SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
Download to read offline
~ 1 ~
~ 2 ~
คานา
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความ โดยใช้การเรียนรู้แบบกระบวนการ
กลุ่มร่วมมือแบบเทคนิคเอส ที เอ ดี (STAD)สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการฝึกทักษะด้าน
การอ่านจับใจความสาคัญ โดยใช้การเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่มร่วมมือแบบ
เทคนิคเอส ที เอ ดี ซึ่งจะทาให้นักเรียนสามารถอ่านจับใจความสาคัญจากงาน
เขียนได้อย่างถูกต้อง เสริมสร้างกระบวนการทางานเป็นกลุ่ม และนักเรียนสามารถ
อ่านแล้วนาความรู้ ความคิด และประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ทั้ง
ด้านการเรียนและการนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ขณะเดียวกันก็ยังทาให้
นักเรียนมีความสุข สนุกสนาน เพลิดเพลิน เสริมสร้างนิสัยรักการอ่าน และมีความ
ภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง นอกจากนักเรียนจะได้นาไปฝึกทักษะแล้ว
ครูผู้สอนยังสามารถนาไปใช้ทบทวนเนื้อหาที่นักเรียนได้เรียนไปแล้ว และยัง
สามารถนาไปใช้สอนซ่อมเสริมให้กับนักเรียนที่มีความบกพร่องด้านทักษะการอ่าน
ได้อีกด้วย
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้
การเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่มร่วมมือแบบเทคนิคเอส ที เอ ดี (STAD) สาหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลงจะเอื้อ
ประโยชน์แก่นักเรียน ครูผู้สอน และทุกท่านที่สนใจเป็นอย่างดี
ศิลาวรรณ เลื่อนลอย
~ 3 ~
สารบัญ
หน้า
คานา
สารบัญ
คาชี้แจง ก
คาแนะนาสาหรับครู ข
คาแนะนาสาหรับนักเรียน ค
จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑
แบบทดสอบก่อนเรียน ๒
ใบความรู้ เรื่อง เพลง ๗
แบบฝึกทักษะที่ ๑ ๑๐
แบบฝึกทักษะที่ ๒ ๑๒
แบบฝึกทักษะที่ ๓ ๑๔
แบบฝึกทักษะที่ ๔ ๑๖
แบบฝึกทักษะที่ ๕ ๑๘
แบบทดสอบหลังเรียน ๒๐
~ 4 ~
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
ภาคผนวก ๒๖
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ๒๗
แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๑ ๒๘
แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๒ ๒๙
แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๓ ๓๐
แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๔ ๓๑
แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๕ ๓๒
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ๓๓
บรรณานุกรม ๔๓
~ 5 ~
คาชี้แจง
๑. แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้การเรียนรู้แบบกระบวนการ
กลุ่มร่วมมือแบบเทคนิค เอส ที เอ ดี (STAD) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่๒ เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ใช้เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง
๒. รายละเอียดและเนื้อหาภายในแบบฝึกประกอบด้วย ชื่อแบบฝึก
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
แบบฝึกเสริมทักษะ เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ และเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
และหลังเรียน
๓. การใช้แบบฝึกนักเรียนควรศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ และปฏิบัติกิจกรรม
เรียงตามลาดับที่กาหนดไว้
๔. นักเรียนฝึกปฏิบัติกิจกรรมลงในกระดาษคาตอบที่มอบให้ และตรวจคาตอบ
ที่ประธานกลุ่ม โดยให้เลขานุการกลุ่มเป็นผู้บันทึกคะแนน
๕. หากนักเรียนมีข้อสงสัยเกี่ยวกับขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมหรือรายละเอียด
ภายในแบบฝึกสามารถซักถามครูได้ตลอดเวลา
๖. หลังจากนักเรียนศึกษาและฝึกปฏิบัติกิจกรรมภายในแบบฝึกจนครบแล้ว
สามารถขอรับแบบทดสอบ และตรวจคาตอบได้ที่ครู โดยให้เลขานุการกลุ่มเป็นผู้
บันทึกคะแนน
~ ก ~
~ 6 ~
คาแนะนาการใช้สาหรับครู
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้การเรียนรู้แบบกระบวนการ
กลุ่มร่วมมือแบบเทคนิค เอส ที เอ ดี (STAD) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ประกอบด้วยแบบฝึกทั้งหมดจานวน ๖ เล่ม
คือ
เล่มที่ ๑ การอ่านจับใจความจากนิทาน
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
เล่มที่ ๓ การอ่านจับใจความจากบทความ
เล่มที่ ๔ การอ่านจับใจความจากบทร้อยกรอง
เล่มที่ ๕ การอ่านจับใจความจากข่าว
เล่มที่ ๖ การอ่านจับใจความจากโฆษณา
๑. แบบฝึกเสริมทักษะชุดนี้เป็นแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความ
สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
๒. ควรศึกษาและทาความเข้าใจคาแนะนาในการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ
ก่อนใช้ทุกเล่ม
๓. ควรเตรียมอุปกรณ์การฝึกล่วงหน้าก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ทุกครั้ง เช่น ชุดฝึกทักษะแต่ละชุด แบบทดสอบต่างๆ แบบสังเกตพฤติกรรม
ให้เรียบร้อยเพื่อความสะดวกในการใช้
๔. ชี้แจงให้นักเรียนทราบถึงวัตถุประสงค์และความสาคัญของการฝึก
แต่ละเล่ม เพื่อให้นักเรียนเห็นประโยชน์ที่จะได้รับจากการฝึก
~ ข ~
~ 7 ~
คาแนะนาการใช้สาหรับนักเรียน
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้การเรียนรู้แบบกระบวนการ
กลุ่มร่วมมือแบบเทคนิค เอส ที เอ ดี (STAD) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ประกอบด้วยแบบฝึกทั้งหมดจานวน ๖ เล่ม
คือ
เล่มที่ ๑ การอ่านจับใจความจากนิทาน
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
เล่มที่ ๓ การอ่านจับใจความจากบทความ
เล่มที่ ๔ การอ่านจับใจความจากบทร้อยกรอง
เล่มที่ ๕ การอ่านจับใจความจากข่าว
เล่มที่ ๖ การอ่านจับใจความจากโฆษณา
๑. นักเรียนศึกษาแบบฝึกโดยเรียงลาดับตามเล่มที่กาหนดไว้ คือ เรียนจาก
เล่มที่ ๑ เล่มที่ ๒ เล่มที่ ๓ เล่มที่ ๔ เล่มที่ ๕ และเล่มที่ ๖ ตามลาดับ
๒. นักเรียนจะได้รับแบบฝึกจากครูคนละ ๑ เล่ม ก่อนที่นักเรียนจะศึกษา
เนื้อหาภายในของแบบฝึกควรทาความเข้าใจคาชี้แจงการใช้อย่างละเอียด
๓. เมื่อนักเรียนศึกษาและฝึกปฏิบัติกิจกรรมจบครบแล้ว ให้นาแบบฝึก
เสริมทักษะมาคืนครู แล้วรับแบบฝึกเล่มถัดไป
๔. หากเกิดข้อสงสัยในการศึกษาหรือการฝึกปฏิบัติกิจกรรมภายในแบบฝึก
นักเรียนสามารถซักถามครูได้ตลอดเวลา
~ ค ~
~ 8 ~
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน
๑. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์ ของนักเรียน
๒. เพื่อฝึกความสามารถในการคิด วิเคราะห์จากเรื่องราว และเหตุการณ์
ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน
๓. เพื่อให้นักเรียนสามารถนาทักษะการคิด วิเคราะห์ ไปประยุกต์ใช้
ในการดารงชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
๑. สามารถอ่านจับใจความสาคัญและวิเคราะห์บทเพลงที่อ่านได้
๒. สามารถวิเคราะห์และตอบคาถามจากบทเพลงที่อ่านได้ถูกต้อง
๓. สามารถทางานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้โดยมีความเป็นผู้นาหรือผู้ตามที่ดี
๔. เขียนสรุปใจความสาคัญสั้น ๆ จากบทเพลงที่อ่านได้ด้วยภาษา
ที่สละสลวย ชัดเจน
~ ๑ ~
~ 9 ~
แบบทดสอบก่อนเรียน
๑. จากบทเพลง “เราสู้” คาว่า เรา หมายถึงข้อใด
ก. เจ้าของบ้านทุกหลัง
ข. คนไทยทุกคน
ค. ทหารทุกหมู่เหล่า
ง. ชายไทยทุกคน
คาชี้แจง จงอ่านบทเพลงต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ ๑ – ๕
เพลง "เราสู้”
ทานอง : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
คาร้อง : นายสมภพ จันทรประภา
บรรพบุรุษของไทยแต่โบราณ ปกบ้านป้ องเมืองคุ้มเหย้า
เสียเลือดเสียเนื้อมิใช่เบา หน้าที่เรารักษาสืบไป
ลูกหลานเหลนโหลนภายหน้า จะได้มีพสุธาอาศัย
อนาคตจะต้องมีประเทศไทย มิยอมให้ผู้ใดมาทาลาย
ถึงขู่ฆ่าล้างโคตรก็ไม่หวั่น จะสู้กันไม่หลบหนีหาย
สู้ตรงนี้สู้ที่นี่สู้จนตาย ถึงเป็นคนสุดท้ายก็ลองดู
บ้านเมืองเราเราต้องรักษา อยากทาลายเชิญมาเราสู้
เกียรติศักดิ์ของเราเราเชิดชู เราสู้ไม่ถอยจนก้าวเดียว
ที่มา : http://www.thaipost.net/tabloid/081213/83096
~ ๒ ~
~ 10 ~
๒. นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดบรรพบุรุษของไทยจึงยอมเสียสละชีวิตของ
ตนเอง
ก. เพื่อรักษาอาคารบ้านเรือนและสิ่งก่อสร้างต่างๆ
ข. เพื่อรักษาที่ดินของตนเองไว้ให้ลูกหลาน
ค. เพื่อรักษาเกียรติยศและหน้าที่ของตนเอง
ง. เพื่อรักษาเอกราชของชาติ
๓. บทเพลง “เราสู้” แฝงคุณธรรมในข้อใด
ก. ความสามัคคี
ข. ความซื่อสัตย์
ค. ความมีน้าใจ
ง. ความรับผิดชอบ
๔. จากบทเพลง “เราสู้” ข้อใดสรุปใจความสาคัญได้เหมาะสมที่สุด
ก. ความรักความเอื้ออาทรของคนในชาติ
ข. ความรักความเมตตาของคนในชาติ
ค. ความรักความเข้มแข็งของคนในชาติ
ง. ความรักความสามัคคีของคนในชาติ
๕. “ถึงขู่ฆ่าล้างโคตรก็ไม่หวั่น จะสู้กันไม่หลบหนีหาย สู้ตรงนี้สู้ที่นี่
สู้จนตาย ถึงเป็นคนสุดท้ายก็ลองดู”
ข้อความนี้มีความหมายว่าอย่างไร
ก. แม้นมีใครมาขู่ฆ่าก็ไม่เกรงกลัวและไม่ถอยหนี
ข. แม้นครอบครัวถูกฆ่าก็ไม่เกรงกลัวจะต่อสู้จนวันตาย
ค. แม้นเหลือเพียงคนเดียวก็ไม่เกรงกลัวที่จะต่อสู้เพื่อชาติ
ง. แม้นต้องถูกฆ่าเป็นคนสุดท้ายก็ไม่หลบหนี
~ ๓ ~
~ 11 ~
จงอ่านบทเพลงต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ ๖ – ๑๐
เพลง คืนความสุขให้ประเทศไทย
เนื้อร้อง : พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา
เรียบเรียงคาร้องและทานอง : วิเชียร ตันติพิมลพันธุ์
วันที่ชาติและองค์ราชา มวลประชาอยู่มาพ้นภัย
ขอดูแลคุ้มครองด้วยใจ นี่คือคาสัญญา
วันนี้ชาติเผชิญพาลภัย ไฟลุกโชนขึ้นมาทุกครา
ขอเป็นคนที่เดินเข้ามา ไม่อาจให้สายไป
เพื่อนารักกลับมา ต้องใช้เวลาเท่าไร
โปรด จงรอได้ไหม จะข้ามผ่านความบาดหมาง
เราจะทาตามสัญญา ขอเวลาอีกไม่นาน
แล้วแผ่นดินที่งดงามจะคืนกลับมา
เราจะทาอย่างซื่อตรง ขอแค่เธอจงไว้ใจและศรัทธา
แผ่นดินจะดีในไม่ช้า ขอคืนความสุขให้เธอ ประชาชน
วันนี้ต้องเหน็ดเหนื่อยก็รู้ จะขอสู้กับอันตราย
ชาติทหารไม่ยอมแพ้พ่าย นี่คือคาสัญญา
วันนี้ชาติเผชิญพาลภัย ไฟลุกโชนขึ้นมาทุกครา
ขอเป็นคนที่เดินเข้ามา ไม่อาจให้สายไป
แผ่นดินจะดีในไม่ช้า ความสุขจะคืนกลับมา ประเทศไทย ...
