SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1




     นายทักษิณ นามวงค์
           ครู คศ.1
  โรงเรียนทองสวัสดิ์วิทยาคาร
การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
หมายถึง การอ่านถ้อยคาที่มีผู้เรียบ
เรียงหรือประพันธ์ไว้ โดยการเปล่ง
เสียง และวางจังหวะเสียงให้เป็นไป
ตามความนิยม และเหมาะสมกับเรื่อง
ที่อ่าน เพื่อถ่ายทอดอารมณ์ไปสู่ผู้ฟัง
ซึ่งจะทาให้ผู้ฟังเกิดอารมณ์ร่วมคล้อย
ตามไปกับเรื่องราว หรือรสประพันธ์ที่
อ่าน
หลักเกณฑ์ในการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
๑. ก่อนอ่านควรศึกษาเรืองที่อ่านให้เข้าใจ เพื่อเเบ่งวรรคตอน
                          ่
๒. อ่านให้คล่อง และเสียงดังพอเหมาะกับสถานที่และจานวนผู้ฟัง
๓. อ่านให้คล่องและถูกต้องตามอักขรวิธี โดยเฉพาะ ร ล คาควบ
กล้าต้องออกเสียงให้ชัดเจน
๔. เน้นเสียงและถ้อยคา ตามน้าหนักความสาคัญของใจความ ใช้
เสียงและจังหวะให้เป็นไปตามเนื้อเรื่อง เช่น ดุ อ้อนวอน จริงจัง ฯลฯ
๕. อ่านออกเสียงให้เหมาะสมกับประเภทของเรื่อง เช่น ถ้าอ่านเรื่อง
ที่ให้ข้อเท็จจริงทั่วไป จะอ่านออกเสียงธรรมดาให้ชัดเจน
๖. ในระหว่างที่อ่าน ควรกวาดสายตามองตัวอักษร สลับกับการเงย
หน้าขึ้นมาสบตาผู้ฟัง ในลักษณะที่เหมาะสม และดูเป็นธรรมชาติ
๗. ถ้าอ่านในที่ประชุม ต้องยืนทรงตัวในท่าทางที่สง่า มือที่จับ
กระดาษอยู่ในท่าทางทีเหมาะ ไม่เกร็ง ไม่ยกกระดาษ หรือเอกสารบัง
หน้า หรือไม่ถือไว้ต่าเกินไปจนต้องก้มลงอ่านจนตัวงอ
วิธีการอ่านออกเสียงข้อความที่เป็นร้อยแก้ว
                        สร้างวัฒนธรรมคนรุ่นใหม่ให้เป็นนักอ่าน
                ในปัจจุบันกล่าวกันว่า/ เรากาลังอยู่ในยุคโลกาภิวัฒน์ หรือเรียกอีก
อย่างว่าโลกไร้พรมแดน// แต่จะเรียกอย่างไรก็ตามเถิด/ การอ่าน/ ก็เป็น
กระบวนการสาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาคนในทศวรรษนี้/ เพราะโลกของ
การศึกษา/ มิได้จากัดอยูภายในห้องเรียน/ ที่มีลักษณะรูปทรงสี่เหลี่ยมเเคบๆ
                           ่
เท่านั้น/ เเต่ข้อมูลข้าวสารสารสนเทศต่างๆ /ได้ย่อโลกให้เล็กลงเท่าที่เราอยากรู้ได้
รวดเร็ว/ ในชั่วลัดนิ้วมือเดียวอย่างที่คนโบราณกล่าวไว้/ จะมีสื่อให้อ่านอย่าง
หลากหลายให้เลือก/ ทั้งสื่อสิงพิมพ์ที่เราคุ้นเคย/ ไปจนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ทเรียกว่า
                                  ่                                         ี่
"อินเทอร์เน็ต" เพราะการต่อสูรุกรานกันของมนุษย์ยุคใหม่/ จะใช้ข้อมูล/ สติ/
                                ้
ปัญญา/ และคุณภาพของคนในชาติ/ มากกว่าการใช้กาลังอาวุธเข้าประหัตประหาร
กัน// หากคนในชาติด้อยคุณภาพ/ ขาดการเรียนรู้/ จะถูกครอบงาทางปัญญาได้
ง่ายๆ / จากสื่อต่างๆ จากชาติที่พัฒนาเเล้ว
                 หากคนไม่อ่านหนังสือ/ ก็ยากที่จะพัฒนาสติปัญญา และความรู้ได้/
โดยเฉพาะประเทศที่กาลังพัฒนา/ จะต้องทุ่มเทให้คนมีนิสัยรักการอ่าน/ มีทักษะใน
การอ่าน/ และพัฒนาวิธีการอ่านให้เป็นนักอ่านที่ด// นักอ่านที่ดีจะมีภูมคุ้มกันการ
                                                   ี                  ิ
ครอบงาทางปัญญาได้เป็นอย่าง/ รู้เท่ากันคน และสามารถแก้ปัญหาได้ดี
                             ชาติก้าวไกลด้วยคนไทยรักการอ่าน : มานพ ศรีเทียม
*เครื่องหมาย / หมายถึง การ
หยุดเว้นช่วงจังหวะสั้นๆ
  เครื่องหมาย // หมายถึง การ
หยุดเว้นช่วงจังหวะที่ยาวกว่า
เครื่องหมาย /
  เครื่องหมาย ____ หมายถึง
การเน้น การเพิ่มน้าหนักของ
เสียง
บรรณานุกรม




