SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
อาหารที่เหมาะสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
1
อาหารที่เหมาะสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
การเจริญเติบโตในเด็กก่อนวัยเรียน
ความต้องการพลังงานและสารอาหาร
การจัดอาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายในเด็กก่อนวัยเรียน
การเจริญเติบโตของร่างกายและสมองจะช้า
กว่าระยะทารก แต่ในช่วง 2 ขวบปีแรก
การเจริญเติบโตก็ยังเป็นไปค่อนข้างรวดเร็ว
และจะค่อยช้าลงเมื่อมีอายุมากขึ้น
3
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
การเจริญเติบโตของเด็ก
สมอง
ร้อยละ 80 ของจำนวนเซลล์สมองของคนเราจะ
ถูกสร้างขึ้นในช่วง 3 เดือนสุดท้ายของการตั้ง
ครรภ์และเจริญเติบโตสูงสุดในช่วง 2 ปีแรก
4
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
1
2
3
4
อัตราการเจริญเติบโตของเด็กปกติ
อายุ(YR) น้ำหนัก (GM/DAY) ความยาว (CM/MO) เส้นรอบศีรษะ CM/YR)
1
2
3
4
5
6
4-10 0.7-1.1 (25cm/yr) 1
4-10 0.7-1.1 (12 cm/yr) 2
4-10 0.7-1.1 0.5
5-8 0.5-0.8
1
3-10ปี จะเพิ่ม1ซม./3ปี5-8 0.5-0.8
1
3-10ปี จะเพิ่ม1ซม./3ปี
5-12 0.4-0.6
1
3-10ปี จะเพิ่ม1ซม./3ปี
กระหม่อม
หน้าปิด
ดัดแปลงจาก : คู่มือการดูแลผู้ป่วยเด็กทางโภชนาการ และการอบรมเลี้ยงดูเด็กจากแรกเกิดถึง5ปี 5
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
6
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
7
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ความต้องการพลังงาน
และสารอาหาร
ในเด็กก่อนวัยเรียน
8
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
5
6
7
8
วิธีประเมินพลังงานต่อวันในเด็ก
สูตร Holliday-Segar
น้ำหนักตัว 1-10 kg = 100 kcal/kg/d
น้ำหนักตัว 11-20 kg = 1000 kcal+(50kcal x น้ำหนักตัวที่มากกว่า 10kg)
น้ำหนักตัว >20 kg = 1500 kcal+(20kcal x น้ำหนักตัวที่มากกว่า 20kg)
เช่น 1. เด็กชายแบงค์ อายุ 1ขวบ มีน้ำหนัก 7 kg ควรได้รับพลังงานกี่ kcal/d
100 kcal x 7kg = 700 kcal/d
2.เด็กหญิงมิ้น อายุ 1 ปี 9 เดือน มีน้ำหนัก 12 kgควรได้รับพลังงานกี่ kcal/d
1000 kcal +(50kcal x 2) = 1100 kcal/d 9
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
สัดส่วนพลังงานสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
อายุ (YR) โปรตีน (%) คาร์โบไฮเดรท (%) ไขมัน (%)
1-3 5-20 45-65 30-40
4-6 10-30 45-65 25-35
คู่มือการดูแลผู้ป่วยเด็กทางโภชนาการ 10
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ความต้องการพลังงานและสารอาหารในเด็ก
อายุ
พลังงาน
(KCAL)
CHO
(G/DAY)
โปรตีน
G/DAY G/KG/DAY
โปรตีน
G/DAY G/KG/DAY
กรดไขมันจำเป็น
PUFA MUFA
G/DAY G/DAY
กรดไขมันจำเป็น
PUFA MUFA
G/DAY G/DAY
1-3 ปี 102 130 13 1.05 7 0.7
4-6 ปี 70 130 19 0.95 10 0.9
Dietary reference intakes (DRIs) 11
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
การจัดอาหารสำหรับเด็กวัยก่อนเรียน
ข้าวเป็นหลัก
นมเป็นอาหารเสริม
อาหารว่าง (ควรเป็นผลไม้แทนขนมและน้ำอัดลม)
ครบทั้ง 6หมวดอาหาร
12
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
9
10
11
12
ปริมาณอาหาร 1วันในเด็กก่อนวัยเรียน
หมวดอาหาร (ส่วน) อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 6-7 ปี
ข้าว-แป้ง (ทัพพี) 3 5 8
ผัก (ทัพพี) 2 3 4
ผลไม้ (ส่วน) 3 3 3
เนื้อสัตว์ (ช้อนโต๊ะ) 3 3 6
นม (แก้ว) 2 3 2
น้ำมัน (ช้อนชา) 5 5 6 13
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ข้าว-แป้ง อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 6-7 ปี
ส่วน (ทัพพี) 3 5 8
14
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ผัก อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 6-7 ปี
ส่วน (ทัพพี) 2 3 4
15
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
หน่วยเป็นส่วน
ผลไม้ อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 6-7 ปี
ส่วน 3 3 3
16
