SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
การเจริญของเอ็มบริโอคน
งานนาเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ชีววิทยา 4 (ว30244)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครูชานาญการ (คศ.2) สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 1 กรุงเทพมหานคร
ประวัติการศึกษา :
- พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
- พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา
เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 5 ห้อง 341
ญาดา วัจฉละฐิติ เลขที่ 1
ณัฐประภา ขวัญวงศ์ เลขที่ 5
พิชฎา จารุศักดิ์เสถียร เลขที่ 12
ภัทลดา สุรกิจชัย เลขที่ 16
สิรินยา วงศ์ณิชชากุล เลขที่ 23
คานา
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ชีววิทยา ว30244 ชั้นมัธยมศึกษา 5 จัดทาโดยนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 341 มีจุดประสงค์ในการศึกษาเพื่อให้ได้ความรู้ในเรื่อง การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอของ
คน โดยศึกษาจากแหล่งความรู้ต่างๆ เพื่อนาองค์ความรู้มานาเสนอเป็นสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบโปสเตอร์ต่อไป
คณะผู้จัดทาหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน นักเรียน หรือ ผู้ที่กาลังศึกษาหาข้อมูล
เกี่ยวกับเอ็มบริโอของคน หากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาอภัย และ น้อมรับคาติชมมา ณ ที่นี้
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
หน้าปก 1
ครูผู้สอน 2
รายชื่อสมาชิก 3
คานา 4
สารบัญ 5
บทนา 6
การเจริญเติบโตของคนในระยะ embryo 8
การเจริญเติบโตของคนในระยะ fetus 10
การเจริญเติบโตของคนหลังคลอด 12
สภาวะบางประการที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ 14
การผสมเทียม (GIFT) 16
การผสมเทียม (IVF) 19
การผสมเทียม ( ICSI ) 22
ผสมเทียม ( ZIFT ) 24
ภาคผนวก 26
ไข่เมื่อได้รับการผสมแล้วจะกลายเป็นไซโกต (ZYGOTE) แล้วมีการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซีส ไซโกตจะมีการเปลี่ยนแปลงต่อเนื่องกัน 4
ระยะ คือ
1.CLEAVAGE เริ่มจากไซโกตแบ่งตัวจาก 1 – 2 – 4 - 8 ... จนกระทั้งเซลล์มาเกาะกันเป็นก้อนกลมๆเรียกก้อนกลมๆนี้ว่า โมรูลา
(MORULA)
2. BLASTULA เป็นตัวอ่อนในระยะที่มีการเคลื่อนที่ของเซลล์เพื่อให้ได้ช่องว่างในตัวอ่อนเรียกช่องว่างนี้ว่า BLASTOCOEL และเรียกเซลล์
ที่ล้อมช่องว่างว่า BLASTODERM ลักษณะของตัวอ่อนตอนนี้คล้ายผลน้อยหน่า
3. GASTRULA เป็นตัวอ่อนที่ต่อจากระยะ BLASTULA คือ เซลล์แบ่งตัวแล้วเคลื่อนที่เข้าข้างในเห็นตัวอ่อนเป็นรูปถ้วย ซึ่งดูคล้ายมีผนัง 2
ชั้น คือ ชั้นนอกและชั้นในและในตอนนี้จะเห็นมีช่องว่าง 2 ช่อง คือ BLASTOCOEL และ ARCHENTERON ซึ่งช่อง ARCHENTERON
ต่อไปจะเจริญไปเป็นทางเดินอาหาร ต่อมาจะเกิดเนื้อเยื่อแทรกระหว่างเนื้อเยื่อชั้นนอกและเนื้อเยื่อชั้นใน เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นใหม่นี้คือเนื้อเยื่อ
ชั้นกลางในตอนท้ายระยะ GASTRULA จะมีการสร้างระบบประสาทขึ้น
4. DIFFERENTIATION คือขบวนการที่เนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ ชั้นนอก ชั้นกลาง ชั้นใน เปลี่ยนแปลงไปเป็นโครงสร้างต่างๆของร่างกาย
เนื้อเยื่อ 3 ชั้น
บทนา
การเจริญเติบโตของคนในระยะ embryo
เราทราบมาแล้วว่าไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิจากตัวอสุจิเป็นไซโกตที่ท่อนาไข่ส่วนต้น จากนั้นก็แบ่งเซลล์เพิ่มจานวนกลายเป็นเอ็มบริโอพร้อมกับ
เคลื่อนที่มาตามท่อนาไข่ส่วนต้น จากนั้นก็แบ่งเซลล์เพิ่มจานวนกลายเป็นเอ็มบริโอพร้อมกับเคลื่อนที่มาตามท่อนาไข่ เริ่มฝังตัวในผนังมดลูกเมื่อ
อายุได้ประมาณ 7 วัน และฝังตัวติดในผนังมดลูก เมื่ออายุได้ 9 วันในช่วงนี้จะมีการสร้างรก ซึ่งเกิดจากกลุ่มเซลล์ที่อยู่ชั้นนอกของเอ็มบริโอ
เจริญร่วมกับเนื้อเยื่อชั้นในของผนังมดลูก ในระยะนี้มีการสร้างถุงน้าคร่าขึ้นด้วย
แสดงการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอระยะแรก และการฝังตัวของเอ็มบริโอคนเมื่ออายุได้ 2 สัปดาห์ เอ็มบริโอจะมีความยาวประมาณ 1.5
มิลลิเมตร มีการเจริญของเนื้อเยื่อแรกเริ่มขึ้น 3 ชั้น และในสัปดาห์ที่ 3 เริ่มปรากฏร่องรอยของระบบและอวัยวะขึ้น ซึ่งได้แก่ระบบประสาท