        www.google.com

More Related Content

What's hot

Lesson2 1meterail
Lesson2 1meterailLesson2 1meterail
Lesson2 1meterailSamorn Tara
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningSudkamon Play
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านThanit Lawyer
 
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจการพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจSomboon Srihawong
 
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTVใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTVสมใจ จันสุกสี
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจDrsek Sai
 
การศึกษาร่วมสมัย
การศึกษาร่วมสมัยการศึกษาร่วมสมัย
การศึกษาร่วมสมัยWutdy Kbu
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพPloyApichaya
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านAj.Mallika Phongphaew
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Kanny Redcolor
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7honeylamon
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังAj.Mallika Phongphaew
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7ssuserfd9042
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญRung Kru
 

What's hot (18)

Lesson2 1meterail
Lesson2 1meterailLesson2 1meterail
Lesson2 1meterail
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
 
Parrot
ParrotParrot
Parrot
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่าน
 
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจการพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
 
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTVใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
 
การศึกษาร่วมสมัย
การศึกษาร่วมสมัยการศึกษาร่วมสมัย
การศึกษาร่วมสมัย
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 
Chapter4 ppt
Chapter4 pptChapter4 ppt
Chapter4 ppt
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 

Similar to อบรมภาษาไทย

อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยtuksin namwong
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยtuksin namwong
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
ห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีteerasak04
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
บทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระบทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระjintanasuti
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
ข้อสอบ O-net - ภาษาไทย
ข้อสอบ O-net - ภาษาไทยข้อสอบ O-net - ภาษาไทย
ข้อสอบ O-net - ภาษาไทยbowing3925
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0Nattarika Wonkumdang
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษBhayubhong
 

Similar to อบรมภาษาไทย (20)

อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทย
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทย
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
 
บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
ห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดี
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
บทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระบทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระ
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
ข้อสอบ O-net - ภาษาไทย
ข้อสอบ O-net - ภาษาไทยข้อสอบ O-net - ภาษาไทย
ข้อสอบ O-net - ภาษาไทย
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
 

อบรมภาษาไทย

  • 1. การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายทักษิณ นามวงค์ ครู คศ.1 โรงเรียนทองสวัสดิ์วิทยาคาร
  • 2. การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว หมายถึง การอ่านถ้อยคาที่มีผู้เรียบ เรียงหรือประพันธ์ไว้ โดยการเปล่ง เสียง และวางจังหวะเสียงให้เป็นไป ตามความนิยม และเหมาะสมกับเรื่อง ที่อ่าน เพื่อถ่ายทอดอารมณ์ไปสู่ผู้ฟัง ซึ่งจะทาให้ผู้ฟังเกิดอารมณ์ร่วมคล้อย ตามไปกับเรื่องราว หรือรสประพันธ์ที่ อ่าน
  • 3. หลักเกณฑ์ในการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว ๑. ก่อนอ่านควรศึกษาเรืองที่อ่านให้เข้าใจ เพื่อเเบ่งวรรคตอน ่ ๒. อ่านให้คล่อง และเสียงดังพอเหมาะกับสถานที่และจานวนผู้ฟัง ๓. อ่านให้คล่องและถูกต้องตามอักขรวิธี โดยเฉพาะ ร ล คาควบ กล้าต้องออกเสียงให้ชัดเจน ๔. เน้นเสียงและถ้อยคา ตามน้าหนักความสาคัญของใจความ ใช้ เสียงและจังหวะให้เป็นไปตามเนื้อเรื่อง เช่น ดุ อ้อนวอน จริงจัง ฯลฯ ๕. อ่านออกเสียงให้เหมาะสมกับประเภทของเรื่อง เช่น ถ้าอ่านเรื่อง ที่ให้ข้อเท็จจริงทั่วไป จะอ่านออกเสียงธรรมดาให้ชัดเจน ๖. ในระหว่างที่อ่าน ควรกวาดสายตามองตัวอักษร สลับกับการเงย หน้าขึ้นมาสบตาผู้ฟัง ในลักษณะที่เหมาะสม และดูเป็นธรรมชาติ ๗. ถ้าอ่านในที่ประชุม ต้องยืนทรงตัวในท่าทางที่สง่า มือที่จับ กระดาษอยู่ในท่าทางทีเหมาะ ไม่เกร็ง ไม่ยกกระดาษ หรือเอกสารบัง หน้า หรือไม่ถือไว้ต่าเกินไปจนต้องก้มลงอ่านจนตัวงอ
  • 4. วิธีการอ่านออกเสียงข้อความที่เป็นร้อยแก้ว สร้างวัฒนธรรมคนรุ่นใหม่ให้เป็นนักอ่าน ในปัจจุบันกล่าวกันว่า/ เรากาลังอยู่ในยุคโลกาภิวัฒน์ หรือเรียกอีก อย่างว่าโลกไร้พรมแดน// แต่จะเรียกอย่างไรก็ตามเถิด/ การอ่าน/ ก็เป็น กระบวนการสาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาคนในทศวรรษนี้/ เพราะโลกของ การศึกษา/ มิได้จากัดอยูภายในห้องเรียน/ ที่มีลักษณะรูปทรงสี่เหลี่ยมเเคบๆ ่ เท่านั้น/ เเต่ข้อมูลข้าวสารสารสนเทศต่างๆ /ได้ย่อโลกให้เล็กลงเท่าที่เราอยากรู้ได้ รวดเร็ว/ ในชั่วลัดนิ้วมือเดียวอย่างที่คนโบราณกล่าวไว้/ จะมีสื่อให้อ่านอย่าง หลากหลายให้เลือก/ ทั้งสื่อสิงพิมพ์ที่เราคุ้นเคย/ ไปจนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ทเรียกว่า ่ ี่ "อินเทอร์เน็ต" เพราะการต่อสูรุกรานกันของมนุษย์ยุคใหม่/ จะใช้ข้อมูล/ สติ/ ้ ปัญญา/ และคุณภาพของคนในชาติ/ มากกว่าการใช้กาลังอาวุธเข้าประหัตประหาร กัน// หากคนในชาติด้อยคุณภาพ/ ขาดการเรียนรู้/ จะถูกครอบงาทางปัญญาได้ ง่ายๆ / จากสื่อต่างๆ จากชาติที่พัฒนาเเล้ว หากคนไม่อ่านหนังสือ/ ก็ยากที่จะพัฒนาสติปัญญา และความรู้ได้/ โดยเฉพาะประเทศที่กาลังพัฒนา/ จะต้องทุ่มเทให้คนมีนิสัยรักการอ่าน/ มีทักษะใน การอ่าน/ และพัฒนาวิธีการอ่านให้เป็นนักอ่านที่ด// นักอ่านที่ดีจะมีภูมคุ้มกันการ ี ิ ครอบงาทางปัญญาได้เป็นอย่าง/ รู้เท่ากันคน และสามารถแก้ปัญหาได้ดี ชาติก้าวไกลด้วยคนไทยรักการอ่าน : มานพ ศรีเทียม
  • 5. *เครื่องหมาย / หมายถึง การ หยุดเว้นช่วงจังหวะสั้นๆ เครื่องหมาย // หมายถึง การ หยุดเว้นช่วงจังหวะที่ยาวกว่า เครื่องหมาย / เครื่องหมาย ____ หมายถึง การเน้น การเพิ่มน้าหนักของ เสียง