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
13
14
15
16
เนื้อสัตว์ อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 6-7 ปี
ส่วน (2ช้อนโต๊ะ) 3 3 6
17
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
เต้าหู้ 1 แผ่น
นม อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 6-7 ปี
ส่วน (แก้ว) 2 3 2
18
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
หน่วยเป็นช้อนชา
น้ำมัน อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 6-7 ปี
ส่วน (ช้อนชา) 5 5 6
19
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
การจัดอาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
ควรให้อาหารแก่เด็กเป็นเวลา ทั้งอาหารหลัก
และอาหารว่าง
อย่าบังคับให้เด็กกิน จัดอาหารที่มีประโยชน์
หลายๆอย่างในแต่ละมื้อ เพื่อสามารถเลือกอาหารที่
เขาชอบ
เมื่อให้อาหารชนิดใหม่แก่เด็กวัยก่อนเรียน
ควรใช้คำว่า“กินคำเดียว”ควรให้ตอนเริ่มต้นของ
มื้ออาหาร
20
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
17
18
19
20
การตักอาหารในปริมาณมากทำให้เด็กไม่อยากกิน
แบบอย่างที่ดีจะทำให้เด็กยอมรับอาหารใหม่
ถ้าคนในครอบครัวกินเด็กจะพยายามกินด้วย
ให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการเตรียมอาหาร
อุณหภูมิ รสชาติไม่จัด ลักษณะเนื้อสัมผัส จะเป็น
เหตุผลในการเลือกอาหาร เช่น เด็กจะชอบรับประทาน
อาหารที่มีสีสัน ควรเติมผักต่างๆ ลงไปในอาหาร
การจัดอาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
21
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
การจัดอาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
กระเพาะอาหารของเด็กเล็ก มีความจุจำกัด
ไม่สามารถกินอาหารในปริมาณมากๆได้
ถ้ามีอาการเหนื่อยจะกินอาหารได้น้อย ดังนั้น
ควรจัดเวลาเล่น และอาหารให้เหมาะสมก่อนถึง
เวลาอาหาร หรือให้พักผ่อนก่อนที่จะกินอาหาร
22
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
สิ่งที่ทำให้เด็กมีพฤติกรรมการกินไม่เหมาะสม
เด็กถูกพ่อแม่ยัดเยียดในเรื่องการกินมากเกินไป
บางครั้งทำให้เด็กมีพฤติกรรมต่อต้าน เช่น
การอมข้าว	
บริการและเลือกอาหารให้ลูกมากเกินไป ทำให้เป็น
คนเลือกกิน พ่อแม่บางคนชอบติดสินบนลูก ถ้ากิน
ข้าวแล้วจะให้รางวัลย์
พ่อแม่บางคนชอบใช้วิธีบังคับ ทำให้เด็กมีทัศนคติ
ที่ไม่ดีในเรื่องของการกินอาหาร	
23
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
สิ่งที่ทำให้เด็กมีพฤติกรรมการกินไม่เหมาะสม
พ่อแม่บางคนให้ลูกกินตลอดเวลา จนทำให้เด็กไม่รู้
ว่าหิวเป็นอย่างไร และไม่มีระเบียบวินัยในการกิน
สำคัญที่สุดคือพฤติกรรมของพ่อแม่เอง ทัศนคติของ
พ่อแม่ต่ออาหาร หรือนิสัยการบริโภคของพ่อแม่
อาจเป็นแบบอย่างที่ไม่ดีให้แก่เด็ก เช่น ไม่กินผัก
กินก๋วยเตี๋ยวไม่ใส่ผักชี กับถั่วงอก
24
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
21
22
23
24
ปัญหาการรับประทานอาหารในเด็กก่อนวัยเรียน
ปัญหาการรับประทานอาหาร การแก้ไขปัญหาการรับประทานอาหาร
เด็กไม่ยอมรับประทานอาหาร
เพิ่มสีสัน ไม่บังคับคะยั้นคะยอเมื่ออิ่มแล้ว เมื่อเด็กกำลังเล่นให้
บอกล่วงหน้า10-15 นาทีว่าอาหารใกล้เสร็จให้เตรียมตัวล้างมือ
ไม่ควรลงโทษ หรือให้รางวัลย์เพื่อใช้หลอกล่อเด็ก
เด็กรับประทานยาก
ให้เด็กได้เลือกอาหารบ้าง หรือดัดแปลงอาหารในหมวดหมู่
เดียวกันที่เด็กชอบ
ปัญหาท้องผูก ฝึกให้เด็กรับประทานผัก ผลไม้ วันละ2-3ทัพพี ให้เป็นนิสัย
เด็กไม่ยอมรับประทานผัก
เริ่มให้ผักที่ไม่มีกลิ่นแรง รสขม เช่น ตำลึง แครอท ใบผักบุ้ง
มะเขือเทศ ถั่วฝักยาว
เด็กชอบรับประทานอาหารรสหวาน ไม่ซื้อขนมหวาน น้ำอัดลมให้ ทดแทนโดยให้ผลไม้ นมจืด 25
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
26
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
27
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
28
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
25
26
27
28
Thank you
29
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 29

