น ดวยเหตุนี้องคการสวน ใหญในปจจุบัน จะใหความสําคัญตอการจัดสภาพแวดลอม ที่มีคุณภาพอยางเปนระบบอยูตลอดเวลา โดย มุงหวังใหสามารถตอบสนองความตองการของบุคคลใหไดทํางานอยางที่ตนคิดอยากจะทํา (Self- fulfilling) ดวยเหตุนี้นักพัฒนาองคการจึงพยายามสรางเงื่อนไขแวดลอมของการทํางาน ใหสงเสริมแรงจูงใจ มีความพึง พอใจ และสรางความผูกพันใหแกพนักงาน เพราะองคประกอบเหลานี้ชวยใหระดับผลงานขององคการสูงขึ้น ความพยายามโดยรวมในการปรับปรุงสภาพแวดลอมของการทํางานใน แนวทางดังกลาวนี้ เรียกวา “การจัด โปรแกรมคุณภาพในชีวิตงาน” หรือเรียกยอวา QWL ซึ่งเชื่อวาโปรแกรม QWL เปนแนวทางที่เพิ่มผลผลิตของ องคการใหสูงขึ้น ถาใหพนักงานไดเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจที่จะสงผลกระทบตอการทํางานของตน โปรแกรม QWL จึงปฏิบัติตอพนักงานทุกระดับดวยแนวคิด ความเปนประชาธิปไตย และกระตุนการมีสวน รวมในการตัดสินใจ แนวคิดของโปรแกรม QWL จึงใหความสําคัญของ “ความเปนมนุษยในสถานที่ทํางาน” (Humanizing the workplace) การใชเทคนิค QWL ในการปรับปรุงคุณภาพในชีวิต ประกอบดวยหลายวิธี ตัวอยางเชน
  • 13. - 11 -   4.1 ใชกิจกรรมปรับโครงสรางใหมของงาน (Work restructuring) ซึ่งเปนกระบวนการ เปลี่ยนแปลงวิธีทํางานใหมใหมีความนาสนใจแกพนักงาน โดยสามารถทําไดหลายอยาง เชน ใชเทคนิคการ จัดรูปแบบคุณสมบัติของงาน (Job characteristic model) (รายละเอียดของเทคนิคเหลานี้อานไดจากบทที่ 4 เรื่องการจูงใจในองคการ) 4.2 ใชกิจกรรมวงจรคุณภาพ (Quality circles หรือเรียกยอวา QC) เปนกิจกรรมที่แบงสมาชิก ออกเปนกลุม ๆ ละประมาณ 10 คน เปนสมาชิกที่มาจากความสมัครใจและมีการประชุมพบปะกันอยูเสมอ (อาทิตยละครั้งโดยประมาณ) เพื่อระบุถึงปญหาและแนวทางในการแกปญหาที่เกี่ยวกับ คุณภาพของงานและ เงื่อนไขตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการทํางานของพวกตน ในองคการหนึ่งอาจมีทีมงาน QC หลายทีม โดยแตละทีมจะ รับผิดชอบ ดูแลงานเฉพาะดาน ที่ตนสนใจและมีความถนัด เพื่อใหทีมงานเกิดผลดี สมาชิกของทีมควรผานการ ฝกอบรมวิธีการแกปญหา (Problem solving) มากอน อยางไรก็ดีมีผลงานวิจัยระบุวา แมกิจกรรม QCs จะมี ผลดีตอการปรับปรุงคุณภาพในชีวิตในชวงระยะเวลาสั้น (ราวไมเกิน 18 เดือน) แตพบวามีประสิทธิผลนอยลง ถาจะใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในระยะยาว (Griffin,1988 อางใน Greenberg,1997:567) กลาวโดยสรุป เทคนิคการจัดโปรแกรมคุณภาพในชีวิตงาน หรือ QWL มีประโยชนอยางนอย 3ประการไดแก (1) เพิ่มความพึงพอใจในงาน เกิดความผูกพันตอองคการและลดการลาออกนอยลง (2) เพิ่มผลผลิตหรือผลงาน ใหสูงขึ้น (Increased productivity) (3) เพิ่มความมีประสิทธิผลขององคการ (เชน ผลกําไรมากขึ้น การไดบรรลุเปาหมาย) 5. เทคนิคการบริหารโดยยึดวัตถุประสงค (Management by objectives หรือเรียก MBO) เปนเทคนิคที่ทั้งผูบริหารและพนักงานรวมกันกําหนดเปาหมายขององคการแลวพยายามดําเนินการให