ที่มา : http://music.tlcthai.com/thai_music/20946
~ ๔ ~
~ 12 ~
๖. จากบทเพลงสถานการณ์บ้านเมืองเป็นเช่นไร
ก. ประสบภัยธรรมชาติ
ข. แตกแยกขาดความสามัคคี
ค. สงบร่มเย็น
ง. เกิดสงครามกลางเมือง
๗. คุณธรรมในข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับบทเพลงข้างต้น
ก. ความสามัคคี
ข. ความซื่อสัตย์
ค. ความมัธยัสถ์
ง. ความเสียสละ
๘. “ชาติทหารไม่ยอมแพ้พ่าย นี่คือคาสัญญา”
ข้อความนี้มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. เสียชีพอย่าเสียสัตย์
ข. สละชีพเพื่อชาติ
ค. เสียน้อยเสียยากอเสียมากเสียง่าย
ง. ชาติเสือต้องไว้ลาย
๙. ข้อใดกล่าวถึงจุดประสงค์ของบทเพลงได้ถูกต้องที่สุด
ก. สร้างความรักความสามัคคีให้กับประชาชน
ข. สร้างความเชื่อมั่นความศรัทธาให้แก่ประชาชน
ค. สร้างความสุขความเพลิดเพลินให้แก่ประชาชน
ง. สร้างความงดงามให้แก่ประชาชน
~ ๕ ~
~ 13 ~
๑๐. บุคคลในบทเพลงมีลักษณะเช่นไร
ก. อ่อนน้อมถ่อมตน
ข. รักสันโดษ
ค. มุ่งมั่นเด็ดเดี่ยว
ง. ขยันอดทน
~ ๖ ~
~ 14 ~
ต่อไปนี้จะเล่าถึงอาหารอร่อย คือส้มตา
กินบ่อยๆ รสชาติแซบดี วิธีทาก็ง่าย จะบอก
ได้ต่อไปนี้.....
ทุกคนคงฟังกันอยู่เป็นประจาแล้วนะครับ
แต่น้องๆ รู้บ้างไหมครับว่า เพลง คืออะไร
แล้วเพลงมีทั้งหมดกี่ชนิด
อย่างทราบกันแล้วใช่ไหมครับ เราไป
ศึกษาหาคาตอบพร้อมๆกันเลย
ใบความรู้เรื่อง เพลง
~ ๗ ~
~ 15 ~
เพลงคืออะไร
เพลง หมายถึง ถ้อยคาที่นักประพันธ์เรียงร้อยหรือเรียบเรียงขึ้น
ซึ่งประกอบด้วย เนื้อร้อง ทานอง จังหวะ ทาให้เกิดความไพเราะสร้างความ
เพลิดเพลินให้แก่ผู้ฟัง มีคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ทั้งด้านการเลือกสรรคาที่ใช้ใน
การแต่ง การเรียบเรียงประโยค และการใช้โวหาร เพลงนั้นอาจให้ข้อคิดแก่ผู้ฟัง
ในการดาเนินชีวิตด้วยสาเนียงขับร้อง ทานองดนตรี กระบวนวิธีราระบา โดยเพลง
สร้างสรรค์จากเครื่องดนตรีหรือการขับร้อง
ในที่นี้จะกล่าวถึงเพลงเพียง ๓ ประเภท คือ
เพลงเพื่อชีวิต แต่แรกเริ่มหมายถึงเพลงที่มีเนื้อหากล่าวถึงชีวิตของคน
โดยเฉพาะคนชนชั้นล่าง กล่าวถึงความยากลาบากในการใช้ชีวิต การถูกเอารัดเอา
เปรียบ เพลงในแนวเพื่อชีวิตในยุคนี้โดยมากจะเป็นเพลงลูกทุ่ง
เพลงไทยสากล เป็นเพลงที่ขับร้องในภาษาไทย โดยเริ่มจากนาทานองไทย
เดิมใส่เนื้อร้องบรรเลงและขับร้อง โดยใช้มาตรฐานของโน้ตเพลงแบบสากล จน
เป็นเพลงไทยแนวใหม่ โดยตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๗๖ มีละครเวที ละครวิทยุ และ
ภาพยนตร์ไทย มีบทบาทสาคัญทาให้เพลงไทยสากลได้รับความนิยม
เพลงไทยลูกทุ่ง หมายถึง เพลงที่สะท้อนวิถีชีวิต สภาพสังคมอุดมคติและ
วัฒนธรรมไทย โดยมีท่วงทานอง คาร้อง สาเนียง และลีลาการร้องการบรรเลง
ที่เป็นแบบแผน มีลักษณะเฉพาะซึ่งให้บรรยากาศ ความเป็นลูกทุ่ง
ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki
~ ๘ ~
~ 16 ~
คุณค่าของเพลง
เพลงเป็นสื่อปรุงแต่งอารมณ์ ความรู้สึกของมนุษย์ตั้งแต่แรกเกิด บทเพลงที่
มีคุณค่าย่อมสามารถช่วยปรุงแต่งนิสัยของมนุษย์ และพามนุษย์ให้ดาเนินไปตาม
ครรลองที่ถูกต้อง
เพลงเป็นสื่อที่ดีและมีประสิทธิภาพ ช่วยทาให้เด็กมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนการ
สอน เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน เรียนรู้ได้อย่างมีความสุข ได้รับความรู้
ความสามารถอย่าง ครอบคลุมด้วยเนื้อหาสาระของเพลง ทั้งทางตรง และ
ทางอ้อม เด็กที่ชอบร้องเพลง และจาเนื้อเพลงได้มาก ย่อมสามารถนาความรู้หรือ
ประสบการณ์ที่ได้รับไปปรับประยุกต์ใช้ได้ตลอดชีวิต คติสอนใจ และแง่คิดที่แฝง
อยู่ในบทเพลงประกอบกับท่วงทานอง และจังหวะของเพลง จะช่วยกล่อมเกลา
จิตใจ และอารมณ์ของเด็กให้โน้มเอียงมาในทางฝ่ายดี ทาให้เขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่
ที่ดีได้ต่อไปในอนาคต
ที่มา : https://www.gotoknow.org/posts/122931
~ ๙ ~
~ 17 ~
แบบฝึกทักษะที่ ๑
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ประเภทเพลง : เพลงเพื่อชีวิต คาร้อง : พงษ์สิทธิ์ คัมภีร์
ทานอง : โซล (SOUL)
สายลมหนาวพัดโบกโบยพลิ้ว
ดูแล้วสวยใสๆ เย็นลมเย็นไหวๆ สวยงาม
บ้านอยู่ไกลทุรกันดารโรงเรียนอยู่หลังเขา
มีแต่เราพวกเราไม่มีใคร
* ยามร้อนแสนร้อน ยามหนาวก็หนาวถึงใจ
ไม่มีผ้าห่มคลุม.... กาย
โรงเรียนมีครูหนึ่งคน ครูผู้เสียสละตน
อดทนอยู่ห่างไกลความสบาย
ใช่จะวอนให้เห็นใจ ความสานึกต่อเพื่อนไทย
ไทยกับไทยใยแตกต่างกัน
** โรงเรียนของหนูอยู่ไกล ไกล๋ ไกล..
อยากให้คุณๆ หันมอง โรงเรียนของหนู
ซ้า (*, **)
ที่มา : http://www.likemax.com/song/?id=420
เนื้อเพลง โรงเรียนของหนู
~ ๑๐ ~
~ 18 ~
กระดาษคาตอบแบบฝึกทักษะที่ ๑
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่..........
คาชี้แจง : ให้นักเรียนจับคู่ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อเพลงกับข้อความที่กาหนดให้
๑. “ยามร้อนแสนร้อน ยามหนาวก็หนาวถึงใจ ไม่มีผ้าห่มคลุม.... กาย”
สะท้อนปัญหาเรื่องใด....................................................................................
๒. “โรงเรียนมีครูหนึ่งคน ครูผู้เสียสละตน อดทนอยู่ห่างไกลความสบาย”
สะท้อนปัญหาเรื่องใด....................................................................................
๓. “บ้านอยู่ไกลทุรกันดารโรงเรียนอยู่หลังเขา มีแต่เราพวกเราไม่มีใคร”
สะท้อนปัญหาเรื่องใด....................................................................................
๔. “ใช่จะวอนให้เห็นใจ ความสานึกต่อเพื่อนไทย ไทยกับไทยแตกต่างกัน”
สะท้อนปัญหาเรื่องใด....................................................................................
๕. ใจความสาคัญของเพลง “โรงเรียนของหนู” สะท้อนปัญหาเรื่องใด
....................................................................................................................
..
ความยากจน ขาดบุคลากร การคมนาคม
จิตสาธารณะ การศึกษา ครอบครัว
~ ๑๑ ~
~ 19 ~
แบบฝึกทักษะที่ ๒
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ประเภทเพลง : เพลงไทยสากล คาร้อง : สุทธิพงษ์ สมบัติจินดา
ทานอง : วุฒิชัย สมบัติจินดา เรียบเรียง : อนุชา อรรจนาวัฒน์
น่า นา นา น๊า นา น๊า นา น่า นา น่า นา นา น๊า นา น๊า นา น่า นา
คุณครูสั่งให้เขียน เรียงความเรื่องแม่ฉัน บอกให้ส่งให้ทันวันพรุ่งนี้
มันยากจังทาไม่ไหว หนูแม่ไม่มี แล้วจะเขียนให้ดียังไง
* เป็นห่วงก็ไม่รู้ ดูแลก็ไม่คุ้น กอดแม่อุ่นจริงๆ มันจริงไหม
พร้อมหน้ากันทานอาหาร เคยมีแค่ฝันไป ไม่มีเพลงกล่อมใดไม่มี
** ห่มผ้าไม่เคยอุ่นเลย กอดหมอนไม่เคยอุ่นใจ
นอนหลับไปอย่างเดียวดายทุกที ไม่มีอะไรจะเขียน ให้ครูได้อ่านพรุ่งนี้
บนหน้ากระดาษก็เลอะน้าตา
*** ถ้าแม่ฟังอยู่ไม่ว่าแม่อยู่ไหน ไม่ว่าแม่เป็นใคร ช่วยส่งรักกลับมา
ถ้าแม่ฟังอยู่คิดถึงหนูหน่อยหนา หนูขอสัญญาว่า หนูจะเป็นเด็กดี
(ซ้า * , ** , ***)
ที่มา : http://www.thailyrics.com/lyric/thai/lyric.asp?id=2755
เนื้อเพลง เรียงความเรื่องแม่
~ ๑๒ ~
~ 20 ~
กระดาษคาตอบแบบฝึกทักษะที่ ๒
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่..........
คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนภาพโครงเรื่องจากเพลง “เรียงความเรื่องแม่”
ใคร/อะไร : ........................................................................
ที่ไหน : .............................................................................
เหตุการณ์ที่ ๑ : .....................................................................
...............................................................................................
เหตุการณ์ที่ ๒ : ....................................................................
...............................................................................................
เหตุการณ์ที่ ๓ : .....................................................................
...............................................................................................
ผลสรุป : ...............................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
ข้อคิดที่ได้ : ...........................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
.
~ ๑๓ ~
~ 21 ~
แบบฝึกทักษะที่ ๓
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ประเภทเพลง : เพลงไทยสากล คาร้อง,ทานอง : วิเชียร ดุรงค์ศักดิ์
สุโขทัย นี้ดีหนักหนา ในน้ามีปลา ในนามีข้าว
พ่อขุนบางกลางท่าว ปฐมกษัตริย์เจ้า สร้างไทยให้เราเกรียงไกร
วีรบุรุษของชาติ รามคาแหงมหาราช ยอดนักปราชญ์ลือชัย
เป็นยอดขุนพลยิ่งใหญ่ สร้างหลักอักษรไทย ยอดภูวนัย จอมปฐพี
ศิลาจารึกวัดศรีชุม แหล่งขุมประวัติศาสตร์ พิลาศเด่นเป็นสักขี
มีรอยพระพุทธบาท มหาธาตุเจดีย์ ด้วยบารมีเกริกฟ้ า
* นพมาศนวลอนงค์ สร้างพิธีลอยกระทง ด้วยจิตประสงค์ศรัทธา
พระแท่นมนังคศิลา คือศาลอาญา เป็นที่ใฝ่หาความยุติธรรม
ยามแสงอรุณเบิกฟ้ า ใครใคร่ ค้า ช้าง ม้า ค้า
ใคร่ทาไร่ ทานา ทา แผ่นดินแผ่นฟ้ าชุ่มฉ่า
ทรัพย์ในดินสินในน้า อุดมเลิศล้าสุโขทัย
(ซ้า * )
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=nGV9EocRCoA
เนื้อเพลง เพลงสุโขทัย
~ ๑๔ ~
~ 22 ~
กระดาษคาตอบแบบฝึกทักษะที่ ๓
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่..........
คาชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาของเพลงแล้วตอบคาถามต่อไปนี้
ชื่อเพลง....................................................................................................
ใจความสาคัญของเพลง คือ
.................................................................................................................
.................................................................................................................
ข้อความใดสะท้อนถึงระบบเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย
.................................................................................................................
.................................................................................................................
.................................................................................................................
บอกความรู้ที่ได้จากเพลง อย่างน้อย ๓ ข้อ
.................................................................................................................
.................................................................................................................
.................................................................................................................
.................................................................................................................
