SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
ความตอ้งการสารอาหาร 
มนุษย์ทุกคนตอ้งการอาหารหรือสารอาหารในจา นวนที่ 
เพียงพอต่อความตอ้งการของร่างกาย ซึ่งในแต่ละวยัก็มีความ 
ตอ้งการสารอาหารที่ต่างกันไป 
1วัยทารก (แรกเกิด- 1 ปี) อาหารหลักคือ น้า นม นมแม่เป็น 
อาหารทีดีและเหมาะที่สุดสา หรับทารกนอกจากนมแม่แล้ว ทารกยัง 
จา เป็นตอ้งไดรั้บอาหารเสริมเช่น กล้วยสุขบด เป็นตน้
2. เด็กวัยก่อนเรียน (2 – 5 ปี) เด็กวยันี้ตอ้งการอาหารเช่นเดียวกับทารก 
ในระยะ 1 ปีแรก แต่ตอ้งการปริมาณมากข้นึ เพราะมีความสา คัญต่อการ 
เจริญเติบโต 
3. เด็กวัยเรียน (6 – 13 ปี) เป็นวยัที่ร่างกายกา ลังเจริญเติบโตชา้ ๆ แต่ 
สมา่ เสมอ การที่จะเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ไดเ้ด็กต้องไดอ้าหารถูกต้อง ตาม 
หลักโภชนาการในปริมาณที่เหมาะสม และเพียงพอกับความตอ้งการของ 
ร่างกาย ปัญหาโภชนาการของเด็กวยันี้คือไดรั้บอาหารโปรตนีและแคลอรี่ไม่ 
เพียงพอกับความตอ้งการของร่างกาย ทา ใหมี้น้า หนักตา่ กว่าเกณฑ์มาตรฐาน 
กลายเป็นโรคขาดสารอาหาร หรือไดรั้บมากเกินไปทา ใหภ้าวะโภชนาการเกิน 
หรือเป็นโรคอว้น ซึ่งอาจเกิดโรคแทรกซอ้น ไดแ้ก่ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือด 
หัวใจตบีตัน ความดันโลหติสูง ไขข้ออักเสบ
4. เด็กวัยรุ่น (13 – 19 ปี) วยัรุ่นควรไดรั้บสารอาหารครบทุกประเภท คือ กิน 
ข้าว เนื้อสัตว์ ถั่ว ไข่ น้า นม ไขมัน ผักและผลไม้ทุกวนั เนื่องจากเป็นวยัที่มีการ 
เปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งดา้นรูปร่าง หน้าตา จิตใจ อารมณ์ และการร่วมสังคมกับ 
คนอื่นๆ 
5. วัยผูใ้หญ่ (20-40 ปี) เป็นวยัที่ร่างกายเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว แต่ร่างกายก็ยัง 
ตอ้งการสารอาหารเพื่อนา ไปใชใ้นการทา งานของร่างกาย และซ่อมแซมส่วนที่ชา รุด 
ทรุดโทรม ผู้ใหญ่ควรกินอาหารใหค้รบไดสั้ดส่วนตามความตอ้งการของร่างกาย 
ความตอ้งการวิตามินยังคงเท่ากับวยัรุ่น สา หรับธาตุเหล็กร่างกายยังตอ้งการมาก 
ควรลดปริมาณการกินของหวาน น้า ตาล ไขมันโดยเฉพาะไขมันจากสัตว์เพิ่ม 
ปริมาณการกินผักและผลไม้มากข้นึ
6. วัยชรา ไม่ตอ้งการแคลอรีมากเพราะมีการเคลื่อนไหวน้อย จึงต้องการ 
อาหารประเภทไขมัน และคาร์โบไฮเดรตน้อยแต่ตอ้งการเหล็กและแคลเซี่ยม 
มากเพื่อความแข็งแรงของกระดูก ควบคุมการทา งานของประสาท 
กล้ามเนื้อ และการแข็งตัวของโลหิต

More Related Content

What's hot

โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหาโครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหาAoraoraor Pattraporn
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนPanwad PM
 
In a womb BY MeenZ :D
In a womb BY MeenZ :DIn a womb BY MeenZ :D
In a womb BY MeenZ :DSara Sangchai
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพOnrapanee Kettawong
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพOnrapanee Kettawong
 
Guideline in child_health_supervision
Guideline in child_health_supervisionGuideline in child_health_supervision
Guideline in child_health_supervisionUtai Sukviwatsirikul
 
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 592.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59Nickson Butsriwong
 