หัวใจมีลักษณะเป็นท่อและเริ่มเต้นเป็นจังหวะ ระยะนี้เอ็มบริโอมีความยาวประมาณ 2.3 มิลลิเมตร หลังจากนั้นเอ็มบริโอจะเริ่มมีอวัยวะต่างๆ
เจริญเพิ่มมากขึ้น แขน และขา เริ่มปรากฏชัดเจน เมื่ออายุได้ 4 สัปดาห์อวัยวะต่างๆ จะเจริญเติบโตและมีอวัยวะครบเมื่ออายุได้ 8 สัปดาห์ ซึ่ง
เป็นระยะสิ้นสุดของการเป็นเอ็มบริโอ และหลังจากระยะนี้จะเรียกว่า ฟีตัส (fetus)
การเจริญเติบโตของคนในระยะ fetus
เมื่ออายุได้ประมาณ 8-9 สัปดาห์ จะมีนิ้วมือและนิ้วเท้าเจริญเห็นได้ชัดเจน สามารถแยกเพศได้ ในช่วงเดือนที่ 4-6 ฟีตัสจะมีขนาดโตขึ้นเรื่อยๆ
มีการเคลื่อนไหวมากขึ้น มีการเจริญของกระดูก มีผม และขน ขนาดของฟีตัสในเดือนที่ 6 จะมีน้าหนักประมาณ 680 กรัม ในช่วง 3 เดือน
สุดท้ายของการตั้งครรภ์ฟีตัสจะมีขนาดโตมากขึ้นเรื่อยๆ ระยะนี้เป็นระยะที่ระบบประสาทเจริญมาก
การเจริญเติบโตของคนหลังจากแม่ตั้งครรภ์ได้ประมาณ 280 วัน ซึ่งนับจากวันแรกของการมีประจาเดือนครั้งสุดท้าย ก็ถึงระยะครบกาหนด
คลอดออกมา โดยส่วนใหญ่ ส่วนหัวของทารกจะออกมาก่อน หลังคลอดประมาณ 1 นาที ทารกจะเริ่มหายใจและติดตามด้วยเสียงร้องถ้ามีการ
คลอดหลังจากอยู่ในท้องแม่ได้เพียง 6 เดือน อาจเลี้ยงรอดชีวิตได้แต่ต้องเลี้ยงไว้ในตู้ที่ควบคุมอุณหภูมิให้ใกล้เคียงกับอุณหภูมิร่างกายของแม่
และมีเครื่องช่วยหายใจด้วย
การเจริญเติบโตของคนหลังคลอด
การเจริญเติบโตของคนในระยะหลังคลอดนี้ ส่วนใหญ่จะเป็นการเพิ่มน้าหนักตัวและความสูงขอร่างกาย ซึ่งอัตราการเจริญเติบโตของส่วน
ต่างๆ ของร่างกายจะไม่เท่ากัน นอกจากนี้การเพิ่มขนาดของอวัยวะและเนื่อเยื่อบางส่วนของคน เมื่อเทียบกับขนาดของอวัยวะและเนื้อเยื่อ
นั้นๆ เมื่อโตเต็มที่แล้ว ก็เห็นได้ชัดว่าแต่ละอวัยวะมีการเจริญเติบโตเร็วช้าต่างกันไป ดังตัวอย่างเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของสมองและ
ศีรษะ เนื้อเยื่อผลิตเซลล์เม็ดเลือดขาวและอวัยวะสืบพันธุ์ของคน การพัฒนาของสมอง พบว่า เด็กในครรภ์ซึ่งอยู่ในระยะ 2-3 เดือนก่อนคลอด
และ ระยะ 6 เดือนหลังคลอด ถ้าขาดสารอาหารที่จาเป็น จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของสมอง สมองจะพัฒนาช้า มีจานวนของ
เซลล์สมองน้อย เนื่องจาก เซลล์แบ่งตัวน้อยลง ซึ่งมีผลต่อสติปัญญาของเด็ก แก้ไขโดยการเพิ่มอาหารเพื่อแก้ไขการเจริญเติบโตของสมองเด็ก
เหล่านี้ จะแก้ไขได้เฉพาะในระยะที่สมองยังมีการเจริญเติบโตอยู่ ถ้าหลังจากนี้จะแก้ไขไม่ได้แล้ว
สภาวะบางประการที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
เซลล์ไข่ของคนนั้นมีไข่แดงน้อยมาก ดังนั้นเอ็มบริโอและฟีตัส ต้องได้รับอาหารจากแม่โดยผ่านทางรก ผู้เป็นแม่จึงต้องบริโภคอาหารให้ครบ
และเพียงพอต่อความต้องการ ได้แก่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน แร่ธาตุ และ วิตามิน โดยเฉพาะ โปรตีนที่มีกรดอะมิโนจาเป็นต่อร่างกาย
เป็นสารอาหารที่จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องบริโภค ความต้องการโปรตีนของหญิงตั้งครรภ์มีมากกว่าปกติในระยะ 3 เดือนก่อนคลอด ถ้าขาด
โปรตีนในช่วง 3 เดือนนี้จะทาให้การเจริญของระบบประสาทของทารกผิดปกติ นอกจากนี้อาหารที่มีแร่ธาตุและวิตามินต่างๆก็ต้องบริโภค
ให้มากขึ้นกว่าเดิมด้วย หญิงมีครรภ์ที่บริโภคอาหารแบบเลือกรับประทานก็ต้องปรับนิสัยการกินอาหารใหม่ มิฉะนั้นทารกที่เกิดอาจจะไม่
สมบูรณ์หรือระดับสติปัญญาต่ากว่าปกติได้
หญิงมีครรภ์ควรจะได้รับพลังงานจากอาหารวันละประมาณ 2,300 กิโลแคลอรี พลังงานที่ได้รับจากอาหารมีผลต่อน้าหนักของหญิงมีครรภ์
การเพิ่มน้าหนักตั้งแต่ตั้งครรภ์จนถึงคลอดไม่ควรเกินร้อยละ 25 ของน้าหนักเดิมก่อนตั้งครรภ์ แต่ถ้ามีน้าหนักลดลงหรือไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อ
ตั้งครรภ์ได้ 6 เดือนน้าหนักของทารกจะน้อยกว่าปกติ และ มีโอกาสที่จะคลอดก่อนกาหนดได้ สารเคมีบางอย่างที่แม่ได้รับอาจมีผลต่อการ
เจริญเติบโตของทารกได้ โดยเฉพาะการเจริญของระยะเอ็มบริโอ 2 เดือนแรก ถ้าเอ็มบริโอได้รับสารพวกเทอราโทเจน ซึ่งเป็นสารที่ทาให้
อวัยวะเจริญผิดปกติ การดื่มสุราและสูบบุหรี่อาจมีผลต่อการเจริญเติบโตอวัยวะผิดปกติได้และอาจก่อให้เกิดการแท้ง
การผสมเทียม (GIFT)
เป็นวิธีการที่เก็บเซลล์สืบพันธุ์ทั้งไข่และอสุจิมาผสมกัน จากนั้นจึงใส่
กลับเข้าสู่ท่อนาไข่ทันที เป็นวิธีการอาศัยให้อสุจิและไข่ปฏิสนธิกันเอง
ตามธรรมชาติ ความสาเร็จในการตั้งครรภ์แต่ละครั้งประมาณร้อยละ