~ ๑๕ ~
~ 23 ~
แบบฝึกทักษะที่ ๔
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ประเภทเพลง : เพลงเพื่อชีวิต คาร้อง,ทานอง : อี๊ด ฟุตบาท
อ่านคาบรรยายจดหมายถึงพ่อ หนูยังรอวันพ่อกลับบ้าน
กล้ามะละกอที่พ่อเคยหว่าน แยกปลูกไม่นาน ลูกโตน่าดู
* กระถินริมรั้วสูงขึ้นเลยบ่า พุ่มกระดังงาเลื้อยซุ้มประตู
ทานตะวันชูคอชูช่อรออยู่ คงชะเง้อดูคอยพ่อกลับมา
แม่อธิบายที่พ่อไปทางาน เพื่อเงิน เพื่อบ้าน และเพื่อลูกยา
จะมีบ้านโตมีรถโก้สง่า มีหน้ามีตาเหมือนดังใครๆ
พ่อไปคราวนี้แม้จะยาวนาน พวกเราทางบ้านเป็นกาลังใจ
แต่บางคืนแม่สะอื้นร้องไห้ หนูแกล้งทาหลับไปสงสารแม่จัง
ส่วนน้องหญิงยิ่งยามเย็นค่า อ้อนประจาเหตุผลไม่ฟัง
ไม่เอาบ้านโตไม่เอาทุกอย่าง จะเอาขี่หลังของพ่อคนเดียว
(ซ้า *)
สุดท้ายนี้ขออวยพรให้พ่ออยู่แดนไกล หัวใจเด็ดเดี่ยว
ขอพระคุ้มครองยามใจห่อเหี่ยว ปกป้ องแลเหลียวร่ารวยกลับมา
(ซ้า *,*,*)
ที่มา : http://www.musicatm.com/thai
เนื้อเพลง จดหมายถึงพ่อ
~ ๑๖ ~
~ 24 ~
กระดาษคาตอบแบบฝึกทักษะที่ ๔
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่..........
คาชี้แจง : ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่เป็นจริง
และทาเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่เป็นเท็จ
๑. บทเพลงสะท้อนให้เห็นถึงความสุขสบายของครอบครัว
๒. ครอบครัวเป็นสถาบันพื้นฐานที่มีสาคัญต่อการพัฒนาสังคม
๓. พ่อจากไปเพื่อซื้อบ้านและรถโก้หรูให้กับครอบครัว
๔. “บ้าน”เป็นหนึ่งในปัจจัยพื้นฐานของการดารงชีวิต
๕. ความรักและความเข้าใจของคนในครอบครัวเป็นสิ่งสาคัญ
๖. บทเพลงสะท้อนให้เห็นถึงหลักความเชื่อและศาสนา
๗. เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในครอบครัวของคนสังคมเมือง
๘. ปัญหาด้านเศรษฐกิจส่งผลกระทบต่อสถาบันครอบครัว
๙. เพลงได้สะท้อนอารมณ์ของการรอคอยที่มีความหวังของลูก
๑๐. “กระดังงา” เป็นไม้เลื้อยชนิดหนึ่งที่นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
~ ๑๗ ~
~ 25 ~
แบบฝึกทักษะที่ ๕
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ประเภทเพลง : เพลงไทยลูกทุ่ง คาร้อง,ทานอง : พงษ์ศักดิ์ ถนอมใจ
เรียบเรียง : ปาริวัฒน์ สุวรรณชัย
นานเท่าไรที่ฉันต้องคอย ทาดีกับความเฉยชา
นานเท่าไรที่ความห่วงหา ไม่มีค่าอะไร หรือว่าฉันดีไม่พอ
หรือเป็นเพราะเธอรอใคร ทาไม ทาไมไม่รักกันบ้าง
สิ่งที่เธอให้คืนกลับมา ก็มีแค่ความว่างเปล่า
อยู่ใกล้เธอทุกทีก็เหงา ใกล้กันเหมือนยิ่งห่าง
และสุดท้ายคือต้องยอม บอกใจให้ยอมปล่อยวาง
เพราะฉัน เหนื่อยแล้วกับการทุ่มเท
* เมื่อใจเธอเหมือนดังทะเล ความรักฉันเหมือนกับฝน
ทาดีสักกี่หน ก็เหมือนฝนตกในทะเล เธอไม่เคยรู้สึกอะไร
ฉันฝันไปเองทั้งเพ พอเถอะพอ ยิ่งฝืนไปต่อยิ่งเสียใจ
คนไม่รักก็คือไม่รัก ไม่เคยเปลี่ยนมารักกัน
รอเฝ้ ารอยิ่งรอยิ่งนาน ฉันมันก็ไม่ไหว คนที่รักเธอข้างเดียว
รู้ไหมว่ามันเหนื่อยใจ หนักเกิน ที่ได้แต่คอยทุ่มเท
(ซ้า*,*,*)
ที่มา : http://music.tlcthai.com/country_music/330
เนื้อเพลง ฝนตกในทะเล
~ ๑๘ ~
~ 26 ~
กระดาษคาตอบแบบฝึกทักษะที่ ๕
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่..........
คาชี้แจง : ให้นักเรียนยกตัวอย่างสานวนสุภาษิตที่มีความหมายสอดคล้องกับ
เพลง “ฝนตกในทะเล”
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
~ ๑๙ ~
~ 27 ~
แบบทดสอบหลังเรียน
คาชี้แจง จงอ่านบทเพลงต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ ๑ – ๕
เพลง คืนความสุขให้ประเทศไทย
เนื้อร้อง : พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา
เรียบเรียงคาร้องและทานอง : วิเชียร ตันติพิมลพันธุ์
วันที่ชาติและองค์ราชา มวลประชาอยู่มาพ้นภัย
ขอดูแลคุ้มครองด้วยใจ นี่คือคาสัญญา
วันนี้ชาติเผชิญพาลภัย ไฟลุกโชนขึ้นมาทุกครา
ขอเป็นคนที่เดินเข้ามา ไม่อาจให้สายไป
เพื่อนารักกลับมา ต้องใช้เวลาเท่าไร
โปรด จงรอได้ไหม จะข้ามผ่านความบาดหมาง
เราจะทาตามสัญญา ขอเวลาอีกไม่นาน
แล้วแผ่นดินที่งดงามจะคืนกลับมา
เราจะทาอย่างซื่อตรง ขอแค่เธอจงไว้ใจและศรัทธา
แผ่นดินจะดีในไม่ช้า ขอคืนความสุขให้เธอ ประชาชน
วันนี้ต้องเหน็ดเหนื่อยก็รู้ จะขอสู้กับอันตราย
ชาติทหารไม่ยอมแพ้พ่าย นี่คือคาสัญญา
วันนี้ชาติเผชิญพาลภัย ไฟลุกโชนขึ้นมาทุกครา
ขอเป็นคนที่เดินเข้ามา ไม่อาจให้สายไป
แผ่นดินจะดีในไม่ช้า ความสุขจะคืนกลับมา ประเทศไทย ...
ที่มา : http://music.tlcthai.com/thai_music/20946
~ ๒๐ ~
~ 28 ~
๑. บุคคลในบทเพลงมีลักษณะเช่นไร
ก. อ่อนน้อมถ่อมตน
ข. รักสันโดษ
ค. มุ่งมั่นเด็ดเดี่ยว
ง. ขยันอดทน
๒. “ชาติทหารไม่ยอมแพ้พ่าย นี่คือคาสัญญา”
ข้อความนี้มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. เสียชีพอย่าเสียสัตย์
ข. สละชีพเพื่อชาติ
ค. เสียน้อยเสียยากอเสียมากเสียง่าย
ง. ชาติเสือต้องไว้ลาย
๓. จากบทเพลงสถานการณ์บ้านเมืองเป็นเช่นไร
ก. ประสบภัยธรรมชาติ
ข. แตกแยกขาดความสามัคคี
ค. สงบร่มเย็น
ง. เกิดสงครามกลางเมือง
๔. ข้อใดกล่าวถึงจุดประสงค์ของบทเพลงได้ถูกต้องที่สุด
ก. สร้างความรักความสามัคคีให้กับประชาชน
ข. สร้างความเชื่อมั่นความศรัทธาให้แก่ประชาชน
ค. สร้างความสุขความเพลิดเพลินให้แก่ประชาชน
ง. สร้างความงดงามให้แก่ประชาชน
~ ๒๑ ~
~ 29 ~
๕. คุณธรรมในข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับบทเพลงข้างต้น
ก. ความสามัคคี
ข. ความซื่อสัตย์
ค. ความมัธยัสถ์
ง. ความเสียสละ
เพลง "เราสู้”
ทานอง : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
คาร้อง : นายสมภพ จันทรประภา
บรรพบุรุษของไทยแต่โบราณ ปกบ้านป้ องเมืองคุ้มเหย้า
เสียเลือดเสียเนื้อมิใช่เบา หน้าที่เรารักษาสืบไป
ลูกหลานเหลนโหลนภายหน้า จะได้มีพสุธาอาศัย
อนาคตจะต้องมีประเทศไทย มิยอมให้ผู้ใดมาทาลาย
ถึงขู่ฆ่าล้างโคตรก็ไม่หวั่น จะสู้กันไม่หลบหนีหาย
สู้ตรงนี้สู้ที่นี่สู้จนตาย ถึงเป็นคนสุดท้ายก็ลองดู
บ้านเมืองเราเราต้องรักษา อยากทาลายเชิญมาเราสู้
เกียรติศักดิ์ของเราเราเชิดชู เราสู้ไม่ถอยจนก้าวเดียว
ที่มา : http://www.thaipost.net/tabloid/081213/83096
จงอ่านบทเพลงต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ ๖ – ๑๐
~ ๒๒ ~
~ 30 ~
๖. บทเพลง “เราสู้” แฝงคุณธรรมในข้อใด
ก. ความสามัคคี
ข. ความซื่อสัตย์
ค. ความมีน้าใจ
ง. ความรับผิดชอบ
๗. “ถึงขู่ฆ่าล้างโคตรก็ไม่หวั่น จะสู้กันไม่หลบหนีหาย สู้ตรงนี้สู้ที่นี่
สู้จนตาย ถึงเป็นคนสุดท้ายก็ลองดู”
ข้อความนี้มีความหมายว่าอย่างไร
ก. แม้นมีใครมาขู่ฆ่าก็ไม่เกรงกลัวและไม่ถอยหนี
ข. แม้นครอบครัวถูกฆ่าก็ไม่เกรงกลัวจะต่อสู้จนวันตาย
ค. แม้นเหลือเพียงคนเดียวก็ไม่เกรงกลัวที่จะต่อสู้เพื่อชาติ
ง. แม้นต้องถูกฆ่าเป็นคนสุดท้ายก็ไม่หลบหนี
๘ นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดบรรพบุรุษของไทยจึงยอมเสียสละชีวิตของ
ตนเอง
ก. เพื่อรักษาอาคารบ้านเรือนและสิ่งก่อสร้างต่างๆ
ข. เพื่อรักษาที่ดินของตนเองไว้ให้ลูกหลาน
ค. เพื่อรักษาเกียรติยศและหน้าที่ของตนเอง
ง. เพื่อรักษาเอกราชของชาติ
๙. จากบทเพลง “เราสู้” คาว่า เรา หมายถึงข้อใด
ก. เจ้าของบ้านทุกหลัง
ข. คนไทยทุกคน
ค. ทหารทุกหมู่เหล่า
ง. ชายไทยทุกคน
~ ๒๓ ~
~ 31 ~
๑๐. จากบทเพลง “เราสู้” ข้อใดสรุปใจความสาคัญได้เหมาะสมที่สุด
ก. ความรักความเอื้ออาทรของคนในชาติ
ข. ความรักความเมตตาของคนในชาติ
ค. ความรักความเข้มแข็งของคนในชาติ
ง. ความรักความสามัคคีของคนในชาติ
~ ๒๔ ~
~ 32 ~
กระดาษคาตอบ
ชื่อ.....................................................................ชั้น...................เลขที่...........
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ข้อ ก ข ค ง
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
~ ๒๕ ~
~ 33 ~
ภาคผนวก
~ ๒๖ ~
~ 34 ~
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ข้อที่ ก่อนเรียน
๑ ข
๒ ง
๓ ก
๔ ง
๕ ค
๖ ข
๗ ค
๘ ก
๙ ข
๑๐ ค
~ ๒๗ ~
~ 35 ~
แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๑
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่..........
คาชี้แจง : ให้นักเรียนจับคู่ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อเพลงกับข้อความที่กาหนดให้
๑. “ยามร้อนแสนร้อน ยามหนาวก็หนาวถึงใจ ไม่มีผ้าห่มคลุม.... กาย”
สะท้อนปัญหาเรื่องใด..........ปัญหาเศรษฐกิจ................................................
๒. “โรงเรียนมีครูหนึ่งคน ครูผู้เสียสละตน อดทนอยู่ห่างไกลความสบาย”
สะท้อนปัญหาเรื่องใด...........ปัญหาด้านบุคลากร..........................................
๓. “บ้านอยู่ไกลทุรกันดารโรงเรียนอยู่หลังเขา มีแต่เราพวกเราไม่มีใคร”
สะท้อนปัญหาเรื่องใด.............ปัญหาการคมนาคม........................................
๔. “ใช่จะวอนให้เห็นใจ ความสานึกต่อเพื่อนไทย ไทยกับไทยแตกต่างกัน”
สะท้อนปัญหาเรื่องใด.............จิตสาธารณะ...................................................
๕. ใจความสาคัญของเพลง “โรงเรียนของหนู” สะท้อนปัญหาเรื่องใด
....................................การศึกษา................................................................
ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาด้านบุคลากร ปัญหาการคมนาคม
จิตสาธารณะ การศึกษา ครอบครัว
~ ๒๘ ~
~ 36 ~
แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๒
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่..........
คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนภาพโครงเรื่องจากเพลง “เรียงความเรื่องแม่”
ใคร/อะไร : .......เด็กกาพร้า................................................
ที่ไหน : .............สถานเลี้ยงเด็กกาพร้า...............................
เหตุการณ์ที่ ๑ : ....คุณครูให้นักเรียนเขียนเรียงความวันแม่..
...............................................................................................
เหตุการณ์ที่ ๒ : ...นักเรียนไม่สามารถเขียนเรียงความได้
เนื่องจากไม่มีแม่.................................................................
เหตุการณ์ที่ ๓ : ..นักเรียนอยากมีแม่เหมือนเช่นคนอื่น ๆ....
...............................................................................................
ผลสรุป : ..คนที่มีแม่คอยมอบความรัก คอยดูแลเอใจใส่
นับได้ว่าเป็นสิ่งที่โชคดี.........................................................
...............................................................................................
ข้อคิดที่ได้ : ...เราควรดูแลและเชื้อฟังคาสั่งสอนของพ่อแม่
ตั้งแต่ตอนที่ท่านยังอยู่กับเรา...............................................
...............................................................................................
...............................................................................................
.
~ ๒๙ ~
~ 37 ~
แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๓
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่..........
คาชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาของเพลงแล้วตอบคาถามต่อไปนี้
ชื่อเพลง......เพลงสุโขทัย..........................................................................
ใจความสาคัญของเพลง คือ
.......จังหวัดสุโขทัยเป็นดินแดนแห่งความอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งกาเนิด
อารยธรรมต่างๆ ทางประวัติศาสตร์....................................................
.................................................................................................................
ข้อความใดสะท้อนถึงระบบเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย
........ยามรัชนีเบิกฟ้ า ใครใคร่ ค้า ช้าง ม้า ค้า ใคร่ทาไร่ ทานา ทา
..................................................................................................................
บอกความรู้ที่ได้จากเพลง อย่างน้อย ๓ ข้อ
.................................................................................................................
.....................ขึ้นอยู่ที่ดุลยพินิจของผู้ตรวจ...............................................
.................................................................................................................
.................................................................................................................
~ ๓๐ ~
~ 38 ~
แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๔
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่..........
คาชี้แจง : ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่เป็นจริง
และทาเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่เป็นเท็จ
X ๑. บทเพลงสะท้อนให้เห็นถึงความสุขสบายของครอบครัว
/ ๒. ครอบครัวเป็นสถาบันพื้นฐานที่มีสาคัญต่อการพัฒนาสังคม
X ๓. พ่อจากไปเพื่อซื้อบ้านและรถโก้หรูให้กับครอบครัว
/ ๔. “บ้าน”เป็นหนึ่งในปัจจัยพื้นฐานของการดารงชีวิต
/ ๕. ความรักและความเข้าใจของคนในครอบครัวเป็นสิ่งสาคัญ
/ ๖. บทเพลงสะท้อนให้เห็นถึงหลักความเชื่อและศาสนา
X ๗. เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในครอบครัวของคนสังคมเมือง
/ ๘. ปัญหาด้านเศรษฐกิจส่งผลกระทบต่อสถาบันครอบครัว
/ ๙. เพลงได้สะท้อนอารมณ์ของการรอคอยที่มีความหวังของลูก
/ ๑๐. “กระดังงา” เป็นไม้เลื้อยชนิดหนึ่งที่นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
~ ๓๑ ~
~ 39 ~
แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๕
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่..........
คาชี้แจง : ให้นักเรียนยกตัวอย่างคาประพันธ์ที่มีความหมายสอดคล้องกับ
เพลง “ฝนตกในทะเล”
...................................................................................................
.......ตาน้าพริกละลายแม่น้า เพราะ ลงทุนลงแรงทาดีมากมาย
แต่ไม่ได้รับผลประโยชน์อะไรตอบแทน........................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
..................(อยู่ที่ดุลยพินิจของคุณครูผู้ตรวจ).................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
~ ๓๒ ~
~ 40 ~
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
ข้อที่ หลังเรียน
๑ ค
๒ ก
๓ ข
๔ ข
๕ ค
๖ ก
๗ ค
๘ ง
๙ ข
๑๐ ง
~ ๓๓ ~
~ 41 ~
แบบประเมินการทางานกลุ่ม
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
คาชี้แจง : ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนและให้คะแนนตามเกณฑ์การให้
คะแนนที่ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียน
เลขที่
ชื่อ – สกุล
ความสามัคคี
การรับฟังความคิดเห็น
ความตั้งใจทางาน
ทาเสร็จตามเวลา
รวมคะแนน
๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
รวมคะแนนทั้งหมด
เฉลี่ย
ร้อยละ
~ ๓๔ ~
~ 42 ~
เกณฑ์การประเมิน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ ๒ คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ ๑ คะแนน
หมายเหตุ ผู้ผ่านการประเมินต้องผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ๑๐ – ๑๒ หมายถึง ดี
ช่วงคะแนน ๖ – ๙ หมายถึง พอใช้
ช่วงคะแนน ต่ากว่า ๖ หมายถึง ปรับปรุง
ลงชื่อ ...................................................ผู้ประเมิน
( นางสาวศิลาวรรณ เลื่อนลอย )
ครูชานาญการโรงเรียนวัดบ้านกรุ
~ ๓๕ ~
~ 43 ~
รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการทางานกลุ่ม
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
๓ ๒ ๑
๑. ความสามัคคี สมาชิกทุกคนใน
กลุ่มมีส่วนร่วม และ
ให้ความร่วมมือเป็น
อย่างดี
ร้อยละ ๖๐ของ
สมาชิกในกลุ่มมี
ส่วนร่วม และให้
ความร่วมมือ
ร้อยละ ๔๐ของ
สมาชิกในกลุ่มมี
ส่วนร่วม และให้
ความร่วมมือ
๒. การยอมรับฟัง
ความคิดเห็น
สมาชิกทุกคน
ในกลุ่มมีการ
แลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นเพื่อการ
เรียนรู้ระหว่างกัน
ร้อยละ ๖๐ของ
สมาชิกในกลุ่มมี
การแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น
ร้อยละ ๔๐ของ
สมาชิกในกลุ่มมี
การแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น
๓. ความตั้งใจทางาน สมาชิกทุกคนใน
กลุ่มมีหน้าที่และ
ความรับผิดชอบ
ต่อหน้าที่ของตน
สมาชิกทุกคนใน
กลุ่มมีหน้าที่แต่ไม่
รับผิดชอบ ๑ คน
สมาชิกทุกคนใน
กลุ่มมีหน้าที่แต่ไม่
รับผิดชอบ ๒ คน
๔. ทางานเสร็จทันเวลา ทางานเสร็จทัน
เวลาที่กาหนด
และผลงานมี
คุณภาพ
ทางานเสร็จไม่ทัน
เวลาที่กาหนด
แต่ผลงานมี
คุณภาพ
ทางานเสร็จไม่ทัน
เวลาที่กาหนด
และผลงานไม่มี
คุณภาพ
~ ๓๖ ~
~ 44 ~
แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
คาชี้แจง : ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนและให้คะแนนตามเกณฑ์การให้
คะแนนที่ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียน
เลขที่
ชื่อ – สกุล
เสียสละมีน้าใจ
รู้หน้าที่ตรงต่อเวลา
ขยันอดทนสนใจเรียน
ซื่อสัตย์
รวมคะแนน
๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
รวมคะแนนทั้งหมด
เฉลี่ย
ร้อยละ
~ ๓๗ ~
~ 45 ~
เกณฑ์การประเมิน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ ๒ คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ ๑ คะแนน
หมายเหตุ ผู้ผ่านการประเมินต้องผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ๑๐ – ๑๒ หมายถึง ดี
ช่วงคะแนน ๖ – ๙ หมายถึง พอใช้
ช่วงคะแนน ต่ากว่า ๖ หมายถึง ปรับปรุง
ลงชื่อ ...................................................ผู้ประเมิน
( นางสาวศิลาวรรณ เลื่อนลอย )
ครูชานาญการโรงเรียนวัดบ้านกรุ
~ ๓๘ ~
~ 46 ~
รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน
แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
๓ ๒ ๑
๑. เสียสละ มีน้าใจ เข้าร่วมกิจกรรมที่
เป็นประโยชน์ทั้งต่อ
ตนเองและต่อส่วน
รวมด้วยความเต็มใจ
สม่าเสมอ
เข้าร่วมกิจกรรม
ที่เป็นประโยชน์
ทั้งต่อตนเองและ
ต่อส่วนรวมเป็น
ส่วนใหญ่
เข้าร่วมกิจกรรม
ที่เป็นประโยชน์
ทั้งต่อตนเองและ
ต่อส่วนรวมเป็น
บางครั้ง
๒. รู้หน้าที่ ตรงต่อเวลา มีความมุ่งมั่นในการ
ปฏิบัติงานที่ได้รับ
มอบหมายและ
ผลงานเสร็จทันเวลา
มีความมุ่งมั่นใน
การปฏิบัติงาน
แต่เสร็จไม่
ทันเวลา
ขาดความมุ่งมั่น
ในการปฏิบัติงาน
และเสร็จไม่
ทันเวลา
๓. ขยัน อดทน
สนใจเรียน
เอาใจใส่การเรียน
และมีความเพียร
พยายามในการ
เรียนรู้อย่าง
สม่าเสมอ
เอาใจใส่การเรียน
และมีความเพียร
พยายามในการ
เรียนรู้เป็นส่วน
ใหญ่
ขาดการเอาใจใส่
การเรียนและขาด
ความเพียร
พยายามในการ
เรียนรู้
๔. ซื่อสัตย์ มีวินัย ประพฤติตนเป็น
แบบอย่างที่ ไม่สร้าง
ความเดือนร้อนให้แก่
ตนเองและส่วนรวม
สม่าเสมอ
ประพฤติตนเป็น
แบบอย่างที่ดี ไม่
สร้างความเดือน
ร้อนให้แก่ตนเอง
และส่วนรวมเป็น
ส่วนใหญ่
ประพฤติตนเป็น
แบบอย่างที่ดี
สร้างความเดือน
ร้อนให้แก่ตนเอง
หรือส่วนรวมบ้าง
บางครั้ง
~ ๓๙ ~
~ 47 ~
แบบประเมินการตรวจผลงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
คาชี้แจง : ผู้สอนตรวจผลงานของนักเรียนและให้คะแนนนักเรียนตาม
ความสามารถที่ได้รับมอบหมาย
เลขที่
ชื่อ – สกุล
รายการประเมิน
แบบฝึกที่๑
แบบฝึกที่๒แบบฝึกที่๒
แบบฝึกที่๓
แบบฝึกที่๔
แบบฝึกที่๕
รวมคะแนน
๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๒๕
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
รวมคะแนนทั้งหมด
เฉลี่ย
ร้อยละ
~ ๔๐ ~
~ 48 ~
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ผ่านการประเมินต้องผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ๒๐ – ๒๕ หมายถึง ดี
ช่วงคะแนน ๑๓ – ๑๙ หมายถึง พอใช้
ช่วงคะแนน ต่ากว่า ๑๓ หมายถึง ปรับปรุง
ลงชื่อ ...................................................ผู้ประเมิน
( นางสาวศิลาวรรณ เลื่อนลอย )
ครูชานาญการโรงเรียนวัดบ้านกรุ
~ ๔๑ ~
~ 49 ~
แบบบันทึกคะแนนวัดผลก่อนเรียนและหลังเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง
เลขที่
ชื่อ – สกุล
ก่อนเรียน หลังเรียน ผลต่าง
๑๐ ๑๐
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
รวมคะแนนทั้งหมด
เฉลี่ย
ร้อยละ
ลงชื่อ ...................................................ผู้ประเมิน
( นางสาวศิลาวรรณ เลื่อนลอย )
ครูชานาญการโรงเรียนวัดบ้านกรุ
~ ๔๒ ~
~ 50 ~
บรรณานุกรม
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.(๒๕๔๖). กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน.
(แจกครั้งที่๓).กรุงเทพฯ : พิมพ์โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กฤษณา เกตุทอง.(๒๕๕๗). แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและเขียนสะกดคา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับผู้เรียนที่ต้องการพัฒนา
การอ่านและเขียนสะกดคา เล่ม ๑. พิษณุโลก : โรงพิมพ์ บั๊วกราฟฟิค.
---------------------. (๒๕๕๘). หนังสือเสริมทักษะ เล่ม ๒ การอ่านสะกดคา
และแจกลูก. ม.ป.ท. : บริษัท แพนด้า พริ้นติ้ง จากัด.
สานักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.(๒๕๕๔). แนวทางการพัฒนาและ
ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
---------------------.(๒๕๕๘). คู่มือการเรียนการสอน การอ่าน คิดวิเคราะห์
ตามแนวทางประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA).