โรคขาดโปรตีน.2
โรคขาดโปรตีน.2โรคขาดโปรตีน.2
โรคขาดโปรตีน.2monthirs ratt
 
โรคขาดโปรตีน.1
โรคขาดโปรตีน.1โรคขาดโปรตีน.1
โรคขาดโปรตีน.1monthirs ratt
 
โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13memomild
 
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขต๊อบ แต๊บ
 
ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีSuparnisa Aommie
 
9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้าง9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้างSurasek Tikomrom
 

What's hot (17)

โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหาโครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
In a womb BY MeenZ :D
In a womb BY MeenZ :DIn a womb BY MeenZ :D
In a womb BY MeenZ :D
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
Baby food
Baby foodBaby food
Baby food
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
Guideline in child_health_supervision
Guideline in child_health_supervisionGuideline in child_health_supervision
Guideline in child_health_supervision
 
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 592.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
 
โรคขาดโปรตีน.2
โรคขาดโปรตีน.2โรคขาดโปรตีน.2
โรคขาดโปรตีน.2
 
Lesson 2
Lesson 2Lesson 2
Lesson 2
 
โรคขาดโปรตีน.1
โรคขาดโปรตีน.1โรคขาดโปรตีน.1
โรคขาดโปรตีน.1
 
โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13
 
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
 
Mom knowledge
Mom knowledgeMom knowledge
Mom knowledge
 
ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดี
 
9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้าง9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้าง
 
กลุ่ม 1
กลุ่ม 1กลุ่ม 1
กลุ่ม 1
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

Libro1
Libro1Libro1
Libro1
 
"Super" Worried Father Solution (edited)
"Super" Worried Father Solution (edited)"Super" Worried Father Solution (edited)
"Super" Worried Father Solution (edited)
 
Herissons
HerissonsHerissons
Herissons
 
Recimatic
RecimaticRecimatic
Recimatic
 
Video activity 1st hw
Video activity 1st hwVideo activity 1st hw
Video activity 1st hw
 
SimplexPortal
SimplexPortalSimplexPortal
SimplexPortal
 
Presentacion futbol sala
Presentacion futbol salaPresentacion futbol sala
Presentacion futbol sala
 
Diseno y desarrollo de proyectos
Diseno y desarrollo de proyectosDiseno y desarrollo de proyectos
Diseno y desarrollo de proyectos
 
τεφαα
τεφαατεφαα
τεφαα
 
Teoria Atomica
Teoria AtomicaTeoria Atomica
Teoria Atomica
 
детски права
детски правадетски права
детски права
 
Scattergories
ScattergoriesScattergories
Scattergories
 
Pautas para la gestión de los árbitro2
Pautas para la gestión de los árbitro2Pautas para la gestión de los árbitro2
Pautas para la gestión de los árbitro2
 
Tarea 4
Tarea 4Tarea 4
Tarea 4
 
Rios zuñiga.pptx
Rios zuñiga.pptxRios zuñiga.pptx
Rios zuñiga.pptx
 
Treball de història
Treball de històriaTreball de història
Treball de història
 
Act. 37
Act. 37Act. 37
Act. 37
 
Calificaciones de matematicas vi (607)
Calificaciones de matematicas vi (607)Calificaciones de matematicas vi (607)
Calificaciones de matematicas vi (607)
 
路平專案
路平專案路平專案
路平專案
 
Memorial guerra sirés
Memorial guerra sirésMemorial guerra sirés
Memorial guerra sirés
 

Similar to Jirarat

อาหารเด็ก
อาหารเด็กอาหารเด็ก
อาหารเด็กkasamaporn
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยluckana9
 
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัย
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัยความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัย
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัยUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่kasocute
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว3
ตัวฉัน ปรับแล้ว3ตัวฉัน ปรับแล้ว3
ตัวฉัน ปรับแล้ว3phugun
 
ตัวฉัน
ตัวฉันตัวฉัน
ตัวฉันphugun
 
สุขศึกษา Perth 2
สุขศึกษา Perth 2สุขศึกษา Perth 2
สุขศึกษา Perth 2namperth
 
โรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนโรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนPraexp
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1ตัวฉัน ปรับแล้ว 1
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1phugun
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2phugun
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีUtai Sukviwatsirikul
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงteeradejmwk
 
Nutrition
NutritionNutrition
NutritionPir Jnn
 

Similar to Jirarat (20)

อาหารเด็ก
อาหารเด็กอาหารเด็ก
อาหารเด็ก
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
 
Baby food
Baby foodBaby food
Baby food
 
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัย
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัยความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัย
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัย
 