30-40 แพทย์จะใช้วิธีการนี้ในกรณีที่
ฝ่ายชาย มีเชื้ออสุจิอ่อนแอไม่มากนัก
ฝ่ายหญิง มีท่อนาไข่ที่ปกติอย่างน้อย 1 ข้าง และมีภาวะเยื่อบุโพรง
มดลูกเจริญผิดที่และมีพังผืดมาก และวิธีการนี้สามารถใช้ได้สาหรับคู่
สมรสที่ไม่ทราบสาเหตุของการมีบุตรยาก
หมายเหตุการทากิฟท์ (GIFT) ต้องทาการผ่าตัดส่องกล้องตรงช่องท้อง
เพื่อนาไข่และอสุจิ หรือตัวอ่อนใส่เข้าไปในท่อนาไข่
ขั้นตอนการทากิฟท์
1. การกระตุ้นรังไข่ จะเริ่มทาเมื่อมีรอบเดือนมาโดยให้ยากระตุ้น ซึ่ง อาจเป็นชนิดรับประทาน ฉีด หรือพ่นเข้าจมูก และอื่นๆ โดยแพทย์จะ
พิจารณาเป็นรายๆ ไป ระยะที่ให้ยากระตุ้นรังไข่นั้น ส่วนมากนาน ประมาณ 7 ถึง 10 วัน และสามารถตรวจดูการตอบสนองของรังไข่
ได้ด้วยการตรวจอัลตร้าซาวด์เป็นหลัก รวมทั้งการตรวจเลือดดูระดับ ฮอร์โมนร่วมด้วย จนเมื่อได้ไข่ที่มีขนาดใหญ่จานวนมากพอแล้วจะ
กระตุ้นการตกไข่โดยการฉีด hCG จนผ่านไปประมาณ 34-36 ชั่วโมง ก็จะทาการเจาะไข่
2. การเจาะไข่ ทาได้โดยใช้เข็มเจาะถุงไข่แล้วดูดเอาไข่ภายในถุง
ออกมา วิธีที่นิยมในปัจจุบันมี 2 วิธีคือ
2.1 การเจาะผ่านทางผนังหน้าท้อง โดยการอาศัยกล้องตรวจ ช่องท้อง ซึ่งสามารถเห็นรังไข่ได้ชัดเจน แล้วใช้เข็มเจาะดูดไข่โดยตรง
2.2 การเจาะผ่านผนังช่องคลอด โดยการอาศัยเครื่องอัลตร้าซาวด์ ซึ่งมีเข็มเจาะและดูดไข่ติดอยู่ที่หัวตรวจทางช่องคลอด
3. การย้ายเซลล์ไข่และอสุจิเข้าสู่ท่อนาไข่ ส่วนใหญ่มักใช้การส่องกล้อง ทางหน้าท้อง (Laparoscopy) เป็นวิธีหลัก โดยไข่ที่ถูกเลือกไว้แล้ว
จะถูกดูดเข้ามาในสายยางที่ใช้สาหรับการย้ายเซลล์สืบพันธุ์เข้าท่อนา ไข่ รวมกับเชื้ออสุจิที่เตรียมไว้ สาหรับวิธีการอื่นๆ อาจทาโดยการผ่า
ตัดทางหน้าท้องเป็นแผลเล็กๆ แล้วนาท่อนาไข่ขึ้นมา จากนั้นจึงฉีด ไข่และอสุจิที่เตรียมไว้เข้าท่อนาไข่โดยตรง แต่วิธีนี้ไม่เป็นที่นิยมมาก นัก
ในปัจจุบัน
4. การให้ฮอร์โมนในระยะหลังการทากิฟท์ โดยแพทย์จะให้ฮอร์โมนช่วย ในการฝังตัวของตัวอ่อน
5. การทดสอบการตั้งครรภ์ โดยการตรวจระดับ hCG ในกระแสเลือด ประมาณ 12 วันหลังจากการทากิฟท์
การผสมเทียม (IVF)
การปฏิสนธิภายนอกร่างกาย หรือการทาเด็กหลอดแก้ว หรือที่เรียกกันเป็นภาษาอังกฤษสั้นๆ ว่า IVF (In-vitro Fertilization)
เป็นการนาไข่และอสุจิมาผสมกันให้เกิดการปฏิสนธิภายนอกร่างกายในห้องปฏิบัติการ จากนั้นจึงจะนาไข่ที่ได้รับการผสมแล้ว
(ตัวอ่อน) ย้ายกลับเข้าไปในมดลูกของฝ่ายหญิง เพื่อให้เกิดการตั้งครรภ์ต่อไปวิธีนี้เหมาะกับ
• คู่สมรสที่ฝ่ายหญิงมีท่อนาไข่อุดตันหรือท่อนาไข่ถูกทาลาย
• คู่สมรสที่ฝายชายมีปัญหาเกี่ยวกับเชื้ออสุจิ ได้แก่ มีจานวนอสุจิน้อย อสุจิเคลื่อนที่ได้ไม่ดี
• คู่สมรสที่ยังไม่ทราบสาเหตุของการมีบุตรยาก และพยายามมีบุตรมามากกว่า 3 ปีคู่สมรสที่ได้ใช้วิธีกระตุ้นการตกไข่และการ
ผสมเทียมโดยการฉีดอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง (Intrauterine Insemination: IUI) มาแล้วแต่ยังไม่ตั้งครรภ์
ขั้นตอนการทา IVF
1. แพทย์จะเลือกเก็บไข่ที่สมบูรณ์จากรังไข่โดยใช้เข็มดูดผ่านทางช่องคลอด โดยอาศัยเครื่องอัลตราซาวนด์ ซึ่ง
จาเป็นต้องให้ยาสลบเพื่อป้องกันความเจ็บปวด ใช้เวลาเก็บไข่ประมาณ 30 นาที หลังการเก็บไข่ ฝ่ายหญิงจะได้รับ
การรักษาด้วยฮอร์โมนชนิดสอดช่องคลอดหรือฉีดอย่างต่อเนื่อง เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการย้ายตัวอ่อนเข้าโพรง
มดลูก
2. ไข่และอสุจิจะถูกผสมกันในห้องปฏิบัติการเลี้ยงและควบคุมคุณภาพตัวอ่อน จากนั้นติดตามดูไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิ
ใน 2 วันต่อมา
3. ในวันถัดมา ไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิจะกลายเป็นตัวอ่อน พร้อมที่จะย้ายเข้าโพรงมดลูกซึ่งมักจะทาในวันที่ 3-5 หลัง
วันเก็บไข่ ซึ่งขั้นตอนของการย้ายตัวอ่อนเข้าโพรงมดลูกไม่จาเป็นต้องงดน้าและอาหารก่อนมาโรงพยาบาล ไม่
จาเป็นต้องดมยาสลบ และใช้เวลาประมาณ 30 นาที
การย้ายตัวอ่อนสามารถทาได้ในช่วงระยะเวลาที่แตกต่างกัน ดังนี้การย้ายตัวอ่อนใน
ระยะบลาสโตซิสต์ (blastocyst transfer) เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่นามาใช้ในการ
ช่วยเหลือคู่สมรสที่มีบุตรยาก โดยการเพาะเลี้ยงตัวอ่อนไว้ภายนอกร่างกายจนตัว
อ่อนเจริญเติบโตถึงระยะพร้อมฝังตัว (ใช้ระยะเวลา 5 วันหลังการผสม) ที่เรียกว่าบ
ลาสโตซิสต์ (blastocyst) แล้วจึงค่อยใส่กลับเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อให้ตัวอ่อนฝัง