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
~ ๔๓ ~

More Related Content

What's hot

เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์Supaporn Khiewwan
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3Khunnawang Khunnawang
 
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้bn k
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2Aunop Nop
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 

What's hot (20)

เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
 
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4
 
แบบฝึกทักษะ 4.pdf new
แบบฝึกทักษะ 4.pdf newแบบฝึกทักษะ 4.pdf new
แบบฝึกทักษะ 4.pdf new
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
 

Similar to นวัตกรรม

แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1krumildsarakam25
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55Yatphirun Phuangsuwan
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยBoonlert Aroonpiboon
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยtuksin namwong
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยtuksin namwong
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2teerachon
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8 khomkrit2511
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ nongnoch
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 

Similar to นวัตกรรม (20)

2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
10
1010
10
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทย
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทย
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 

นวัตกรรม

  • 2. ~ 2 ~ คานา แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความ โดยใช้การเรียนรู้แบบกระบวนการ กลุ่มร่วมมือแบบเทคนิคเอส ที เอ ดี (STAD)สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการฝึกทักษะด้าน การอ่านจับใจความสาคัญ โดยใช้การเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่มร่วมมือแบบ เทคนิคเอส ที เอ ดี ซึ่งจะทาให้นักเรียนสามารถอ่านจับใจความสาคัญจากงาน เขียนได้อย่างถูกต้อง เสริมสร้างกระบวนการทางานเป็นกลุ่ม และนักเรียนสามารถ อ่านแล้วนาความรู้ ความคิด และประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ทั้ง ด้านการเรียนและการนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ขณะเดียวกันก็ยังทาให้ นักเรียนมีความสุข สนุกสนาน เพลิดเพลิน เสริมสร้างนิสัยรักการอ่าน และมีความ ภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง นอกจากนักเรียนจะได้นาไปฝึกทักษะแล้ว ครูผู้สอนยังสามารถนาไปใช้ทบทวนเนื้อหาที่นักเรียนได้เรียนไปแล้ว และยัง สามารถนาไปใช้สอนซ่อมเสริมให้กับนักเรียนที่มีความบกพร่องด้านทักษะการอ่าน ได้อีกด้วย ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้ การเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่มร่วมมือแบบเทคนิคเอส ที เอ ดี (STAD) สาหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลงจะเอื้อ ประโยชน์แก่นักเรียน ครูผู้สอน และทุกท่านที่สนใจเป็นอย่างดี ศิลาวรรณ เลื่อนลอย
  • 3. ~ 3 ~ สารบัญ หน้า คานา สารบัญ คาชี้แจง ก คาแนะนาสาหรับครู ข คาแนะนาสาหรับนักเรียน ค จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑ แบบทดสอบก่อนเรียน ๒ ใบความรู้ เรื่อง เพลง ๗ แบบฝึกทักษะที่ ๑ ๑๐ แบบฝึกทักษะที่ ๒ ๑๒ แบบฝึกทักษะที่ ๓ ๑๔ แบบฝึกทักษะที่ ๔ ๑๖ แบบฝึกทักษะที่ ๕ ๑๘ แบบทดสอบหลังเรียน ๒๐
  • 4. ~ 4 ~ สารบัญ (ต่อ) หน้า ภาคผนวก ๒๖ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ๒๗ แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๑ ๒๘ แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๒ ๒๙ แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๓ ๓๐ แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๔ ๓๑ แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๕ ๓๒ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ๓๓ บรรณานุกรม ๔๓
  • 5. ~ 5 ~ คาชี้แจง ๑. แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้การเรียนรู้แบบกระบวนการ กลุ่มร่วมมือแบบเทคนิค เอส ที เอ ดี (STAD) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่๒ เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ใช้เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง ๒. รายละเอียดและเนื้อหาภายในแบบฝึกประกอบด้วย ชื่อแบบฝึก ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน แบบฝึกเสริมทักษะ เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ และเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน ๓. การใช้แบบฝึกนักเรียนควรศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ และปฏิบัติกิจกรรม เรียงตามลาดับที่กาหนดไว้ ๔. นักเรียนฝึกปฏิบัติกิจกรรมลงในกระดาษคาตอบที่มอบให้ และตรวจคาตอบ ที่ประธานกลุ่ม โดยให้เลขานุการกลุ่มเป็นผู้บันทึกคะแนน ๕. หากนักเรียนมีข้อสงสัยเกี่ยวกับขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมหรือรายละเอียด ภายในแบบฝึกสามารถซักถามครูได้ตลอดเวลา ๖. หลังจากนักเรียนศึกษาและฝึกปฏิบัติกิจกรรมภายในแบบฝึกจนครบแล้ว สามารถขอรับแบบทดสอบ และตรวจคาตอบได้ที่ครู โดยให้เลขานุการกลุ่มเป็นผู้ บันทึกคะแนน ~ ก ~
  • 6. ~ 6 ~ คาแนะนาการใช้สาหรับครู แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้การเรียนรู้แบบกระบวนการ กลุ่มร่วมมือแบบเทคนิค เอส ที เอ ดี (STAD) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ประกอบด้วยแบบฝึกทั้งหมดจานวน ๖ เล่ม คือ เล่มที่ ๑ การอ่านจับใจความจากนิทาน เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง เล่มที่ ๓ การอ่านจับใจความจากบทความ เล่มที่ ๔ การอ่านจับใจความจากบทร้อยกรอง เล่มที่ ๕ การอ่านจับใจความจากข่าว เล่มที่ ๖ การอ่านจับใจความจากโฆษณา ๑. แบบฝึกเสริมทักษะชุดนี้เป็นแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ๒. ควรศึกษาและทาความเข้าใจคาแนะนาในการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ ก่อนใช้ทุกเล่ม ๓. ควรเตรียมอุปกรณ์การฝึกล่วงหน้าก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทุกครั้ง เช่น ชุดฝึกทักษะแต่ละชุด แบบทดสอบต่างๆ แบบสังเกตพฤติกรรม ให้เรียบร้อยเพื่อความสะดวกในการใช้ ๔. ชี้แจงให้นักเรียนทราบถึงวัตถุประสงค์และความสาคัญของการฝึก แต่ละเล่ม เพื่อให้นักเรียนเห็นประโยชน์ที่จะได้รับจากการฝึก ~ ข ~
  • 7. ~ 7 ~ คาแนะนาการใช้สาหรับนักเรียน แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้การเรียนรู้แบบกระบวนการ กลุ่มร่วมมือแบบเทคนิค เอส ที เอ ดี (STAD) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ประกอบด้วยแบบฝึกทั้งหมดจานวน ๖ เล่ม คือ เล่มที่ ๑ การอ่านจับใจความจากนิทาน เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง เล่มที่ ๓ การอ่านจับใจความจากบทความ เล่มที่ ๔ การอ่านจับใจความจากบทร้อยกรอง เล่มที่ ๕ การอ่านจับใจความจากข่าว เล่มที่ ๖ การอ่านจับใจความจากโฆษณา ๑. นักเรียนศึกษาแบบฝึกโดยเรียงลาดับตามเล่มที่กาหนดไว้ คือ เรียนจาก เล่มที่ ๑ เล่มที่ ๒ เล่มที่ ๓ เล่มที่ ๔ เล่มที่ ๕ และเล่มที่ ๖ ตามลาดับ ๒. นักเรียนจะได้รับแบบฝึกจากครูคนละ ๑ เล่ม ก่อนที่นักเรียนจะศึกษา เนื้อหาภายในของแบบฝึกควรทาความเข้าใจคาชี้แจงการใช้อย่างละเอียด ๓. เมื่อนักเรียนศึกษาและฝึกปฏิบัติกิจกรรมจบครบแล้ว ให้นาแบบฝึก เสริมทักษะมาคืนครู แล้วรับแบบฝึกเล่มถัดไป ๔. หากเกิดข้อสงสัยในการศึกษาหรือการฝึกปฏิบัติกิจกรรมภายในแบบฝึก นักเรียนสามารถซักถามครูได้ตลอดเวลา ~ ค ~
  • 8. ~ 8 ~ วัตถุประสงค์ของแบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน ๑. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์ ของนักเรียน ๒. เพื่อฝึกความสามารถในการคิด วิเคราะห์จากเรื่องราว และเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน ๓. เพื่อให้นักเรียนสามารถนาทักษะการคิด วิเคราะห์ ไปประยุกต์ใช้ ในการดารงชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ๑. สามารถอ่านจับใจความสาคัญและวิเคราะห์บทเพลงที่อ่านได้ ๒. สามารถวิเคราะห์และตอบคาถามจากบทเพลงที่อ่านได้ถูกต้อง ๓. สามารถทางานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้โดยมีความเป็นผู้นาหรือผู้ตามที่ดี ๔. เขียนสรุปใจความสาคัญสั้น ๆ จากบทเพลงที่อ่านได้ด้วยภาษา ที่สละสลวย ชัดเจน ~ ๑ ~
  • 9. ~ 9 ~ แบบทดสอบก่อนเรียน ๑. จากบทเพลง “เราสู้” คาว่า เรา หมายถึงข้อใด ก. เจ้าของบ้านทุกหลัง ข. คนไทยทุกคน ค. ทหารทุกหมู่เหล่า ง. ชายไทยทุกคน คาชี้แจง จงอ่านบทเพลงต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ ๑ – ๕ เพลง "เราสู้” ทานอง : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช คาร้อง : นายสมภพ จันทรประภา บรรพบุรุษของไทยแต่โบราณ ปกบ้านป้ องเมืองคุ้มเหย้า เสียเลือดเสียเนื้อมิใช่เบา หน้าที่เรารักษาสืบไป ลูกหลานเหลนโหลนภายหน้า จะได้มีพสุธาอาศัย อนาคตจะต้องมีประเทศไทย มิยอมให้ผู้ใดมาทาลาย ถึงขู่ฆ่าล้างโคตรก็ไม่หวั่น จะสู้กันไม่หลบหนีหาย สู้ตรงนี้สู้ที่นี่สู้จนตาย ถึงเป็นคนสุดท้ายก็ลองดู บ้านเมืองเราเราต้องรักษา อยากทาลายเชิญมาเราสู้ เกียรติศักดิ์ของเราเราเชิดชู เราสู้ไม่ถอยจนก้าวเดียว ที่มา : http://www.thaipost.net/tabloid/081213/83096 ~ ๒ ~
  • 10. ~ 10 ~ ๒. นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดบรรพบุรุษของไทยจึงยอมเสียสละชีวิตของ ตนเอง ก. เพื่อรักษาอาคารบ้านเรือนและสิ่งก่อสร้างต่างๆ ข. เพื่อรักษาที่ดินของตนเองไว้ให้ลูกหลาน ค. เพื่อรักษาเกียรติยศและหน้าที่ของตนเอง ง. เพื่อรักษาเอกราชของชาติ ๓. บทเพลง “เราสู้” แฝงคุณธรรมในข้อใด ก. ความสามัคคี ข. ความซื่อสัตย์ ค. ความมีน้าใจ ง. ความรับผิดชอบ ๔. จากบทเพลง “เราสู้” ข้อใดสรุปใจความสาคัญได้เหมาะสมที่สุด ก. ความรักความเอื้ออาทรของคนในชาติ ข. ความรักความเมตตาของคนในชาติ ค. ความรักความเข้มแข็งของคนในชาติ ง. ความรักความสามัคคีของคนในชาติ ๕. “ถึงขู่ฆ่าล้างโคตรก็ไม่หวั่น จะสู้กันไม่หลบหนีหาย สู้ตรงนี้สู้ที่นี่ สู้จนตาย ถึงเป็นคนสุดท้ายก็ลองดู” ข้อความนี้มีความหมายว่าอย่างไร ก. แม้นมีใครมาขู่ฆ่าก็ไม่เกรงกลัวและไม่ถอยหนี ข. แม้นครอบครัวถูกฆ่าก็ไม่เกรงกลัวจะต่อสู้จนวันตาย ค. แม้นเหลือเพียงคนเดียวก็ไม่เกรงกลัวที่จะต่อสู้เพื่อชาติ ง. แม้นต้องถูกฆ่าเป็นคนสุดท้ายก็ไม่หลบหนี ~ ๓ ~
  • 11. ~ 11 ~ จงอ่านบทเพลงต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ ๖ – ๑๐ เพลง คืนความสุขให้ประเทศไทย เนื้อร้อง : พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา เรียบเรียงคาร้องและทานอง : วิเชียร ตันติพิมลพันธุ์ วันที่ชาติและองค์ราชา มวลประชาอยู่มาพ้นภัย ขอดูแลคุ้มครองด้วยใจ นี่คือคาสัญญา วันนี้ชาติเผชิญพาลภัย ไฟลุกโชนขึ้นมาทุกครา ขอเป็นคนที่เดินเข้ามา ไม่อาจให้สายไป เพื่อนารักกลับมา ต้องใช้เวลาเท่าไร โปรด จงรอได้ไหม จะข้ามผ่านความบาดหมาง เราจะทาตามสัญญา ขอเวลาอีกไม่นาน แล้วแผ่นดินที่งดงามจะคืนกลับมา เราจะทาอย่างซื่อตรง ขอแค่เธอจงไว้ใจและศรัทธา แผ่นดินจะดีในไม่ช้า ขอคืนความสุขให้เธอ ประชาชน วันนี้ต้องเหน็ดเหนื่อยก็รู้ จะขอสู้กับอันตราย ชาติทหารไม่ยอมแพ้พ่าย นี่คือคาสัญญา วันนี้ชาติเผชิญพาลภัย ไฟลุกโชนขึ้นมาทุกครา ขอเป็นคนที่เดินเข้ามา ไม่อาจให้สายไป แผ่นดินจะดีในไม่ช้า ความสุขจะคืนกลับมา ประเทศไทย ... ที่มา : http://music.tlcthai.com/thai_music/20946 ~ ๔ ~