Baby food for child
Baby food for childBaby food for child
Baby food for child
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว3
ตัวฉัน ปรับแล้ว3ตัวฉัน ปรับแล้ว3
ตัวฉัน ปรับแล้ว3
 
ตัวฉัน
ตัวฉันตัวฉัน
ตัวฉัน
 
สุขศึกษา Perth 2
สุขศึกษา Perth 2สุขศึกษา Perth 2
สุขศึกษา Perth 2
 
โรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนโรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีน
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1ตัวฉัน ปรับแล้ว 1
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1
 
Fast food
Fast foodFast food
Fast food
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
Pompea3
Pompea3Pompea3
Pompea3
 
Nutrition
NutritionNutrition
Nutrition
 

Jirarat

  • 1.
  • 2. ความตอ้งการสารอาหาร มนุษย์ทุกคนตอ้งการอาหารหรือสารอาหารในจา นวนที่ เพียงพอต่อความตอ้งการของร่างกาย ซึ่งในแต่ละวยัก็มีความ ตอ้งการสารอาหารที่ต่างกันไป 1วัยทารก (แรกเกิด- 1 ปี) อาหารหลักคือ น้า นม นมแม่เป็น อาหารทีดีและเหมาะที่สุดสา หรับทารกนอกจากนมแม่แล้ว ทารกยัง จา เป็นตอ้งไดรั้บอาหารเสริมเช่น กล้วยสุขบด เป็นตน้
  • 3. 2. เด็กวัยก่อนเรียน (2 – 5 ปี) เด็กวยันี้ตอ้งการอาหารเช่นเดียวกับทารก ในระยะ 1 ปีแรก แต่ตอ้งการปริมาณมากข้นึ เพราะมีความสา คัญต่อการ เจริญเติบโต 3. เด็กวัยเรียน (6 – 13 ปี) เป็นวยัที่ร่างกายกา ลังเจริญเติบโตชา้ ๆ แต่ สมา่ เสมอ การที่จะเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ไดเ้ด็กต้องไดอ้าหารถูกต้อง ตาม หลักโภชนาการในปริมาณที่เหมาะสม และเพียงพอกับความตอ้งการของ ร่างกาย ปัญหาโภชนาการของเด็กวยันี้คือไดรั้บอาหารโปรตนีและแคลอรี่ไม่ เพียงพอกับความตอ้งการของร่างกาย ทา ใหมี้น้า หนักตา่ กว่าเกณฑ์มาตรฐาน กลายเป็นโรคขาดสารอาหาร หรือไดรั้บมากเกินไปทา ใหภ้าวะโภชนาการเกิน หรือเป็นโรคอว้น ซึ่งอาจเกิดโรคแทรกซอ้น ไดแ้ก่ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือด หัวใจตบีตัน ความดันโลหติสูง ไขข้ออักเสบ
  • 4. 4. เด็กวัยรุ่น (13 – 19 ปี) วยัรุ่นควรไดรั้บสารอาหารครบทุกประเภท คือ กิน ข้าว เนื้อสัตว์ ถั่ว ไข่ น้า นม ไขมัน ผักและผลไม้ทุกวนั เนื่องจากเป็นวยัที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งดา้นรูปร่าง หน้าตา จิตใจ อารมณ์ และการร่วมสังคมกับ คนอื่นๆ 5. วัยผูใ้หญ่ (20-40 ปี) เป็นวยัที่ร่างกายเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว แต่ร่างกายก็ยัง ตอ้งการสารอาหารเพื่อนา ไปใชใ้นการทา งานของร่างกาย และซ่อมแซมส่วนที่ชา รุด ทรุดโทรม ผู้ใหญ่ควรกินอาหารใหค้รบไดสั้ดส่วนตามความตอ้งการของร่างกาย ความตอ้งการวิตามินยังคงเท่ากับวยัรุ่น สา หรับธาตุเหล็กร่างกายยังตอ้งการมาก ควรลดปริมาณการกินของหวาน น้า ตาล ไขมันโดยเฉพาะไขมันจากสัตว์เพิ่ม ปริมาณการกินผักและผลไม้มากข้นึ
  • 5. 6. วัยชรา ไม่ตอ้งการแคลอรีมากเพราะมีการเคลื่อนไหวน้อย จึงต้องการ อาหารประเภทไขมัน และคาร์โบไฮเดรตน้อยแต่ตอ้งการเหล็กและแคลเซี่ยม มากเพื่อความแข็งแรงของกระดูก ควบคุมการทา งานของประสาท กล้ามเนื้อ และการแข็งตัวของโลหิต