ตัวและเกิดการตั้งครรภ์ ด้วยวิธีนี้จะช่วยให้ตัวอ่อนพร้อมฝังตัว เพิ่มโอกาสในการ
ตั้งครรภ์การย้ายตัวอ่อนในระยะวันที่ 3 หลังการผสม (day 3 transfer)เป็นวิธีการ
เพาะเลี้ยงตัวอ่อนภายนอกร่างกายจนตัวอ่อนมีการแบ่งเซลล์เป็น 6-8 เซลล์ ซึ่งใช้
เวลาประมาณ 3 วันหลังการผสม แล้วจึงใส่กลับเข้าไปในโพรงมดลูก
กระบวนการทาเด็กหลอดแก้วใช้เวลาทั้งสิ้นประมาณ 4-6 สัปดาห์จึงจะสมบูรณ์
โดยหลังการย้ายตัวอ่อนเข้าโพรงมดลูกประมาณ 2 สัปดาห์แพทย์จะนัดมาตรวจ
เลือดเพื่อทดสอบการตั้งครรภ์
การผสมเทียม ( ICSI )
ICSI หรือ Intracytoplasmic sperminjection คือการที่แพทย์คัดเอาตัวอสุจิที่มีความแข็งแรงที่สุด ผ่านด้วยวิธีการส่องด้วยกล้อง
จุลทรรศน์และฉีดเข้าไป เพื่อให้ผสมกับไข่แบบเจาะจงด้วยเข็มขนาดเล็ก พอผสมกันแล้วจะนาไปเลี้ยงในห้องปฏิบัติการด้วยน้ายา
เลี้ยงพิเศษ จากนั้นเมื่อตัวอ่อนพัฒนาไปอยู่ในระยะที่เหมาะสมแล้ว ก็จะนาเข้าไปใส่ในโพรงมดลูกเพื่อให้มีการตั้งครรภ์ต่อไป
ICSI เป็นวิวัฒนาการในวงการแพทย์ที่จะช่วยแก้ปัญหาภาวะผู้มีบุตรยากของคู่สมรสที่แต่งงานกันมาหลายปี และยังเป็นอีกทางเลือก
สาหรับคู่ที่มีปัญหาการสืบพันธุ์อันเนื่องมาจากฝ่ายชาย โดยเป็นหนึ่งในขั้นตอนที่เพิ่มเติมมาจากการทาเด็กหลอดแก้ว ซึ่งช่วยให้
ผลลัพธ์ของโอกาสที่จะเกิดการตั้งครรภ์อย่างสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
ขั้นตอนของการทา ICSI
1. แพทย์จะทาการกระตุ้นการตกไข่ของฝ่ายหญิงให้มีปริมาณมากกว่า 1 ใบ ด้วย
การฉีดยาตั้งแต่วันที่ 2 ของรอบเดือน เป็นเวลา 10 วัน
2. ติดตามการตกไข่และดูขนาดของไข่ด้วยการเจาะเลือดและอัลตราซาวด์ เมื่อไข่
มีขนาดสมบูรณ์ แพทย์ก็จะทาการดูดไข่และเก็บน้าอสุจิของฝ่ายชายในวัน
เดียวกัน
3. แพทย์ทาการคัดเลือกอสุจิที่สมบูรณ์และแข็งแรงที่สุด แล้วทาการเจาะไข่เพื่อ
ฉีดตัวอสุจิเข้าไปให้ผสมกับไข่โดยตรง เพื่อให้เกิดการปฏิสนธิ
4. ทาการเลี้ยงไข่ที่ผสมแล้วจนถึงเวลา 3 – 5 วัน และนากลับมาไว้ในโพรงมดลูก
เพื่อให้ตัวอ่อนเจริญเติบโตในครรภ์ของฝ่ายหญิงต่อไป
ผสมเทียม ( ZIFT )
การทาซิฟท์ (ZIFT) คือ การรักษาภาวะมีบุตรยากในคู่สมรสที่ไข่และ
อสุจิไม่สามารถพบกันเองได้ตามธรรมชาติ ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจาก ท่อนา
ไข่ ทางานผิดปกติ มีภาวะเยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ มีพังผืดในอุ้งเชิงกราน
มาก ฝ่ายชายมีจานวนตัวอสุจิน้อยกว่าปกติ หรือในบางรายที่หาสาเหตุ
ไม่พบ วิธีการทาซิฟท์จะคล้ายกับการทากิ๊ฟร่วมกับการทาเด็กหลอดแก้ว
คือ มีการเจาะเก็บไข่และนามาปฏิสนธิกับอสุจิภายนอกร่างกาย แล้ว
เลี้ยงตัวอ่อน อีก 1-2 วันจากนั้นแพทย์จะทาการนาตัวอ่อนใส่กลับเข้าไป
ในท่อนาไข่โดยการเจาะผ่านทางหน้าท้อง ดังนั้นฝ่ายหญิงจะต้องมีท่อนา
ไข่ปกติอย่าง น้อย 1 ข้าง ข้อดีของการทาซิฟท์ คือ สามารถแน่ใจได้ว่า
ไข่และอสุจิมีการปฏิสนธิกันแล้ว อัตราความสาเร็จของวิธีนี้ประมาณ
30-40% ต่อ รอบการรักษา
วิธี ZIFT เหมาะกับ
1. ในฝ่ายหญิงนั้นมีความผิดปกติที่เกี่ยวกับท่อนาไข่
แต่ควรมี ข้างที่ปกติอย่างน้อย 1 ข้าง
2. ฝ่ายหญิงมีภาวะที่เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่
3. ฝ่ายหญิงมีพังผืดในอุ้งเชิงกรานมาก และอาจรักษา
ด้วยวิธีอื่นไม่ได้ผล
4. ฝ่ายหญิงมีภูมิต้านทานต่อตัวอสุจิในมูกของปากมดลูก
หรือ ในกระแสเลือด
5. ฝ่ายชายมีตัวอสุจิน้อย หรือเคลื่อนไหวช้า
6. ทั้งคู่สามีภรรยา มีบุตรยากมาแล้วนานกว่า 2 ปี โดยไม่
ทราบ สาเหตุความผิดปกติ
ขั้นตอนการทาซิฟท์
1. ใช้ยาเพื่อกระตุ้นให้มีการเจริญของไข่ครั้งละหลายๆ ใบ
2. ควบคุมการสุกของไข่ ควรได้อย่างน้อย 3-4 ใบ
3. ทาการเก็บไข่ที่สุกแล้ว โดยใช้เข็มดูดผ่านทางผนังช่องคลอด
4. นาอสุจิที่เตรียมแล้วผสมกับไข่
5. เก็บไว้ในตู้เลี้ยงตัวอ่อนนาน 16-18 ชั่วโมง ดูผลการปฏิสนธิ
6. 48-72 ชั่วโมงหลังเก็บไข่ ตัวอ่อนจะมีการแบ่งตัว และพร้อมที่จะ ใส่กลับ
เข้าไปทางท่อนาไข่ เพื่อรอการฝังตัว
7. หลังจากการที่ย้ายตัวอ่อนแล้วจะมีการฉีดฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน เพื่อช่วย
ในการฝังตัว8. ประมาณ 2 สัปดาห์จากที่ย้ายตัวอ่อนจะทาการตรวจเลือดเพื่อดู
การตั้งครรภ์
ภาคผนวก
ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเอ็มบริโอของคน
นาข้อมูลที่ได้มาทาเป็นงานนาเสนอโดยโปรแกรม powerpoint
THANK YOU