More Related Content

What's hot

การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการVorawut Wongumpornpinit
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKDPha C
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์Lilrat Witsawachatkun
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุatunya petkeaw
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารMutita Eamtip
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหาร
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 

Similar to 2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน

คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีUtai Sukviwatsirikul
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยluckana9
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่punchza
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงteeradejmwk
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด Kraisee PS
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf60919
 
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วอาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วTiwapornwa
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ110441
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ110441
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 Phet103
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23Phet103
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd finalCAPD AngThong
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่kasocute
 

Similar to 2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน (20)

Lesson 2
Lesson 2Lesson 2
Lesson 2
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
Jirarat
JiraratJirarat
Jirarat
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
16 maternal nutrition ppt
16 maternal nutrition ppt16 maternal nutrition ppt
16 maternal nutrition ppt
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
 
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วอาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd final
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 

More from Nickson Butsriwong

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้Nickson Butsriwong
 
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยรายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยNickson Butsriwong
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา Newพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา NewNickson Butsriwong
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาNickson Butsriwong
 
2.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 592.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 59Nickson Butsriwong
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 

More from Nickson Butsriwong (6)

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
 
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยรายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา Newพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
 
2.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 592.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 59
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 

2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน

  • 1. อาหารที่เหมาะสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 1 อาหารที่เหมาะสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน การเจริญเติบโตในเด็กก่อนวัยเรียน ความต้องการพลังงานและสารอาหาร การจัดอาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน 2 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายในเด็กก่อนวัยเรียน การเจริญเติบโตของร่างกายและสมองจะช้า กว่าระยะทารก แต่ในช่วง 2 ขวบปีแรก การเจริญเติบโตก็ยังเป็นไปค่อนข้างรวดเร็ว และจะค่อยช้าลงเมื่อมีอายุมากขึ้น 3 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น การเจริญเติบโตของเด็ก สมอง ร้อยละ 80 ของจำนวนเซลล์สมองของคนเราจะ ถูกสร้างขึ้นในช่วง 3 เดือนสุดท้ายของการตั้ง ครรภ์และเจริญเติบโตสูงสุดในช่วง 2 ปีแรก 4 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 1 2 3 4
  • 2. อัตราการเจริญเติบโตของเด็กปกติ อายุ(YR) น้ำหนัก (GM/DAY) ความยาว (CM/MO) เส้นรอบศีรษะ CM/YR) 1 2 3 4 5 6 4-10 0.7-1.1 (25cm/yr) 1 4-10 0.7-1.1 (12 cm/yr) 2 4-10 0.7-1.1 0.5 5-8 0.5-0.8 1 3-10ปี จะเพิ่ม1ซม./3ปี5-8 0.5-0.8 1 3-10ปี จะเพิ่ม1ซม./3ปี 5-12 0.4-0.6 1 3-10ปี จะเพิ่ม1ซม./3ปี กระหม่อม หน้าปิด ดัดแปลงจาก : คู่มือการดูแลผู้ป่วยเด็กทางโภชนาการ และการอบรมเลี้ยงดูเด็กจากแรกเกิดถึง5ปี 5 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 6 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 7 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ความต้องการพลังงาน และสารอาหาร ในเด็กก่อนวัยเรียน 8 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 5 6 7 8
  • 3. วิธีประเมินพลังงานต่อวันในเด็ก สูตร Holliday-Segar น้ำหนักตัว 1-10 kg = 100 kcal/kg/d น้ำหนักตัว 11-20 kg = 1000 kcal+(50kcal x น้ำหนักตัวที่มากกว่า 10kg) น้ำหนักตัว >20 kg = 1500 kcal+(20kcal x น้ำหนักตัวที่มากกว่า 20kg) เช่น 1. เด็กชายแบงค์ อายุ 1ขวบ มีน้ำหนัก 7 kg ควรได้รับพลังงานกี่ kcal/d 100 kcal x 7kg = 700 kcal/d 2.เด็กหญิงมิ้น อายุ 1 ปี 9 เดือน มีน้ำหนัก 12 kgควรได้รับพลังงานกี่ kcal/d 1000 kcal +(50kcal x 2) = 1100 kcal/d 9 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น สัดส่วนพลังงานสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน อายุ (YR) โปรตีน (%) คาร์โบไฮเดรท (%) ไขมัน (%) 1-3 5-20 45-65 30-40 4-6 10-30 45-65 25-35 คู่มือการดูแลผู้ป่วยเด็กทางโภชนาการ 10 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ความต้องการพลังงานและสารอาหารในเด็ก อายุ พลังงาน (KCAL) CHO (G/DAY) โปรตีน G/DAY G/KG/DAY โปรตีน G/DAY G/KG/DAY กรดไขมันจำเป็น PUFA MUFA G/DAY G/DAY กรดไขมันจำเป็น PUFA MUFA G/DAY G/DAY 1-3 ปี 102 130 13 1.05 7 0.7 4-6 ปี 70 130 19 0.95 10 0.9 Dietary reference intakes (DRIs) 11 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น การจัดอาหารสำหรับเด็กวัยก่อนเรียน ข้าวเป็นหลัก นมเป็นอาหารเสริม อาหารว่าง (ควรเป็นผลไม้แทนขนมและน้ำอัดลม) ครบทั้ง 6หมวดอาหาร 12 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 9 10 11 12
  • 4. ปริมาณอาหาร 1วันในเด็กก่อนวัยเรียน หมวดอาหาร (ส่วน) อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 6-7 ปี ข้าว-แป้ง (ทัพพี) 3 5 8 ผัก (ทัพพี) 2 3 4 ผลไม้ (ส่วน) 3 3 3 เนื้อสัตว์ (ช้อนโต๊ะ) 3 3 6 นม (แก้ว) 2 3 2 น้ำมัน (ช้อนชา) 5 5 6 13 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ข้าว-แป้ง อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 6-7 ปี ส่วน (ทัพพี) 3 5 8 14 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ผัก อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 6-7 ปี ส่วน (ทัพพี) 2 3 4 15 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น หน่วยเป็นส่วน ผลไม้ อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 6-7 ปี ส่วน 3 3 3 16 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 13 14 15 16