  • 12. ~ 12 ~ ๖. จากบทเพลงสถานการณ์บ้านเมืองเป็นเช่นไร ก. ประสบภัยธรรมชาติ ข. แตกแยกขาดความสามัคคี ค. สงบร่มเย็น ง. เกิดสงครามกลางเมือง ๗. คุณธรรมในข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับบทเพลงข้างต้น ก. ความสามัคคี ข. ความซื่อสัตย์ ค. ความมัธยัสถ์ ง. ความเสียสละ ๘. “ชาติทหารไม่ยอมแพ้พ่าย นี่คือคาสัญญา” ข้อความนี้มีความหมายตรงกับข้อใด ก. เสียชีพอย่าเสียสัตย์ ข. สละชีพเพื่อชาติ ค. เสียน้อยเสียยากอเสียมากเสียง่าย ง. ชาติเสือต้องไว้ลาย ๙. ข้อใดกล่าวถึงจุดประสงค์ของบทเพลงได้ถูกต้องที่สุด ก. สร้างความรักความสามัคคีให้กับประชาชน ข. สร้างความเชื่อมั่นความศรัทธาให้แก่ประชาชน ค. สร้างความสุขความเพลิดเพลินให้แก่ประชาชน ง. สร้างความงดงามให้แก่ประชาชน ~ ๕ ~
  • 13. ~ 13 ~ ๑๐. บุคคลในบทเพลงมีลักษณะเช่นไร ก. อ่อนน้อมถ่อมตน ข. รักสันโดษ ค. มุ่งมั่นเด็ดเดี่ยว ง. ขยันอดทน ~ ๖ ~
  • 14. ~ 14 ~ ต่อไปนี้จะเล่าถึงอาหารอร่อย คือส้มตา กินบ่อยๆ รสชาติแซบดี วิธีทาก็ง่าย จะบอก ได้ต่อไปนี้..... ทุกคนคงฟังกันอยู่เป็นประจาแล้วนะครับ แต่น้องๆ รู้บ้างไหมครับว่า เพลง คืออะไร แล้วเพลงมีทั้งหมดกี่ชนิด อย่างทราบกันแล้วใช่ไหมครับ เราไป ศึกษาหาคาตอบพร้อมๆกันเลย ใบความรู้เรื่อง เพลง ~ ๗ ~
  • 15. ~ 15 ~ เพลงคืออะไร เพลง หมายถึง ถ้อยคาที่นักประพันธ์เรียงร้อยหรือเรียบเรียงขึ้น ซึ่งประกอบด้วย เนื้อร้อง ทานอง จังหวะ ทาให้เกิดความไพเราะสร้างความ เพลิดเพลินให้แก่ผู้ฟัง มีคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ทั้งด้านการเลือกสรรคาที่ใช้ใน การแต่ง การเรียบเรียงประโยค และการใช้โวหาร เพลงนั้นอาจให้ข้อคิดแก่ผู้ฟัง ในการดาเนินชีวิตด้วยสาเนียงขับร้อง ทานองดนตรี กระบวนวิธีราระบา โดยเพลง สร้างสรรค์จากเครื่องดนตรีหรือการขับร้อง ในที่นี้จะกล่าวถึงเพลงเพียง ๓ ประเภท คือ เพลงเพื่อชีวิต แต่แรกเริ่มหมายถึงเพลงที่มีเนื้อหากล่าวถึงชีวิตของคน โดยเฉพาะคนชนชั้นล่าง กล่าวถึงความยากลาบากในการใช้ชีวิต การถูกเอารัดเอา เปรียบ เพลงในแนวเพื่อชีวิตในยุคนี้โดยมากจะเป็นเพลงลูกทุ่ง เพลงไทยสากล เป็นเพลงที่ขับร้องในภาษาไทย โดยเริ่มจากนาทานองไทย เดิมใส่เนื้อร้องบรรเลงและขับร้อง โดยใช้มาตรฐานของโน้ตเพลงแบบสากล จน เป็นเพลงไทยแนวใหม่ โดยตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๗๖ มีละครเวที ละครวิทยุ และ ภาพยนตร์ไทย มีบทบาทสาคัญทาให้เพลงไทยสากลได้รับความนิยม เพลงไทยลูกทุ่ง หมายถึง เพลงที่สะท้อนวิถีชีวิต สภาพสังคมอุดมคติและ วัฒนธรรมไทย โดยมีท่วงทานอง คาร้อง สาเนียง และลีลาการร้องการบรรเลง ที่เป็นแบบแผน มีลักษณะเฉพาะซึ่งให้บรรยากาศ ความเป็นลูกทุ่ง ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki ~ ๘ ~
  • 16. ~ 16 ~ คุณค่าของเพลง เพลงเป็นสื่อปรุงแต่งอารมณ์ ความรู้สึกของมนุษย์ตั้งแต่แรกเกิด บทเพลงที่ มีคุณค่าย่อมสามารถช่วยปรุงแต่งนิสัยของมนุษย์ และพามนุษย์ให้ดาเนินไปตาม ครรลองที่ถูกต้อง เพลงเป็นสื่อที่ดีและมีประสิทธิภาพ ช่วยทาให้เด็กมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนการ สอน เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน เรียนรู้ได้อย่างมีความสุข ได้รับความรู้ ความสามารถอย่าง ครอบคลุมด้วยเนื้อหาสาระของเพลง ทั้งทางตรง และ ทางอ้อม เด็กที่ชอบร้องเพลง และจาเนื้อเพลงได้มาก ย่อมสามารถนาความรู้หรือ ประสบการณ์ที่ได้รับไปปรับประยุกต์ใช้ได้ตลอดชีวิต คติสอนใจ และแง่คิดที่แฝง อยู่ในบทเพลงประกอบกับท่วงทานอง และจังหวะของเพลง จะช่วยกล่อมเกลา จิตใจ และอารมณ์ของเด็กให้โน้มเอียงมาในทางฝ่ายดี ทาให้เขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ที่ดีได้ต่อไปในอนาคต ที่มา : https://www.gotoknow.org/posts/122931 ~ ๙ ~
  • 17. ~ 17 ~ แบบฝึกทักษะที่ ๑ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ประเภทเพลง : เพลงเพื่อชีวิต คาร้อง : พงษ์สิทธิ์ คัมภีร์ ทานอง : โซล (SOUL) สายลมหนาวพัดโบกโบยพลิ้ว ดูแล้วสวยใสๆ เย็นลมเย็นไหวๆ สวยงาม บ้านอยู่ไกลทุรกันดารโรงเรียนอยู่หลังเขา มีแต่เราพวกเราไม่มีใคร * ยามร้อนแสนร้อน ยามหนาวก็หนาวถึงใจ ไม่มีผ้าห่มคลุม.... กาย โรงเรียนมีครูหนึ่งคน ครูผู้เสียสละตน อดทนอยู่ห่างไกลความสบาย ใช่จะวอนให้เห็นใจ ความสานึกต่อเพื่อนไทย ไทยกับไทยใยแตกต่างกัน ** โรงเรียนของหนูอยู่ไกล ไกล๋ ไกล.. อยากให้คุณๆ หันมอง โรงเรียนของหนู ซ้า (*, **) ที่มา : http://www.likemax.com/song/?id=420 เนื้อเพลง โรงเรียนของหนู ~ ๑๐ ~
  • 18. ~ 18 ~ กระดาษคาตอบแบบฝึกทักษะที่ ๑ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่.......... คาชี้แจง : ให้นักเรียนจับคู่ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อเพลงกับข้อความที่กาหนดให้ ๑. “ยามร้อนแสนร้อน ยามหนาวก็หนาวถึงใจ ไม่มีผ้าห่มคลุม.... กาย” สะท้อนปัญหาเรื่องใด.................................................................................... ๒. “โรงเรียนมีครูหนึ่งคน ครูผู้เสียสละตน อดทนอยู่ห่างไกลความสบาย” สะท้อนปัญหาเรื่องใด.................................................................................... ๓. “บ้านอยู่ไกลทุรกันดารโรงเรียนอยู่หลังเขา มีแต่เราพวกเราไม่มีใคร” สะท้อนปัญหาเรื่องใด.................................................................................... ๔. “ใช่จะวอนให้เห็นใจ ความสานึกต่อเพื่อนไทย ไทยกับไทยแตกต่างกัน” สะท้อนปัญหาเรื่องใด.................................................................................... ๕. ใจความสาคัญของเพลง “โรงเรียนของหนู” สะท้อนปัญหาเรื่องใด .................................................................................................................... .. ความยากจน ขาดบุคลากร การคมนาคม จิตสาธารณะ การศึกษา ครอบครัว ~ ๑๑ ~
  • 19. ~ 19 ~ แบบฝึกทักษะที่ ๒ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ประเภทเพลง : เพลงไทยสากล คาร้อง : สุทธิพงษ์ สมบัติจินดา ทานอง : วุฒิชัย สมบัติจินดา เรียบเรียง : อนุชา อรรจนาวัฒน์ น่า นา นา น๊า นา น๊า นา น่า นา น่า นา นา น๊า นา น๊า นา น่า นา คุณครูสั่งให้เขียน เรียงความเรื่องแม่ฉัน บอกให้ส่งให้ทันวันพรุ่งนี้ มันยากจังทาไม่ไหว หนูแม่ไม่มี แล้วจะเขียนให้ดียังไง * เป็นห่วงก็ไม่รู้ ดูแลก็ไม่คุ้น กอดแม่อุ่นจริงๆ มันจริงไหม พร้อมหน้ากันทานอาหาร เคยมีแค่ฝันไป ไม่มีเพลงกล่อมใดไม่มี ** ห่มผ้าไม่เคยอุ่นเลย กอดหมอนไม่เคยอุ่นใจ นอนหลับไปอย่างเดียวดายทุกที ไม่มีอะไรจะเขียน ให้ครูได้อ่านพรุ่งนี้ บนหน้ากระดาษก็เลอะน้าตา *** ถ้าแม่ฟังอยู่ไม่ว่าแม่อยู่ไหน ไม่ว่าแม่เป็นใคร ช่วยส่งรักกลับมา ถ้าแม่ฟังอยู่คิดถึงหนูหน่อยหนา หนูขอสัญญาว่า หนูจะเป็นเด็กดี (ซ้า * , ** , ***) ที่มา : http://www.thailyrics.com/lyric/thai/lyric.asp?id=2755 เนื้อเพลง เรียงความเรื่องแม่ ~ ๑๒ ~
  • 20. ~ 20 ~ กระดาษคาตอบแบบฝึกทักษะที่ ๒ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่.......... คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนภาพโครงเรื่องจากเพลง “เรียงความเรื่องแม่” ใคร/อะไร : ........................................................................ ที่ไหน : ............................................................................. เหตุการณ์ที่ ๑ : ..................................................................... ............................................................................................... เหตุการณ์ที่ ๒ : .................................................................... ............................................................................................... เหตุการณ์ที่ ๓ : ..................................................................... ............................................................................................... ผลสรุป : ............................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ข้อคิดที่ได้ : ........................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... . ~ ๑๓ ~
  • 21. ~ 21 ~ แบบฝึกทักษะที่ ๓ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ประเภทเพลง : เพลงไทยสากล คาร้อง,ทานอง : วิเชียร ดุรงค์ศักดิ์ สุโขทัย นี้ดีหนักหนา ในน้ามีปลา ในนามีข้าว พ่อขุนบางกลางท่าว ปฐมกษัตริย์เจ้า สร้างไทยให้เราเกรียงไกร วีรบุรุษของชาติ รามคาแหงมหาราช ยอดนักปราชญ์ลือชัย เป็นยอดขุนพลยิ่งใหญ่ สร้างหลักอักษรไทย ยอดภูวนัย จอมปฐพี ศิลาจารึกวัดศรีชุม แหล่งขุมประวัติศาสตร์ พิลาศเด่นเป็นสักขี มีรอยพระพุทธบาท มหาธาตุเจดีย์ ด้วยบารมีเกริกฟ้ า * นพมาศนวลอนงค์ สร้างพิธีลอยกระทง ด้วยจิตประสงค์ศรัทธา พระแท่นมนังคศิลา คือศาลอาญา เป็นที่ใฝ่หาความยุติธรรม ยามแสงอรุณเบิกฟ้ า ใครใคร่ ค้า ช้าง ม้า ค้า ใคร่ทาไร่ ทานา ทา แผ่นดินแผ่นฟ้ าชุ่มฉ่า ทรัพย์ในดินสินในน้า อุดมเลิศล้าสุโขทัย (ซ้า * ) ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=nGV9EocRCoA เนื้อเพลง เพลงสุโขทัย ~ ๑๔ ~
  • 22. ~ 22 ~ กระดาษคาตอบแบบฝึกทักษะที่ ๓ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่.......... คาชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาของเพลงแล้วตอบคาถามต่อไปนี้ ชื่อเพลง.................................................................................................... ใจความสาคัญของเพลง คือ ................................................................................................................. ................................................................................................................. ข้อความใดสะท้อนถึงระบบเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. บอกความรู้ที่ได้จากเพลง อย่างน้อย ๓ ข้อ ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. ~ ๑๕ ~
  • 23. ~ 23 ~ แบบฝึกทักษะที่ ๔ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ประเภทเพลง : เพลงเพื่อชีวิต คาร้อง,ทานอง : อี๊ด ฟุตบาท อ่านคาบรรยายจดหมายถึงพ่อ หนูยังรอวันพ่อกลับบ้าน กล้ามะละกอที่พ่อเคยหว่าน แยกปลูกไม่นาน ลูกโตน่าดู * กระถินริมรั้วสูงขึ้นเลยบ่า พุ่มกระดังงาเลื้อยซุ้มประตู ทานตะวันชูคอชูช่อรออยู่ คงชะเง้อดูคอยพ่อกลับมา แม่อธิบายที่พ่อไปทางาน เพื่อเงิน เพื่อบ้าน และเพื่อลูกยา จะมีบ้านโตมีรถโก้สง่า มีหน้ามีตาเหมือนดังใครๆ พ่อไปคราวนี้แม้จะยาวนาน พวกเราทางบ้านเป็นกาลังใจ แต่บางคืนแม่สะอื้นร้องไห้ หนูแกล้งทาหลับไปสงสารแม่จัง ส่วนน้องหญิงยิ่งยามเย็นค่า อ้อนประจาเหตุผลไม่ฟัง ไม่เอาบ้านโตไม่เอาทุกอย่าง จะเอาขี่หลังของพ่อคนเดียว (ซ้า *) สุดท้ายนี้ขออวยพรให้พ่ออยู่แดนไกล หัวใจเด็ดเดี่ยว ขอพระคุ้มครองยามใจห่อเหี่ยว ปกป้ องแลเหลียวร่ารวยกลับมา (ซ้า *,*,*) ที่มา : http://www.musicatm.com/thai เนื้อเพลง จดหมายถึงพ่อ ~ ๑๖ ~