More Related Content

What's hot

การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1Wichai Likitponrak
 
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5Su Surut
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคมtanakit pintong
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน Oyl Wannapa
 
Female contraception g5 342
Female contraception g5 342Female contraception g5 342
Female contraception g5 342Jin Chinphanee
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชันkruoyl ppk
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1
 
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5
 
Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
Present Skb
Present SkbPresent Skb
Present Skb
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
 
Female contraception g5 342
Female contraception g5 342Female contraception g5 342
Female contraception g5 342
 
ประวัตินางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
ประวัตินางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีประวัตินางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
ประวัตินางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
Nut1
Nut1Nut1
Nut1
 

Similar to Human embryo 341 group 5

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1Wichai Likitponrak
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2Wichai Likitponrak
 
งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342
งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342
งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342ChanyaProm
 
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1Wichai Likitponrak
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬาไชยยา มะณี
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬาไชยยา มะณี
 
การแนะนำบทเรียน ม6
การแนะนำบทเรียน ม6การแนะนำบทเรียน ม6
การแนะนำบทเรียน ม6Wichai Likitponrak
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...surapha97
 

Similar to Human embryo 341 group 5 (20)

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์
 
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
 
ชบา_กลุ่ม5_341
ชบา_กลุ่ม5_341ชบา_กลุ่ม5_341
ชบา_กลุ่ม5_341
 
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
 
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
 
งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342
งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342
งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342
 
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
Cellularres tu
Cellularres tuCellularres tu
Cellularres tu
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
 
เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60
 
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
 
การแนะนำบทเรียน ม6
การแนะนำบทเรียน ม6การแนะนำบทเรียน ม6
การแนะนำบทเรียน ม6
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
1 ecosystem 2
1 ecosystem 21 ecosystem 2
1 ecosystem 2
 