บรรลุตามเปาหมายนั้น โดยกระบวนการของการบริหาร โดยยึดวัตถุประสงค หรือ MBO แบงออกเปน 3 ขั้นตอน ในขั้นแรก ทําการเลือกเปาหมายที่ตองการใหพนักงานดําเนินการไดดีที่สุดตามความตองการ ขององคการ การเลือกเปาหมายควรทํารวมกันทั้งผูบริหารและพนักงานแทนที่จะเปนการสั่งมาจาก ผูบริหาร โดยเปาหมายที่กําหนดจะตองสามารถวัดไดและมีเงื่อนไขกํากับดวย ตัวอยางเชน “จะเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น กวาเดิม 15 เปอรเซ็นตภายในไตรมาสแรกของป” หรือ “จะลดอัตราการชํารุดของผลิตภัณฑลงจากเดิม 25 เปอรเซ็นตภายในปนี้” เปนตน ในขั้นตอนนี้ทั้งผูบริหารและพนักงานจะ รวมกันจัดทําแผนปฏิบัติการ (Action plan) เพื่อใหสามารถบรรลุเปาหมายตามที่กําหนด ขั้นที่สอง เมื่อไดกําหนดเปาหมายและจัดทําแผนปฏิบัติแลวก็ถึงขั้นการนําแผนลงสูการ ปฏิบัติ (Implementation) ในการปฏิบัติตามแผนจําเปนตองมีการตรวจสอบความกาวหนาของการดําเนินงาน อยางสม่ําเสมอทุกระยะวาเปนไปตามที่ประมาณการตามเปาหมายหรือไม ถาเกิดปญหาขึ้นระหวางดําเนินการ
  • 14. - 12 -   ปญหาดังกลาวไดรับการแกไขหรือไม และถามีการผิดพลาดไปจากแผนไดรับการแกไขแลวหรือยัง จําเปนตอง ปรับแผนปรับวิธีดําเนินการหรือแมแตปรับเปาหมายหรือไม ขั้นสุดทาย หลังจากไดกํากับดูแลใหมีความกาวหนาไปสูเปาหมายแลว ในขั้นตอไปที่ตองทํา ก็คือ การประเมินผลวาเปนไปตามเปาหมายหรือไม และบรรลุตามเปาหมายขององคการเพียงไร โดยถาพบวา ไดบรรลุตามเปาหมาย ก็สามารถริเริ่มกําหนดเปาหมายใหมที่สูงกวาเดิมขึ้นอีก แตในทางกลับกัน ถาประเมิน แลวพบวา ไมสามารถบรรลุตามเปาหมายที่กําหนดได ก็กลับไปเริ่มจัดทําแผนปฏิบัติการขึ้นใหมที่สามารถ จะ ดําเนินการ ใหบรรลุเปาหมายได ดวยเหตุที่เมื่อบรรลุเปาหมายไดแลว ระบุใหเริ่มเลือกกําหนดเปาหมายขึ้น ใหมดังกลาว จึงทําให MBO เปนกระบวนการที่มีความตอเนื่อง ตลอดเวลา MBO จึงถือเปนเครื่องมือที่มี ประสิทธิผลสูงที่ใชในการวางแผนและการวางกลยุทธการ เปลี่ยนแปลงขององคการ เปนวิธีการที่ทั้งพนักงาน และองคการ รวมทํางานเพื่อบรรลุเปาหมายเดียวกัน พนักงานโดยเฉพาะระดับลางไดมีสวนรวมมากขึ้น โดย ผูบริหารระดับสูงตองแสดงความเต็มใจ ใหการยอมรับใหการสนับสนุนและเขามารวมทุกขั้นตอนใหมากที่สุด อยางไรก็ตามกิจกรรม MBO จะมองเห็นผลไดชัดเจนตองใชระยะเวลายาวนานพอควร โดยเฉลี่ยประมาณ 3-5 ป ดังนั้น MBO อาจไมเหมาะกับองคการประเภทที่ตองการเห็นผลรวดเร็ว 6. เทคนิคการสรางองคการแหงการเรียนรู (Creating a learning organization) ในแตละทศวรรษที่ผานมามักมีการนําแนวคิดใหมมาใชพัฒนาองคการ กลาวคือ เทคนิคการบริหาร คุณภาพโดยรวมหรือ TQM ในทศวรรษ 1980 ตอมาในทศวรรษ 1990 หันมาเนนเทคนิคการปฏิรูปยกรื้อระบบ (Reengineering)และในปจจุบันกลาวถึงเรื่ององคการแหงการเรียนรู (Learning organization) โดยนักวิชาการ และผูบริหารองคการตางพยายามเสนอหนทางใหมที่เหมาะสมกับโลกปจจุบันที่มีลักษณะเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลาและตองมีการพึ่งพาระหวางกัน (Interdependence and change) ตอไปนี้จะกลาวถึงลักษณะของ องคการแหงการเรียนรูและวิธีบริหารการเรียนรู 6.1 ลักษณะขององคการแหงการเรียนรู หมายถึง องคการที่มีศักยภาพที่สามารถยืดหยุนใน การปรับตัวและเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา องคการก็เหมือนกับบุคคลที่ตองเรียนรูอยูเสมอไมวาจะโดยตั้งใจ หรือไมก็ตาม ทั้งนี้ก็เพื่อใหองคการสามารถดํารงอยูดวยดีอยางถาวร เมื่อเกิดปญหาขึ้น องคการจะมีแนวทาง ดําเนินการอยางใดอยางหนึ่งใน2วิธีตอไปนี้ วิธีแรก เปนการแกปญหาโดยใชประสบการณเกา (Single – loop learning) เปนการเรียนรูการแกปญหาที่เกิดขึ้นโดยอาศัยวิธีการเดิมที่เคยใชไดผลในอดีต ผนวกเขากับนโยบาย ที่มีในปจจุบัน ซึ่งเปนวิธีที่ตรงกันขาม กับที่ใชในองคการแหงการเรียนรู ซึ่งเปนวิธีที่สองที่เรียกวา เปนการ แกปญหาแบบองครวม (Double – loop learning) กลาวคือ เมื่อพบวามีปญหา จะใชวิธีการที่มีการหลอมรวม วัตถุประสงคขององคการ นโยบายและแนวปฏิบัติประจํา ที่มีมาตรฐานเขาดวยกัน ในการพิจารณาหาขอยุติ ของปญหา วิธีแกปญหาแบบหลังจะมีลักษณะทาทายตอความเชื่อและปทัสถานที่มีในองคการ ในแงที่เชื่อวา
  • 15. - 13 -   สามารถแกปญหาไดอยางชนิดถอนรากถอนโคน และทําใหเกิดเปลี่ยนแปลงใหญขึ้นตอองคการเซนจ (P.M. Senge) แหงสถาบัน MIT ของสหรัฐ ไดสรุปคุณลักษณะสําคัญ 5 ประการของ องคการแหงการเรียนรูไว ดังนี้ ทุกคนเห็นดวยและยึดมั่นตอวิสัยทัศนรวมกัน แตละคนจะละทิ้งวิธีการคิดแบบเกาตลอดจนมาตรฐานตาง ๆ ที่ เคยใชในการแกปญหาอยูประจํา สมาชิกทุกคนตองคิดถึงกระบวนการขององคการในเชิงภาพรวม โดยที่กิจกรรมภารกิจ หนาที่ตลอดดําเนินงานทั้งหลายจะเกี่ยวของ และเปนสิ่งแวดลอมซึ่งเปนสวนหนึ่งของระบบความสัมพันธ ระหวางกันและกัน สมาชิกใชวิธีสื่อสารตอกันอยางเปดเผย ทุกทิศทางทั้งในแนวตั้งและแนวนอน โดยปราศจากความรูสึก หวาดกลัวตอคําวิจารณหรือ การลงโทษแตอยางใด สมาชิกจะลดละตอสิ่งที่เปนผลประโยชนสวนตนของแผนกหรือของกลุมตนใหนอยลงแตจะ หันมาทํางาน รวมกันเพื่อใหสามารถบรรลุวิสัยทัศนรวมกับองคการ 6.2 การบริหารจัดการการเรียนรู (Managing learning) เพื่อใหไดคําตอบวาจะตอง เปลี่ยนแปลงองคการอยางไรจึงจะทําใหเกิดการเรียนรูอยางตอเนื่อง ผูบริหารจะตองมีบทบาทอะไรบางถาจะ ทําใหบริษัทของตนกลายเปนองคการแหงการเรียนรู ซึ่งมีแนวดําเนินการดังนี้ กําหนดยุทธศาสตร (Establish a strategy) ฝายบริหารจําเปนตองแสดงจุดยืนของตนอยาง ชัดเจนกวา ตนมุงมั่นผูกพันตอการเปลี่ยนแปลง อยางจริงจังและดําเนินการปรับปรุงอยางตอเนื่อง ออกแบบโครงสรางใหมขององคการ (Redesign the organization’s structure) เนื่องจาก โครงสรางอยาง ทางการแบบเกาเปนอุปสรรคขัดขวาง ตอการเรียนรูอยางยิ่ง จึงควรแกไขใหโครงสรางเปน แบบแนวราบ (Flat