  • 24. ~ 24 ~ กระดาษคาตอบแบบฝึกทักษะที่ ๔ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่.......... คาชี้แจง : ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่เป็นจริง และทาเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่เป็นเท็จ ๑. บทเพลงสะท้อนให้เห็นถึงความสุขสบายของครอบครัว ๒. ครอบครัวเป็นสถาบันพื้นฐานที่มีสาคัญต่อการพัฒนาสังคม ๓. พ่อจากไปเพื่อซื้อบ้านและรถโก้หรูให้กับครอบครัว ๔. “บ้าน”เป็นหนึ่งในปัจจัยพื้นฐานของการดารงชีวิต ๕. ความรักและความเข้าใจของคนในครอบครัวเป็นสิ่งสาคัญ ๖. บทเพลงสะท้อนให้เห็นถึงหลักความเชื่อและศาสนา ๗. เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในครอบครัวของคนสังคมเมือง ๘. ปัญหาด้านเศรษฐกิจส่งผลกระทบต่อสถาบันครอบครัว ๙. เพลงได้สะท้อนอารมณ์ของการรอคอยที่มีความหวังของลูก ๑๐. “กระดังงา” เป็นไม้เลื้อยชนิดหนึ่งที่นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ~ ๑๗ ~
  • 25. ~ 25 ~ แบบฝึกทักษะที่ ๕ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ประเภทเพลง : เพลงไทยลูกทุ่ง คาร้อง,ทานอง : พงษ์ศักดิ์ ถนอมใจ เรียบเรียง : ปาริวัฒน์ สุวรรณชัย นานเท่าไรที่ฉันต้องคอย ทาดีกับความเฉยชา นานเท่าไรที่ความห่วงหา ไม่มีค่าอะไร หรือว่าฉันดีไม่พอ หรือเป็นเพราะเธอรอใคร ทาไม ทาไมไม่รักกันบ้าง สิ่งที่เธอให้คืนกลับมา ก็มีแค่ความว่างเปล่า อยู่ใกล้เธอทุกทีก็เหงา ใกล้กันเหมือนยิ่งห่าง และสุดท้ายคือต้องยอม บอกใจให้ยอมปล่อยวาง เพราะฉัน เหนื่อยแล้วกับการทุ่มเท * เมื่อใจเธอเหมือนดังทะเล ความรักฉันเหมือนกับฝน ทาดีสักกี่หน ก็เหมือนฝนตกในทะเล เธอไม่เคยรู้สึกอะไร ฉันฝันไปเองทั้งเพ พอเถอะพอ ยิ่งฝืนไปต่อยิ่งเสียใจ คนไม่รักก็คือไม่รัก ไม่เคยเปลี่ยนมารักกัน รอเฝ้ ารอยิ่งรอยิ่งนาน ฉันมันก็ไม่ไหว คนที่รักเธอข้างเดียว รู้ไหมว่ามันเหนื่อยใจ หนักเกิน ที่ได้แต่คอยทุ่มเท (ซ้า*,*,*) ที่มา : http://music.tlcthai.com/country_music/330 เนื้อเพลง ฝนตกในทะเล ~ ๑๘ ~
  • 26. ~ 26 ~ กระดาษคาตอบแบบฝึกทักษะที่ ๕ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่.......... คาชี้แจง : ให้นักเรียนยกตัวอย่างสานวนสุภาษิตที่มีความหมายสอดคล้องกับ เพลง “ฝนตกในทะเล” ................................................................................................... ................................................................................................... ................................................................................................... ................................................................................................... ................................................................................................... ................................................................................................... ................................................................................................... ................................................................................................... ................................................................................................... ................................................................................................... ................................................................................................... ................................................................................................... ~ ๑๙ ~
  • 27. ~ 27 ~ แบบทดสอบหลังเรียน คาชี้แจง จงอ่านบทเพลงต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ ๑ – ๕ เพลง คืนความสุขให้ประเทศไทย เนื้อร้อง : พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา เรียบเรียงคาร้องและทานอง : วิเชียร ตันติพิมลพันธุ์ วันที่ชาติและองค์ราชา มวลประชาอยู่มาพ้นภัย ขอดูแลคุ้มครองด้วยใจ นี่คือคาสัญญา วันนี้ชาติเผชิญพาลภัย ไฟลุกโชนขึ้นมาทุกครา ขอเป็นคนที่เดินเข้ามา ไม่อาจให้สายไป เพื่อนารักกลับมา ต้องใช้เวลาเท่าไร โปรด จงรอได้ไหม จะข้ามผ่านความบาดหมาง เราจะทาตามสัญญา ขอเวลาอีกไม่นาน แล้วแผ่นดินที่งดงามจะคืนกลับมา เราจะทาอย่างซื่อตรง ขอแค่เธอจงไว้ใจและศรัทธา แผ่นดินจะดีในไม่ช้า ขอคืนความสุขให้เธอ ประชาชน วันนี้ต้องเหน็ดเหนื่อยก็รู้ จะขอสู้กับอันตราย ชาติทหารไม่ยอมแพ้พ่าย นี่คือคาสัญญา วันนี้ชาติเผชิญพาลภัย ไฟลุกโชนขึ้นมาทุกครา ขอเป็นคนที่เดินเข้ามา ไม่อาจให้สายไป แผ่นดินจะดีในไม่ช้า ความสุขจะคืนกลับมา ประเทศไทย ... ที่มา : http://music.tlcthai.com/thai_music/20946 ~ ๒๐ ~
  • 28. ~ 28 ~ ๑. บุคคลในบทเพลงมีลักษณะเช่นไร ก. อ่อนน้อมถ่อมตน ข. รักสันโดษ ค. มุ่งมั่นเด็ดเดี่ยว ง. ขยันอดทน ๒. “ชาติทหารไม่ยอมแพ้พ่าย นี่คือคาสัญญา” ข้อความนี้มีความหมายตรงกับข้อใด ก. เสียชีพอย่าเสียสัตย์ ข. สละชีพเพื่อชาติ ค. เสียน้อยเสียยากอเสียมากเสียง่าย ง. ชาติเสือต้องไว้ลาย ๓. จากบทเพลงสถานการณ์บ้านเมืองเป็นเช่นไร ก. ประสบภัยธรรมชาติ ข. แตกแยกขาดความสามัคคี ค. สงบร่มเย็น ง. เกิดสงครามกลางเมือง ๔. ข้อใดกล่าวถึงจุดประสงค์ของบทเพลงได้ถูกต้องที่สุด ก. สร้างความรักความสามัคคีให้กับประชาชน ข. สร้างความเชื่อมั่นความศรัทธาให้แก่ประชาชน ค. สร้างความสุขความเพลิดเพลินให้แก่ประชาชน ง. สร้างความงดงามให้แก่ประชาชน ~ ๒๑ ~
  • 29. ~ 29 ~ ๕. คุณธรรมในข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับบทเพลงข้างต้น ก. ความสามัคคี ข. ความซื่อสัตย์ ค. ความมัธยัสถ์ ง. ความเสียสละ เพลง "เราสู้” ทานอง : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช คาร้อง : นายสมภพ จันทรประภา บรรพบุรุษของไทยแต่โบราณ ปกบ้านป้ องเมืองคุ้มเหย้า เสียเลือดเสียเนื้อมิใช่เบา หน้าที่เรารักษาสืบไป ลูกหลานเหลนโหลนภายหน้า จะได้มีพสุธาอาศัย อนาคตจะต้องมีประเทศไทย มิยอมให้ผู้ใดมาทาลาย ถึงขู่ฆ่าล้างโคตรก็ไม่หวั่น จะสู้กันไม่หลบหนีหาย สู้ตรงนี้สู้ที่นี่สู้จนตาย ถึงเป็นคนสุดท้ายก็ลองดู บ้านเมืองเราเราต้องรักษา อยากทาลายเชิญมาเราสู้ เกียรติศักดิ์ของเราเราเชิดชู เราสู้ไม่ถอยจนก้าวเดียว ที่มา : http://www.thaipost.net/tabloid/081213/83096 จงอ่านบทเพลงต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ ๖ – ๑๐ ~ ๒๒ ~
  • 30. ~ 30 ~ ๖. บทเพลง “เราสู้” แฝงคุณธรรมในข้อใด ก. ความสามัคคี ข. ความซื่อสัตย์ ค. ความมีน้าใจ ง. ความรับผิดชอบ ๗. “ถึงขู่ฆ่าล้างโคตรก็ไม่หวั่น จะสู้กันไม่หลบหนีหาย สู้ตรงนี้สู้ที่นี่ สู้จนตาย ถึงเป็นคนสุดท้ายก็ลองดู” ข้อความนี้มีความหมายว่าอย่างไร ก. แม้นมีใครมาขู่ฆ่าก็ไม่เกรงกลัวและไม่ถอยหนี ข. แม้นครอบครัวถูกฆ่าก็ไม่เกรงกลัวจะต่อสู้จนวันตาย ค. แม้นเหลือเพียงคนเดียวก็ไม่เกรงกลัวที่จะต่อสู้เพื่อชาติ ง. แม้นต้องถูกฆ่าเป็นคนสุดท้ายก็ไม่หลบหนี ๘ นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดบรรพบุรุษของไทยจึงยอมเสียสละชีวิตของ ตนเอง ก. เพื่อรักษาอาคารบ้านเรือนและสิ่งก่อสร้างต่างๆ ข. เพื่อรักษาที่ดินของตนเองไว้ให้ลูกหลาน ค. เพื่อรักษาเกียรติยศและหน้าที่ของตนเอง ง. เพื่อรักษาเอกราชของชาติ ๙. จากบทเพลง “เราสู้” คาว่า เรา หมายถึงข้อใด ก. เจ้าของบ้านทุกหลัง ข. คนไทยทุกคน ค. ทหารทุกหมู่เหล่า ง. ชายไทยทุกคน ~ ๒๓ ~
  • 31. ~ 31 ~ ๑๐. จากบทเพลง “เราสู้” ข้อใดสรุปใจความสาคัญได้เหมาะสมที่สุด ก. ความรักความเอื้ออาทรของคนในชาติ ข. ความรักความเมตตาของคนในชาติ ค. ความรักความเข้มแข็งของคนในชาติ ง. ความรักความสามัคคีของคนในชาติ ~ ๒๔ ~
  • 34. ~ 34 ~ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ข้อที่ ก่อนเรียน ๑ ข ๒ ง ๓ ก ๔ ง ๕ ค ๖ ข ๗ ค ๘ ก ๙ ข ๑๐ ค ~ ๒๗ ~
  • 35. ~ 35 ~ แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๑ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่.......... คาชี้แจง : ให้นักเรียนจับคู่ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อเพลงกับข้อความที่กาหนดให้ ๑. “ยามร้อนแสนร้อน ยามหนาวก็หนาวถึงใจ ไม่มีผ้าห่มคลุม.... กาย” สะท้อนปัญหาเรื่องใด..........ปัญหาเศรษฐกิจ................................................ ๒. “โรงเรียนมีครูหนึ่งคน ครูผู้เสียสละตน อดทนอยู่ห่างไกลความสบาย” สะท้อนปัญหาเรื่องใด...........ปัญหาด้านบุคลากร.......................................... ๓. “บ้านอยู่ไกลทุรกันดารโรงเรียนอยู่หลังเขา มีแต่เราพวกเราไม่มีใคร” สะท้อนปัญหาเรื่องใด.............ปัญหาการคมนาคม........................................ ๔. “ใช่จะวอนให้เห็นใจ ความสานึกต่อเพื่อนไทย ไทยกับไทยแตกต่างกัน” สะท้อนปัญหาเรื่องใด.............จิตสาธารณะ................................................... ๕. ใจความสาคัญของเพลง “โรงเรียนของหนู” สะท้อนปัญหาเรื่องใด ....................................การศึกษา................................................................ ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาด้านบุคลากร ปัญหาการคมนาคม จิตสาธารณะ การศึกษา ครอบครัว ~ ๒๘ ~
  • 36. ~ 36 ~ แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๒ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่.......... คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนภาพโครงเรื่องจากเพลง “เรียงความเรื่องแม่” ใคร/อะไร : .......เด็กกาพร้า................................................ ที่ไหน : .............สถานเลี้ยงเด็กกาพร้า............................... เหตุการณ์ที่ ๑ : ....คุณครูให้นักเรียนเขียนเรียงความวันแม่.. ............................................................................................... เหตุการณ์ที่ ๒ : ...นักเรียนไม่สามารถเขียนเรียงความได้ เนื่องจากไม่มีแม่................................................................. เหตุการณ์ที่ ๓ : ..นักเรียนอยากมีแม่เหมือนเช่นคนอื่น ๆ.... ............................................................................................... ผลสรุป : ..คนที่มีแม่คอยมอบความรัก คอยดูแลเอใจใส่ นับได้ว่าเป็นสิ่งที่โชคดี......................................................... ............................................................................................... ข้อคิดที่ได้ : ...เราควรดูแลและเชื้อฟังคาสั่งสอนของพ่อแม่ ตั้งแต่ตอนที่ท่านยังอยู่กับเรา............................................... ............................................................................................... ............................................................................................... . ~ ๒๙ ~