Human embryo 341 group 5

  • 1. การเจริญของเอ็มบริโอคน งานนาเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ชีววิทยา 4 (ว30244) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูชานาญการ (คศ.2) สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 1 กรุงเทพมหานคร ประวัติการศึกษา : - พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต - พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
  • 3. รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 5 ห้อง 341 ญาดา วัจฉละฐิติ เลขที่ 1 ณัฐประภา ขวัญวงศ์ เลขที่ 5 พิชฎา จารุศักดิ์เสถียร เลขที่ 12 ภัทลดา สุรกิจชัย เลขที่ 16 สิรินยา วงศ์ณิชชากุล เลขที่ 23
  • 4. คานา รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ชีววิทยา ว30244 ชั้นมัธยมศึกษา 5 จัดทาโดยนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 341 มีจุดประสงค์ในการศึกษาเพื่อให้ได้ความรู้ในเรื่อง การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอของ คน โดยศึกษาจากแหล่งความรู้ต่างๆ เพื่อนาองค์ความรู้มานาเสนอเป็นสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบโปสเตอร์ต่อไป คณะผู้จัดทาหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน นักเรียน หรือ ผู้ที่กาลังศึกษาหาข้อมูล เกี่ยวกับเอ็มบริโอของคน หากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาอภัย และ น้อมรับคาติชมมา ณ ที่นี้ คณะผู้จัดทา
  • 5. สารบัญ หน้าปก 1 ครูผู้สอน 2 รายชื่อสมาชิก 3 คานา 4 สารบัญ 5 บทนา 6 การเจริญเติบโตของคนในระยะ embryo 8 การเจริญเติบโตของคนในระยะ fetus 10 การเจริญเติบโตของคนหลังคลอด 12 สภาวะบางประการที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ 14 การผสมเทียม (GIFT) 16 การผสมเทียม (IVF) 19 การผสมเทียม ( ICSI ) 22 ผสมเทียม ( ZIFT ) 24 ภาคผนวก 26
  • 6. ไข่เมื่อได้รับการผสมแล้วจะกลายเป็นไซโกต (ZYGOTE) แล้วมีการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซีส ไซโกตจะมีการเปลี่ยนแปลงต่อเนื่องกัน 4 ระยะ คือ 1.CLEAVAGE เริ่มจากไซโกตแบ่งตัวจาก 1 – 2 – 4 - 8 ... จนกระทั้งเซลล์มาเกาะกันเป็นก้อนกลมๆเรียกก้อนกลมๆนี้ว่า โมรูลา (MORULA) 2. BLASTULA เป็นตัวอ่อนในระยะที่มีการเคลื่อนที่ของเซลล์เพื่อให้ได้ช่องว่างในตัวอ่อนเรียกช่องว่างนี้ว่า BLASTOCOEL และเรียกเซลล์ ที่ล้อมช่องว่างว่า BLASTODERM ลักษณะของตัวอ่อนตอนนี้คล้ายผลน้อยหน่า 3. GASTRULA เป็นตัวอ่อนที่ต่อจากระยะ BLASTULA คือ เซลล์แบ่งตัวแล้วเคลื่อนที่เข้าข้างในเห็นตัวอ่อนเป็นรูปถ้วย ซึ่งดูคล้ายมีผนัง 2 ชั้น คือ ชั้นนอกและชั้นในและในตอนนี้จะเห็นมีช่องว่าง 2 ช่อง คือ BLASTOCOEL และ ARCHENTERON ซึ่งช่อง ARCHENTERON ต่อไปจะเจริญไปเป็นทางเดินอาหาร ต่อมาจะเกิดเนื้อเยื่อแทรกระหว่างเนื้อเยื่อชั้นนอกและเนื้อเยื่อชั้นใน เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นใหม่นี้คือเนื้อเยื่อ ชั้นกลางในตอนท้ายระยะ GASTRULA จะมีการสร้างระบบประสาทขึ้น 4. DIFFERENTIATION คือขบวนการที่เนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ ชั้นนอก ชั้นกลาง ชั้นใน เปลี่ยนแปลงไปเป็นโครงสร้างต่างๆของร่างกาย เนื้อเยื่อ 3 ชั้น บทนา
  • 7.
  • 8. การเจริญเติบโตของคนในระยะ embryo เราทราบมาแล้วว่าไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิจากตัวอสุจิเป็นไซโกตที่ท่อนาไข่ส่วนต้น จากนั้นก็แบ่งเซลล์เพิ่มจานวนกลายเป็นเอ็มบริโอพร้อมกับ เคลื่อนที่มาตามท่อนาไข่ส่วนต้น จากนั้นก็แบ่งเซลล์เพิ่มจานวนกลายเป็นเอ็มบริโอพร้อมกับเคลื่อนที่มาตามท่อนาไข่ เริ่มฝังตัวในผนังมดลูกเมื่อ อายุได้ประมาณ 7 วัน และฝังตัวติดในผนังมดลูก เมื่ออายุได้ 9 วันในช่วงนี้จะมีการสร้างรก ซึ่งเกิดจากกลุ่มเซลล์ที่อยู่ชั้นนอกของเอ็มบริโอ เจริญร่วมกับเนื้อเยื่อชั้นในของผนังมดลูก ในระยะนี้มีการสร้างถุงน้าคร่าขึ้นด้วย แสดงการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอระยะแรก และการฝังตัวของเอ็มบริโอคนเมื่ออายุได้ 2 สัปดาห์ เอ็มบริโอจะมีความยาวประมาณ 1.5 มิลลิเมตร มีการเจริญของเนื้อเยื่อแรกเริ่มขึ้น 3 ชั้น และในสัปดาห์ที่ 3 เริ่มปรากฏร่องรอยของระบบและอวัยวะขึ้น ซึ่งได้แก่ระบบประสาท หัวใจมีลักษณะเป็นท่อและเริ่มเต้นเป็นจังหวะ ระยะนี้เอ็มบริโอมีความยาวประมาณ 2.3 มิลลิเมตร หลังจากนั้นเอ็มบริโอจะเริ่มมีอวัยวะต่างๆ เจริญเพิ่มมากขึ้น แขน และขา เริ่มปรากฏชัดเจน เมื่ออายุได้ 4 สัปดาห์อวัยวะต่างๆ จะเจริญเติบโตและมีอวัยวะครบเมื่ออายุได้ 8 สัปดาห์ ซึ่ง เป็นระยะสิ้นสุดของการเป็นเอ็มบริโอ และหลังจากระยะนี้จะเรียกว่า ฟีตัส (fetus)
  • 9.
  • 10. การเจริญเติบโตของคนในระยะ fetus เมื่ออายุได้ประมาณ 8-9 สัปดาห์ จะมีนิ้วมือและนิ้วเท้าเจริญเห็นได้ชัดเจน สามารถแยกเพศได้ ในช่วงเดือนที่ 4-6 ฟีตัสจะมีขนาดโตขึ้นเรื่อยๆ มีการเคลื่อนไหวมากขึ้น มีการเจริญของกระดูก มีผม และขน ขนาดของฟีตัสในเดือนที่ 6 จะมีน้าหนักประมาณ 680 กรัม ในช่วง 3 เดือน สุดท้ายของการตั้งครรภ์ฟีตัสจะมีขนาดโตมากขึ้นเรื่อยๆ ระยะนี้เป็นระยะที่ระบบประสาทเจริญมาก การเจริญเติบโตของคนหลังจากแม่ตั้งครรภ์ได้ประมาณ 280 วัน ซึ่งนับจากวันแรกของการมีประจาเดือนครั้งสุดท้าย ก็ถึงระยะครบกาหนด คลอดออกมา โดยส่วนใหญ่ ส่วนหัวของทารกจะออกมาก่อน หลังคลอดประมาณ 1 นาที ทารกจะเริ่มหายใจและติดตามด้วยเสียงร้องถ้ามีการ คลอดหลังจากอยู่ในท้องแม่ได้เพียง 6 เดือน อาจเลี้ยงรอดชีวิตได้แต่ต้องเลี้ยงไว้ในตู้ที่ควบคุมอุณหภูมิให้ใกล้เคียงกับอุณหภูมิร่างกายของแม่ และมีเครื่องช่วยหายใจด้วย
  • 11.