  • 5. เนื้อสัตว์ อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 6-7 ปี ส่วน (2ช้อนโต๊ะ) 3 3 6 17 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น เต้าหู้ 1 แผ่น นม อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 6-7 ปี ส่วน (แก้ว) 2 3 2 18 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น หน่วยเป็นช้อนชา น้ำมัน อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 6-7 ปี ส่วน (ช้อนชา) 5 5 6 19 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น การจัดอาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน ควรให้อาหารแก่เด็กเป็นเวลา ทั้งอาหารหลัก และอาหารว่าง อย่าบังคับให้เด็กกิน จัดอาหารที่มีประโยชน์ หลายๆอย่างในแต่ละมื้อ เพื่อสามารถเลือกอาหารที่ เขาชอบ เมื่อให้อาหารชนิดใหม่แก่เด็กวัยก่อนเรียน ควรใช้คำว่า“กินคำเดียว”ควรให้ตอนเริ่มต้นของ มื้ออาหาร 20 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 17 18 19 20
  • 6. การตักอาหารในปริมาณมากทำให้เด็กไม่อยากกิน แบบอย่างที่ดีจะทำให้เด็กยอมรับอาหารใหม่ ถ้าคนในครอบครัวกินเด็กจะพยายามกินด้วย ให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการเตรียมอาหาร อุณหภูมิ รสชาติไม่จัด ลักษณะเนื้อสัมผัส จะเป็น เหตุผลในการเลือกอาหาร เช่น เด็กจะชอบรับประทาน อาหารที่มีสีสัน ควรเติมผักต่างๆ ลงไปในอาหาร การจัดอาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน 21 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น การจัดอาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน กระเพาะอาหารของเด็กเล็ก มีความจุจำกัด ไม่สามารถกินอาหารในปริมาณมากๆได้ ถ้ามีอาการเหนื่อยจะกินอาหารได้น้อย ดังนั้น ควรจัดเวลาเล่น และอาหารให้เหมาะสมก่อนถึง เวลาอาหาร หรือให้พักผ่อนก่อนที่จะกินอาหาร 22 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น สิ่งที่ทำให้เด็กมีพฤติกรรมการกินไม่เหมาะสม เด็กถูกพ่อแม่ยัดเยียดในเรื่องการกินมากเกินไป บางครั้งทำให้เด็กมีพฤติกรรมต่อต้าน เช่น การอมข้าว บริการและเลือกอาหารให้ลูกมากเกินไป ทำให้เป็น คนเลือกกิน พ่อแม่บางคนชอบติดสินบนลูก ถ้ากิน ข้าวแล้วจะให้รางวัลย์ พ่อแม่บางคนชอบใช้วิธีบังคับ ทำให้เด็กมีทัศนคติ ที่ไม่ดีในเรื่องของการกินอาหาร 23 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น สิ่งที่ทำให้เด็กมีพฤติกรรมการกินไม่เหมาะสม พ่อแม่บางคนให้ลูกกินตลอดเวลา จนทำให้เด็กไม่รู้ ว่าหิวเป็นอย่างไร และไม่มีระเบียบวินัยในการกิน สำคัญที่สุดคือพฤติกรรมของพ่อแม่เอง ทัศนคติของ พ่อแม่ต่ออาหาร หรือนิสัยการบริโภคของพ่อแม่ อาจเป็นแบบอย่างที่ไม่ดีให้แก่เด็ก เช่น ไม่กินผัก กินก๋วยเตี๋ยวไม่ใส่ผักชี กับถั่วงอก 24 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 21 22 23 24
  • 7. ปัญหาการรับประทานอาหารในเด็กก่อนวัยเรียน ปัญหาการรับประทานอาหาร การแก้ไขปัญหาการรับประทานอาหาร เด็กไม่ยอมรับประทานอาหาร เพิ่มสีสัน ไม่บังคับคะยั้นคะยอเมื่ออิ่มแล้ว เมื่อเด็กกำลังเล่นให้ บอกล่วงหน้า10-15 นาทีว่าอาหารใกล้เสร็จให้เตรียมตัวล้างมือ ไม่ควรลงโทษ หรือให้รางวัลย์เพื่อใช้หลอกล่อเด็ก เด็กรับประทานยาก ให้เด็กได้เลือกอาหารบ้าง หรือดัดแปลงอาหารในหมวดหมู่ เดียวกันที่เด็กชอบ ปัญหาท้องผูก ฝึกให้เด็กรับประทานผัก ผลไม้ วันละ2-3ทัพพี ให้เป็นนิสัย เด็กไม่ยอมรับประทานผัก เริ่มให้ผักที่ไม่มีกลิ่นแรง รสขม เช่น ตำลึง แครอท ใบผักบุ้ง มะเขือเทศ ถั่วฝักยาว เด็กชอบรับประทานอาหารรสหวาน ไม่ซื้อขนมหวาน น้ำอัดลมให้ ทดแทนโดยให้ผลไม้ นมจืด 25 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 26 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 27 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 28 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 25 26 27 28