  • 37. ~ 37 ~ แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๓ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่.......... คาชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาของเพลงแล้วตอบคาถามต่อไปนี้ ชื่อเพลง......เพลงสุโขทัย.......................................................................... ใจความสาคัญของเพลง คือ .......จังหวัดสุโขทัยเป็นดินแดนแห่งความอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งกาเนิด อารยธรรมต่างๆ ทางประวัติศาสตร์.................................................... ................................................................................................................. ข้อความใดสะท้อนถึงระบบเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย ........ยามรัชนีเบิกฟ้ า ใครใคร่ ค้า ช้าง ม้า ค้า ใคร่ทาไร่ ทานา ทา .................................................................................................................. บอกความรู้ที่ได้จากเพลง อย่างน้อย ๓ ข้อ ................................................................................................................. .....................ขึ้นอยู่ที่ดุลยพินิจของผู้ตรวจ............................................... ................................................................................................................. ................................................................................................................. ~ ๓๐ ~
  • 38. ~ 38 ~ แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๔ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่.......... คาชี้แจง : ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่เป็นจริง และทาเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่เป็นเท็จ X ๑. บทเพลงสะท้อนให้เห็นถึงความสุขสบายของครอบครัว / ๒. ครอบครัวเป็นสถาบันพื้นฐานที่มีสาคัญต่อการพัฒนาสังคม X ๓. พ่อจากไปเพื่อซื้อบ้านและรถโก้หรูให้กับครอบครัว / ๔. “บ้าน”เป็นหนึ่งในปัจจัยพื้นฐานของการดารงชีวิต / ๕. ความรักและความเข้าใจของคนในครอบครัวเป็นสิ่งสาคัญ / ๖. บทเพลงสะท้อนให้เห็นถึงหลักความเชื่อและศาสนา X ๗. เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในครอบครัวของคนสังคมเมือง / ๘. ปัญหาด้านเศรษฐกิจส่งผลกระทบต่อสถาบันครอบครัว / ๙. เพลงได้สะท้อนอารมณ์ของการรอคอยที่มีความหวังของลูก / ๑๐. “กระดังงา” เป็นไม้เลื้อยชนิดหนึ่งที่นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ~ ๓๑ ~
  • 39. ~ 39 ~ แนวการตอบแบบฝึกทักษะที่ ๕ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ชื่อ..............................................................ชั้น........................เลขที่.......... คาชี้แจง : ให้นักเรียนยกตัวอย่างคาประพันธ์ที่มีความหมายสอดคล้องกับ เพลง “ฝนตกในทะเล” ................................................................................................... .......ตาน้าพริกละลายแม่น้า เพราะ ลงทุนลงแรงทาดีมากมาย แต่ไม่ได้รับผลประโยชน์อะไรตอบแทน........................................ ................................................................................................... ................................................................................................... ................................................................................................... ..................(อยู่ที่ดุลยพินิจของคุณครูผู้ตรวจ)................. ................................................................................................... ................................................................................................... ................................................................................................... ................................................................................................... ................................................................................................... ~ ๓๒ ~
  • 40. ~ 40 ~ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง ข้อที่ หลังเรียน ๑ ค ๒ ก ๓ ข ๔ ข ๕ ค ๖ ก ๗ ค ๘ ง ๙ ข ๑๐ ง ~ ๓๓ ~
  • 41. ~ 41 ~ แบบประเมินการทางานกลุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ คาชี้แจง : ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนและให้คะแนนตามเกณฑ์การให้ คะแนนที่ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียน เลขที่ ชื่อ – สกุล ความสามัคคี การรับฟังความคิดเห็น ความตั้งใจทางาน ทาเสร็จตามเวลา รวมคะแนน ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ รวมคะแนนทั้งหมด เฉลี่ย ร้อยละ ~ ๓๔ ~
  • 42. ~ 42 ~ เกณฑ์การประเมิน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ ๓ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ ๒ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ ๑ คะแนน หมายเหตุ ผู้ผ่านการประเมินต้องผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ๑๐ – ๑๒ หมายถึง ดี ช่วงคะแนน ๖ – ๙ หมายถึง พอใช้ ช่วงคะแนน ต่ากว่า ๖ หมายถึง ปรับปรุง ลงชื่อ ...................................................ผู้ประเมิน ( นางสาวศิลาวรรณ เลื่อนลอย ) ครูชานาญการโรงเรียนวัดบ้านกรุ ~ ๓๕ ~
  • 43. ~ 43 ~ รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการทางานกลุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ๓ ๒ ๑ ๑. ความสามัคคี สมาชิกทุกคนใน กลุ่มมีส่วนร่วม และ ให้ความร่วมมือเป็น อย่างดี ร้อยละ ๖๐ของ สมาชิกในกลุ่มมี ส่วนร่วม และให้ ความร่วมมือ ร้อยละ ๔๐ของ สมาชิกในกลุ่มมี ส่วนร่วม และให้ ความร่วมมือ ๒. การยอมรับฟัง ความคิดเห็น สมาชิกทุกคน ในกลุ่มมีการ แลกเปลี่ยนความ คิดเห็นเพื่อการ เรียนรู้ระหว่างกัน ร้อยละ ๖๐ของ สมาชิกในกลุ่มมี การแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น ร้อยละ ๔๐ของ สมาชิกในกลุ่มมี การแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น ๓. ความตั้งใจทางาน สมาชิกทุกคนใน กลุ่มมีหน้าที่และ ความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่ของตน สมาชิกทุกคนใน กลุ่มมีหน้าที่แต่ไม่ รับผิดชอบ ๑ คน สมาชิกทุกคนใน กลุ่มมีหน้าที่แต่ไม่ รับผิดชอบ ๒ คน ๔. ทางานเสร็จทันเวลา ทางานเสร็จทัน เวลาที่กาหนด และผลงานมี คุณภาพ ทางานเสร็จไม่ทัน เวลาที่กาหนด แต่ผลงานมี คุณภาพ ทางานเสร็จไม่ทัน เวลาที่กาหนด และผลงานไม่มี คุณภาพ ~ ๓๖ ~
  • 44. ~ 44 ~ แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ คาชี้แจง : ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนและให้คะแนนตามเกณฑ์การให้ คะแนนที่ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียน เลขที่ ชื่อ – สกุล เสียสละมีน้าใจ รู้หน้าที่ตรงต่อเวลา ขยันอดทนสนใจเรียน ซื่อสัตย์ รวมคะแนน ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ รวมคะแนนทั้งหมด เฉลี่ย ร้อยละ ~ ๓๗ ~
  • 45. ~ 45 ~ เกณฑ์การประเมิน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ ๓ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ ๒ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ ๑ คะแนน หมายเหตุ ผู้ผ่านการประเมินต้องผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ๑๐ – ๑๒ หมายถึง ดี ช่วงคะแนน ๖ – ๙ หมายถึง พอใช้ ช่วงคะแนน ต่ากว่า ๖ หมายถึง ปรับปรุง ลงชื่อ ...................................................ผู้ประเมิน ( นางสาวศิลาวรรณ เลื่อนลอย ) ครูชานาญการโรงเรียนวัดบ้านกรุ ~ ๓๘ ~
  • 46. ~ 46 ~ รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ๓ ๒ ๑ ๑. เสียสละ มีน้าใจ เข้าร่วมกิจกรรมที่ เป็นประโยชน์ทั้งต่อ ตนเองและต่อส่วน รวมด้วยความเต็มใจ สม่าเสมอ เข้าร่วมกิจกรรม ที่เป็นประโยชน์ ทั้งต่อตนเองและ ต่อส่วนรวมเป็น ส่วนใหญ่ เข้าร่วมกิจกรรม ที่เป็นประโยชน์ ทั้งต่อตนเองและ ต่อส่วนรวมเป็น บางครั้ง ๒. รู้หน้าที่ ตรงต่อเวลา มีความมุ่งมั่นในการ ปฏิบัติงานที่ได้รับ มอบหมายและ ผลงานเสร็จทันเวลา มีความมุ่งมั่นใน การปฏิบัติงาน แต่เสร็จไม่ ทันเวลา ขาดความมุ่งมั่น ในการปฏิบัติงาน และเสร็จไม่ ทันเวลา ๓. ขยัน อดทน สนใจเรียน เอาใจใส่การเรียน และมีความเพียร พยายามในการ เรียนรู้อย่าง สม่าเสมอ เอาใจใส่การเรียน และมีความเพียร พยายามในการ เรียนรู้เป็นส่วน ใหญ่ ขาดการเอาใจใส่ การเรียนและขาด ความเพียร พยายามในการ เรียนรู้ ๔. ซื่อสัตย์ มีวินัย ประพฤติตนเป็น แบบอย่างที่ ไม่สร้าง ความเดือนร้อนให้แก่ ตนเองและส่วนรวม สม่าเสมอ ประพฤติตนเป็น แบบอย่างที่ดี ไม่ สร้างความเดือน ร้อนให้แก่ตนเอง และส่วนรวมเป็น ส่วนใหญ่ ประพฤติตนเป็น แบบอย่างที่ดี สร้างความเดือน ร้อนให้แก่ตนเอง หรือส่วนรวมบ้าง บางครั้ง ~ ๓๙ ~
  • 47. ~ 47 ~ แบบประเมินการตรวจผลงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ คาชี้แจง : ผู้สอนตรวจผลงานของนักเรียนและให้คะแนนนักเรียนตาม ความสามารถที่ได้รับมอบหมาย เลขที่ ชื่อ – สกุล รายการประเมิน แบบฝึกที่๑ แบบฝึกที่๒แบบฝึกที่๒ แบบฝึกที่๓ แบบฝึกที่๔ แบบฝึกที่๕ รวมคะแนน ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๒๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ รวมคะแนนทั้งหมด เฉลี่ย ร้อยละ ~ ๔๐ ~
  • 48. ~ 48 ~ เกณฑ์การประเมิน ผู้ผ่านการประเมินต้องผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ๒๐ – ๒๕ หมายถึง ดี ช่วงคะแนน ๑๓ – ๑๙ หมายถึง พอใช้ ช่วงคะแนน ต่ากว่า ๑๓ หมายถึง ปรับปรุง ลงชื่อ ...................................................ผู้ประเมิน ( นางสาวศิลาวรรณ เลื่อนลอย ) ครูชานาญการโรงเรียนวัดบ้านกรุ ~ ๔๑ ~
  • 49. ~ 49 ~ แบบบันทึกคะแนนวัดผลก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความจากบทเพลง เลขที่ ชื่อ – สกุล ก่อนเรียน หลังเรียน ผลต่าง ๑๐ ๑๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ รวมคะแนนทั้งหมด เฉลี่ย ร้อยละ ลงชื่อ ...................................................ผู้ประเมิน ( นางสาวศิลาวรรณ เลื่อนลอย ) ครูชานาญการโรงเรียนวัดบ้านกรุ ~ ๔๒ ~
  • 50. ~ 50 ~ บรรณานุกรม กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.(๒๕๔๖). กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน. (แจกครั้งที่๓).กรุงเทพฯ : พิมพ์โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. กฤษณา เกตุทอง.(๒๕๕๗). แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและเขียนสะกดคา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับผู้เรียนที่ต้องการพัฒนา การอ่านและเขียนสะกดคา เล่ม ๑. พิษณุโลก : โรงพิมพ์ บั๊วกราฟฟิค. ---------------------. (๒๕๕๘). หนังสือเสริมทักษะ เล่ม ๒ การอ่านสะกดคา และแจกลูก. ม.ป.ท. : บริษัท แพนด้า พริ้นติ้ง จากัด. สานักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.(๒๕๕๔). แนวทางการพัฒนาและ ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. ---------------------.(๒๕๕๘). คู่มือการเรียนการสอน การอ่าน คิดวิเคราะห์ ตามแนวทางประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. ~ ๔๓ ~