  • 12. การเจริญเติบโตของคนหลังคลอด การเจริญเติบโตของคนในระยะหลังคลอดนี้ ส่วนใหญ่จะเป็นการเพิ่มน้าหนักตัวและความสูงขอร่างกาย ซึ่งอัตราการเจริญเติบโตของส่วน ต่างๆ ของร่างกายจะไม่เท่ากัน นอกจากนี้การเพิ่มขนาดของอวัยวะและเนื่อเยื่อบางส่วนของคน เมื่อเทียบกับขนาดของอวัยวะและเนื้อเยื่อ นั้นๆ เมื่อโตเต็มที่แล้ว ก็เห็นได้ชัดว่าแต่ละอวัยวะมีการเจริญเติบโตเร็วช้าต่างกันไป ดังตัวอย่างเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของสมองและ ศีรษะ เนื้อเยื่อผลิตเซลล์เม็ดเลือดขาวและอวัยวะสืบพันธุ์ของคน การพัฒนาของสมอง พบว่า เด็กในครรภ์ซึ่งอยู่ในระยะ 2-3 เดือนก่อนคลอด และ ระยะ 6 เดือนหลังคลอด ถ้าขาดสารอาหารที่จาเป็น จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของสมอง สมองจะพัฒนาช้า มีจานวนของ เซลล์สมองน้อย เนื่องจาก เซลล์แบ่งตัวน้อยลง ซึ่งมีผลต่อสติปัญญาของเด็ก แก้ไขโดยการเพิ่มอาหารเพื่อแก้ไขการเจริญเติบโตของสมองเด็ก เหล่านี้ จะแก้ไขได้เฉพาะในระยะที่สมองยังมีการเจริญเติบโตอยู่ ถ้าหลังจากนี้จะแก้ไขไม่ได้แล้ว
  • 13.
  • 14. สภาวะบางประการที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ เซลล์ไข่ของคนนั้นมีไข่แดงน้อยมาก ดังนั้นเอ็มบริโอและฟีตัส ต้องได้รับอาหารจากแม่โดยผ่านทางรก ผู้เป็นแม่จึงต้องบริโภคอาหารให้ครบ และเพียงพอต่อความต้องการ ได้แก่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน แร่ธาตุ และ วิตามิน โดยเฉพาะ โปรตีนที่มีกรดอะมิโนจาเป็นต่อร่างกาย เป็นสารอาหารที่จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องบริโภค ความต้องการโปรตีนของหญิงตั้งครรภ์มีมากกว่าปกติในระยะ 3 เดือนก่อนคลอด ถ้าขาด โปรตีนในช่วง 3 เดือนนี้จะทาให้การเจริญของระบบประสาทของทารกผิดปกติ นอกจากนี้อาหารที่มีแร่ธาตุและวิตามินต่างๆก็ต้องบริโภค ให้มากขึ้นกว่าเดิมด้วย หญิงมีครรภ์ที่บริโภคอาหารแบบเลือกรับประทานก็ต้องปรับนิสัยการกินอาหารใหม่ มิฉะนั้นทารกที่เกิดอาจจะไม่ สมบูรณ์หรือระดับสติปัญญาต่ากว่าปกติได้ หญิงมีครรภ์ควรจะได้รับพลังงานจากอาหารวันละประมาณ 2,300 กิโลแคลอรี พลังงานที่ได้รับจากอาหารมีผลต่อน้าหนักของหญิงมีครรภ์ การเพิ่มน้าหนักตั้งแต่ตั้งครรภ์จนถึงคลอดไม่ควรเกินร้อยละ 25 ของน้าหนักเดิมก่อนตั้งครรภ์ แต่ถ้ามีน้าหนักลดลงหรือไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อ ตั้งครรภ์ได้ 6 เดือนน้าหนักของทารกจะน้อยกว่าปกติ และ มีโอกาสที่จะคลอดก่อนกาหนดได้ สารเคมีบางอย่างที่แม่ได้รับอาจมีผลต่อการ เจริญเติบโตของทารกได้ โดยเฉพาะการเจริญของระยะเอ็มบริโอ 2 เดือนแรก ถ้าเอ็มบริโอได้รับสารพวกเทอราโทเจน ซึ่งเป็นสารที่ทาให้ อวัยวะเจริญผิดปกติ การดื่มสุราและสูบบุหรี่อาจมีผลต่อการเจริญเติบโตอวัยวะผิดปกติได้และอาจก่อให้เกิดการแท้ง
  • 15.
  • 16. การผสมเทียม (GIFT) เป็นวิธีการที่เก็บเซลล์สืบพันธุ์ทั้งไข่และอสุจิมาผสมกัน จากนั้นจึงใส่ กลับเข้าสู่ท่อนาไข่ทันที เป็นวิธีการอาศัยให้อสุจิและไข่ปฏิสนธิกันเอง ตามธรรมชาติ ความสาเร็จในการตั้งครรภ์แต่ละครั้งประมาณร้อยละ 30-40 แพทย์จะใช้วิธีการนี้ในกรณีที่ ฝ่ายชาย มีเชื้ออสุจิอ่อนแอไม่มากนัก ฝ่ายหญิง มีท่อนาไข่ที่ปกติอย่างน้อย 1 ข้าง และมีภาวะเยื่อบุโพรง มดลูกเจริญผิดที่และมีพังผืดมาก และวิธีการนี้สามารถใช้ได้สาหรับคู่ สมรสที่ไม่ทราบสาเหตุของการมีบุตรยาก หมายเหตุการทากิฟท์ (GIFT) ต้องทาการผ่าตัดส่องกล้องตรงช่องท้อง เพื่อนาไข่และอสุจิ หรือตัวอ่อนใส่เข้าไปในท่อนาไข่
  • 17. ขั้นตอนการทากิฟท์ 1. การกระตุ้นรังไข่ จะเริ่มทาเมื่อมีรอบเดือนมาโดยให้ยากระตุ้น ซึ่ง อาจเป็นชนิดรับประทาน ฉีด หรือพ่นเข้าจมูก และอื่นๆ โดยแพทย์จะ พิจารณาเป็นรายๆ ไป ระยะที่ให้ยากระตุ้นรังไข่นั้น ส่วนมากนาน ประมาณ 7 ถึง 10 วัน และสามารถตรวจดูการตอบสนองของรังไข่ ได้ด้วยการตรวจอัลตร้าซาวด์เป็นหลัก รวมทั้งการตรวจเลือดดูระดับ ฮอร์โมนร่วมด้วย จนเมื่อได้ไข่ที่มีขนาดใหญ่จานวนมากพอแล้วจะ กระตุ้นการตกไข่โดยการฉีด hCG จนผ่านไปประมาณ 34-36 ชั่วโมง ก็จะทาการเจาะไข่ 2. การเจาะไข่ ทาได้โดยใช้เข็มเจาะถุงไข่แล้วดูดเอาไข่ภายในถุง ออกมา วิธีที่นิยมในปัจจุบันมี 2 วิธีคือ 2.1 การเจาะผ่านทางผนังหน้าท้อง โดยการอาศัยกล้องตรวจ ช่องท้อง ซึ่งสามารถเห็นรังไข่ได้ชัดเจน แล้วใช้เข็มเจาะดูดไข่โดยตรง 2.2 การเจาะผ่านผนังช่องคลอด โดยการอาศัยเครื่องอัลตร้าซาวด์ ซึ่งมีเข็มเจาะและดูดไข่ติดอยู่ที่หัวตรวจทางช่องคลอด 3. การย้ายเซลล์ไข่และอสุจิเข้าสู่ท่อนาไข่ ส่วนใหญ่มักใช้การส่องกล้อง ทางหน้าท้อง (Laparoscopy) เป็นวิธีหลัก โดยไข่ที่ถูกเลือกไว้แล้ว จะถูกดูดเข้ามาในสายยางที่ใช้สาหรับการย้ายเซลล์สืบพันธุ์เข้าท่อนา ไข่ รวมกับเชื้ออสุจิที่เตรียมไว้ สาหรับวิธีการอื่นๆ อาจทาโดยการผ่า ตัดทางหน้าท้องเป็นแผลเล็กๆ แล้วนาท่อนาไข่ขึ้นมา จากนั้นจึงฉีด ไข่และอสุจิที่เตรียมไว้เข้าท่อนาไข่โดยตรง แต่วิธีนี้ไม่เป็นที่นิยมมาก นัก ในปัจจุบัน 4. การให้ฮอร์โมนในระยะหลังการทากิฟท์ โดยแพทย์จะให้ฮอร์โมนช่วย ในการฝังตัวของตัวอ่อน 5. การทดสอบการตั้งครรภ์ โดยการตรวจระดับ hCG ในกระแสเลือด ประมาณ 12 วันหลังจากการทากิฟท์
  • 18.
  • 19. การผสมเทียม (IVF) การปฏิสนธิภายนอกร่างกาย หรือการทาเด็กหลอดแก้ว หรือที่เรียกกันเป็นภาษาอังกฤษสั้นๆ ว่า IVF (In-vitro Fertilization) เป็นการนาไข่และอสุจิมาผสมกันให้เกิดการปฏิสนธิภายนอกร่างกายในห้องปฏิบัติการ จากนั้นจึงจะนาไข่ที่ได้รับการผสมแล้ว (ตัวอ่อน) ย้ายกลับเข้าไปในมดลูกของฝ่ายหญิง เพื่อให้เกิดการตั้งครรภ์ต่อไปวิธีนี้เหมาะกับ • คู่สมรสที่ฝ่ายหญิงมีท่อนาไข่อุดตันหรือท่อนาไข่ถูกทาลาย • คู่สมรสที่ฝายชายมีปัญหาเกี่ยวกับเชื้ออสุจิ ได้แก่ มีจานวนอสุจิน้อย อสุจิเคลื่อนที่ได้ไม่ดี • คู่สมรสที่ยังไม่ทราบสาเหตุของการมีบุตรยาก และพยายามมีบุตรมามากกว่า 3 ปีคู่สมรสที่ได้ใช้วิธีกระตุ้นการตกไข่และการ ผสมเทียมโดยการฉีดอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง (Intrauterine Insemination: IUI) มาแล้วแต่ยังไม่ตั้งครรภ์