organization) ซึ่งลดระดับสายการบังคับบัญชาใหเหลือนอยลง พยายามหลอมรวมแผนก ตาง ๆ ที่มีภารกิจใกลเคียงเขาดวยกัน เพิ่มการใชทีมงานแบบไขวหนาที่ (Cross-functional teams) มากขึ้น สงเสริมการทํางานที่ตองพึ่งพาระหวางกันมากขึ้น และขจัดพรมแดนระหวางบุคคลใหนอยลง ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมใหมขององคการ (Reshape the organization’s culture) ดังกลาวแลววา คุณลักษณะที่สําคัญขององคการแหงการเรียนรู ก็คือ มีความกลาเสี่ยง (Risk taking) ความเปดเผย (Openness) และ ความกาวหนา (Growth) ดังนั้นฝายบริหารจึงตองกําหนดทาทีทั้งทางคําพูดและการกระทําไปในลักษณะดังกลาวจนฝง รากลึกกลายเปนวัฒนธรรมขององคการ ผูบริหารเองตอง แสดงออกใหเห็นถึงความเปนคนกลาเสี่ยงและ ยอมรับวาการผิดพลาดเปนเรื่องธรรมดา ยอมใหผลตอบแทนแกคนที่กลาฉกฉวยโอกาสที่จะเปน ประโยชนแก งานสวนรวม แมจะตองพบความผิดพลาดบางก็ตาม ฝายบริหารจําเปนตองกระตุนใหเกิดความขัดแยงที่ เกี่ยวกับงาน เพื่อใหทุกฝายไดเรียนรูรวมกันในการหาคําตอบที่ดีที่สุดแกองคการ อยางไรก็ดี แนวคิดในการสรางองคการแหงการเรียนรูซึ่งมีคุณลักษณะทั้ง 5 ประการ ดังที่ได กลาวมาแลวยังเปนรูปแบบเชิงอุดมคติ เนื่องจากยังไมพบ องคการใด ที่มีคุณลักษณะที่ครบถวน แตองคการ
  • 16. - 14 -   แหงการเรียนรูก็ไดบรรจุแนวคิดตาง ๆ ดานพฤติกรรมองคการ อาทิเชน TQM วัฒนธรรมองคการ องคการที่ไร พรมแดน ความขัดแยงเกี่ยวกับงาน และภาวะผูนําแบบเปลี่ยนสภาพ เปนตน กลาวคือองคการแหงการเรียนรู รับแนวคิดของ TQM ในประเด็นที่เนนการยึดมั่นตอการปรับปรุงอยางตอเนื่อง องคการแหงการเรียนรูมี วัฒนธรรมองคการที่เนนเรื่อง ความกลาเสี่ยง ความเปดเผยโปรงใส และความเจริญงอกงาม เปนตน องคการ แหงการเรียนรูยังเนน หลักการไรพรมแดนดวยการปรับลดระดับของสายการบังคับบัญชาใหนอยลง พรอมทั้ง หลอมรวมแผนกตาง ๆ ที่เคยแยกยอยซ้ําซอนเขาดวยกัน นอกจากนี้องคการแหงการเรียนรูยังสนับสนุนและให ความสําคัญตอความคิดเห็นที่ตางกัน การวิจารณเชิงสรางสรรคและ ความขัดแยงที่เกี่ยวกับงาน ในรูปแบบตาง ๆ และที่แนนอน สรุปจากสาระสําคัญ ที่เราเลือก หลักของ OD นั้น เมื่อเราทํา OD แลว จะเกิดการพัฒนา ทางรานเองก็ จะไดมีการวางแผน แกไขปญหาใหไปในทิศทางที่ดีขึ้น แยกแยะปญหาตางๆและแกอยางเปนระบบ มีการเสริม แรงกลยุทธ มีการตรวจสอบเพื่อนําไปสูการพัฒนาศักยภาพ เพื่อใหรานหรือบริษัทเกิดการตื่นตัวกับการ ปรับเปลี่ยน เพื่ออนาคตที่ดีขึ้นตามลําดับทั้งหมดในภาพรวม ซึ่งเมื่อเราพัฒนามีการอบรมพนักงาน พัฒนาการ บริการใหดีขึ้นแลวนั้น ก็จะสําเร็จไดไปอีกขั้นและเมื่อปรับเปลี่ยนและปรับปรุงไปเรื่อยๆ มั่นใจวาจะเกิดการ พัฒนาที่ทําใหรานมีชื่อเสียงมากขึ้น แนวคิดเรื่อง Excellence vs. Best Practices ใชหลักแนวคิดนี้มาพัฒนาเปนขั้นตอน เพื่อนําไปสูความเปนเลิศของธุรกิจในเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติ
  • 18. 16