  • 20. ขั้นตอนการทา IVF 1. แพทย์จะเลือกเก็บไข่ที่สมบูรณ์จากรังไข่โดยใช้เข็มดูดผ่านทางช่องคลอด โดยอาศัยเครื่องอัลตราซาวนด์ ซึ่ง จาเป็นต้องให้ยาสลบเพื่อป้องกันความเจ็บปวด ใช้เวลาเก็บไข่ประมาณ 30 นาที หลังการเก็บไข่ ฝ่ายหญิงจะได้รับ การรักษาด้วยฮอร์โมนชนิดสอดช่องคลอดหรือฉีดอย่างต่อเนื่อง เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการย้ายตัวอ่อนเข้าโพรง มดลูก 2. ไข่และอสุจิจะถูกผสมกันในห้องปฏิบัติการเลี้ยงและควบคุมคุณภาพตัวอ่อน จากนั้นติดตามดูไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิ ใน 2 วันต่อมา 3. ในวันถัดมา ไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิจะกลายเป็นตัวอ่อน พร้อมที่จะย้ายเข้าโพรงมดลูกซึ่งมักจะทาในวันที่ 3-5 หลัง วันเก็บไข่ ซึ่งขั้นตอนของการย้ายตัวอ่อนเข้าโพรงมดลูกไม่จาเป็นต้องงดน้าและอาหารก่อนมาโรงพยาบาล ไม่ จาเป็นต้องดมยาสลบ และใช้เวลาประมาณ 30 นาที
  • 21. การย้ายตัวอ่อนสามารถทาได้ในช่วงระยะเวลาที่แตกต่างกัน ดังนี้การย้ายตัวอ่อนใน ระยะบลาสโตซิสต์ (blastocyst transfer) เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่นามาใช้ในการ ช่วยเหลือคู่สมรสที่มีบุตรยาก โดยการเพาะเลี้ยงตัวอ่อนไว้ภายนอกร่างกายจนตัว อ่อนเจริญเติบโตถึงระยะพร้อมฝังตัว (ใช้ระยะเวลา 5 วันหลังการผสม) ที่เรียกว่าบ ลาสโตซิสต์ (blastocyst) แล้วจึงค่อยใส่กลับเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อให้ตัวอ่อนฝัง ตัวและเกิดการตั้งครรภ์ ด้วยวิธีนี้จะช่วยให้ตัวอ่อนพร้อมฝังตัว เพิ่มโอกาสในการ ตั้งครรภ์การย้ายตัวอ่อนในระยะวันที่ 3 หลังการผสม (day 3 transfer)เป็นวิธีการ เพาะเลี้ยงตัวอ่อนภายนอกร่างกายจนตัวอ่อนมีการแบ่งเซลล์เป็น 6-8 เซลล์ ซึ่งใช้ เวลาประมาณ 3 วันหลังการผสม แล้วจึงใส่กลับเข้าไปในโพรงมดลูก กระบวนการทาเด็กหลอดแก้วใช้เวลาทั้งสิ้นประมาณ 4-6 สัปดาห์จึงจะสมบูรณ์ โดยหลังการย้ายตัวอ่อนเข้าโพรงมดลูกประมาณ 2 สัปดาห์แพทย์จะนัดมาตรวจ เลือดเพื่อทดสอบการตั้งครรภ์
  • 22. การผสมเทียม ( ICSI ) ICSI หรือ Intracytoplasmic sperminjection คือการที่แพทย์คัดเอาตัวอสุจิที่มีความแข็งแรงที่สุด ผ่านด้วยวิธีการส่องด้วยกล้อง จุลทรรศน์และฉีดเข้าไป เพื่อให้ผสมกับไข่แบบเจาะจงด้วยเข็มขนาดเล็ก พอผสมกันแล้วจะนาไปเลี้ยงในห้องปฏิบัติการด้วยน้ายา เลี้ยงพิเศษ จากนั้นเมื่อตัวอ่อนพัฒนาไปอยู่ในระยะที่เหมาะสมแล้ว ก็จะนาเข้าไปใส่ในโพรงมดลูกเพื่อให้มีการตั้งครรภ์ต่อไป ICSI เป็นวิวัฒนาการในวงการแพทย์ที่จะช่วยแก้ปัญหาภาวะผู้มีบุตรยากของคู่สมรสที่แต่งงานกันมาหลายปี และยังเป็นอีกทางเลือก สาหรับคู่ที่มีปัญหาการสืบพันธุ์อันเนื่องมาจากฝ่ายชาย โดยเป็นหนึ่งในขั้นตอนที่เพิ่มเติมมาจากการทาเด็กหลอดแก้ว ซึ่งช่วยให้ ผลลัพธ์ของโอกาสที่จะเกิดการตั้งครรภ์อย่างสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
  • 23. ขั้นตอนของการทา ICSI 1. แพทย์จะทาการกระตุ้นการตกไข่ของฝ่ายหญิงให้มีปริมาณมากกว่า 1 ใบ ด้วย การฉีดยาตั้งแต่วันที่ 2 ของรอบเดือน เป็นเวลา 10 วัน 2. ติดตามการตกไข่และดูขนาดของไข่ด้วยการเจาะเลือดและอัลตราซาวด์ เมื่อไข่ มีขนาดสมบูรณ์ แพทย์ก็จะทาการดูดไข่และเก็บน้าอสุจิของฝ่ายชายในวัน เดียวกัน 3. แพทย์ทาการคัดเลือกอสุจิที่สมบูรณ์และแข็งแรงที่สุด แล้วทาการเจาะไข่เพื่อ ฉีดตัวอสุจิเข้าไปให้ผสมกับไข่โดยตรง เพื่อให้เกิดการปฏิสนธิ 4. ทาการเลี้ยงไข่ที่ผสมแล้วจนถึงเวลา 3 – 5 วัน และนากลับมาไว้ในโพรงมดลูก เพื่อให้ตัวอ่อนเจริญเติบโตในครรภ์ของฝ่ายหญิงต่อไป
  • 24. ผสมเทียม ( ZIFT ) การทาซิฟท์ (ZIFT) คือ การรักษาภาวะมีบุตรยากในคู่สมรสที่ไข่และ อสุจิไม่สามารถพบกันเองได้ตามธรรมชาติ ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจาก ท่อนา ไข่ ทางานผิดปกติ มีภาวะเยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ มีพังผืดในอุ้งเชิงกราน มาก ฝ่ายชายมีจานวนตัวอสุจิน้อยกว่าปกติ หรือในบางรายที่หาสาเหตุ ไม่พบ วิธีการทาซิฟท์จะคล้ายกับการทากิ๊ฟร่วมกับการทาเด็กหลอดแก้ว คือ มีการเจาะเก็บไข่และนามาปฏิสนธิกับอสุจิภายนอกร่างกาย แล้ว เลี้ยงตัวอ่อน อีก 1-2 วันจากนั้นแพทย์จะทาการนาตัวอ่อนใส่กลับเข้าไป ในท่อนาไข่โดยการเจาะผ่านทางหน้าท้อง ดังนั้นฝ่ายหญิงจะต้องมีท่อนา ไข่ปกติอย่าง น้อย 1 ข้าง ข้อดีของการทาซิฟท์ คือ สามารถแน่ใจได้ว่า ไข่และอสุจิมีการปฏิสนธิกันแล้ว อัตราความสาเร็จของวิธีนี้ประมาณ 30-40% ต่อ รอบการรักษา วิธี ZIFT เหมาะกับ 1. ในฝ่ายหญิงนั้นมีความผิดปกติที่เกี่ยวกับท่อนาไข่ แต่ควรมี ข้างที่ปกติอย่างน้อย 1 ข้าง 2. ฝ่ายหญิงมีภาวะที่เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ 3. ฝ่ายหญิงมีพังผืดในอุ้งเชิงกรานมาก และอาจรักษา ด้วยวิธีอื่นไม่ได้ผล 4. ฝ่ายหญิงมีภูมิต้านทานต่อตัวอสุจิในมูกของปากมดลูก หรือ ในกระแสเลือด 5. ฝ่ายชายมีตัวอสุจิน้อย หรือเคลื่อนไหวช้า 6. ทั้งคู่สามีภรรยา มีบุตรยากมาแล้วนานกว่า 2 ปี โดยไม่ ทราบ สาเหตุความผิดปกติ
  • 25. ขั้นตอนการทาซิฟท์ 1. ใช้ยาเพื่อกระตุ้นให้มีการเจริญของไข่ครั้งละหลายๆ ใบ 2. ควบคุมการสุกของไข่ ควรได้อย่างน้อย 3-4 ใบ 3. ทาการเก็บไข่ที่สุกแล้ว โดยใช้เข็มดูดผ่านทางผนังช่องคลอด 4. นาอสุจิที่เตรียมแล้วผสมกับไข่ 5. เก็บไว้ในตู้เลี้ยงตัวอ่อนนาน 16-18 ชั่วโมง ดูผลการปฏิสนธิ 6. 48-72 ชั่วโมงหลังเก็บไข่ ตัวอ่อนจะมีการแบ่งตัว และพร้อมที่จะ ใส่กลับ เข้าไปทางท่อนาไข่ เพื่อรอการฝังตัว 7. หลังจากการที่ย้ายตัวอ่อนแล้วจะมีการฉีดฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน เพื่อช่วย ในการฝังตัว8. ประมาณ 2 สัปดาห์จากที่ย้ายตัวอ่อนจะทาการตรวจเลือดเพื่อดู การตั้งครรภ์