SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน ประโยชน์ของภาวะพร่อมเอนไซม์G6PD
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาวปานฤทัย มงคลนา เลขที่ 48 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)…………………………………………………
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
2
สมาชิกในกลุ่ม .……
1.ปานฤทัย มงคลนา เลขที่ 48
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ประโยชน์ของภาวะพร่อมเอนไซม์G6PD
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Prevalence of G6PD
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อที่ปรึกษา ________________________________________________________________
ชื่อที่ปรึกษาร่วม _____________________________________________________________
ระยะเวลาดาเนินงาน _________________________________________________________
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ภาวะพร่องเอนไซม์กลูโคส-6-ฟอสเฟต ดีไฮโดรจีเนส (Glucose-6-phosphate dehydrogenase: G6PD) เป็นความ
ผันแปรทางพันธุกรรมที่พบบ่อยทั่วโลก โดยเฉพาะในแทบเอเชียตะวันออกเชียงใต้ ผู้ที่พร่องเอนไซม์ส่วนใหญ่ไม่มี
อาการหรือผลเสียต่อสุขภาพรุนแรง ยกเว้นเมื่อได้รับสารอาหารบางอย่าง อาจเกิดโลหิตจาง เฉียบพลัน ปัสสาวะมี
เลือดปน เด็กทารกแรกเกิดที่พร่องเอนไซม์มีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะตัวเหลืองหลังคลอด มากกว่าเด็กปกติ ภาวะ
พร่องเอนไซม์นี้เป็นภาวะที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ถ้าหากว่าเป็นภาวะที่ไม่ดีเป็นผลเสียก็ควรที่จะถูกคัดทิ้งไปสูญพันธุ
ไปตามธรรมชาติ แต่ว่าภาวะพร่องเอนไซม์G6PDนี้กลับพบมากในธรรมชาติทั่วโลก ทาไมภาวะนี้จึงถูกคัดเลือกตาม
ธรรมชาติให้มีความชุกสูง จึงได้ไปค้นคว้าหาความรู้แล้วเจองานวิจัยชื่อ ภาวะพร่องเอนไซม์G6PD ในเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ โดย อิศรางค์ นุชประยูร บอกว่า เอนไซม์G6PDมีหลายประเภทจาเพาะต่อเชื่อชาติแล้วแต่ประเทศแล้วแต่ชาติ
พันธุ์ แต่ละชาติพันธุ์มีความชุกของภาวะพร่องเอนไซม์ G6PD สูง โดยเฉพาะในชายชาวเขมร ลาว ไทย พม่า มอญ
การตรวจการกลายพันธุ์ของยีนทาให้ค้นพบภาวะวิวิธพรรณของยีน G6PD (heterogeneity) และพบการกลายพันธุ์ที่
จาเพาะต่อชาติพันธุ์การกลายพันธุ์บ่อยที่สุดมี 2 ชนิด คือ ชนิดมหิดล (G6PD Mahidol) และชนิดเวียงจันทน์ (G6PD
Viangchan) พบมากในพื้นที่มาลาเรียระบาด ซึ่งเกิดจากความได้เปรียบในการอยู่รอด ดังนั้นการคัดเลือกตาธรรมชาติ
(natural selection) ของภาวะพร่องเอนไซม์G6PD โดยมาเลเรียอย่างไร
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เผยแพร่งานวิจัยของไทยสู่สาธารณะชน
2.ให้คนทั่วไปได้เห็นถึงประโยชน์และเข้าใจของภาวะพร่องเอนไซม์ G6PD
3.เผยแพร่ให้คนทั่วไปรู้จักและเข้าใจในโรคมาลาเรียมากขึ้น
4.ให้สาธารณะชนได้เห็นความสัมพันธ์ของมาลาเรียน ชาติพันธุ์ ภาวะพร่องเอนไซม์ G6PD
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ในโครงงานนี้จะศึกษาความชุกของภาวะพร่องเอนไซม์ G6PD และการกลายพันธุ์ของยีน G6PD ในเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้และพบการกลายพันธุ์ที่จาเพาะต่อชาติพันธุ์การกลายพันธุ์บ่อยที่สุดมี 2 ชนิด คือ ชนิดมหิดล (G6PD
Mahidol) และชนิดเวียงจันทน์ (G6PD Viangchan)
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
หลักการในเรื่องทฤษฎีวิวัฒนาการ เรื่องภูมิสาสตร์ เรื่องชาติพันธุ์ ความรู้เรื่องDNA ยีน โครโมโซม
หลักความรู้ด้านคณิตศาสตร์ในเรื่องของสถิติ ใช้เทคนิคและความรู้ทางการแพทย์ และงานวิจัยเรื่องภาวะพร่อง
เอนไซม์G6PD ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดย อิศรางค์ นุชประยูร
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
4
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
Ratchasin Poomchor
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2
bank2808
 

What's hot (20)

โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
 
5
55
5
 
23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม
 
2562 final-project 48
2562 final-project 482562 final-project 48
2562 final-project 48
 
ผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิก
 
Work1 polram 32
Work1 polram 32Work1 polram 32
Work1 polram 32
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project 2
2561 project 22561 project 2
2561 project 2
 
แบบร่าง
แบบร่างแบบร่าง
แบบร่าง
 
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
 
at1
at1at1
at1
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
22 602-project 1
22 602-project 122 602-project 1
22 602-project 1
 
Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.
 
ใบงานท 6
ใบงานท   6ใบงานท   6
ใบงานท 6
 

Similar to 2560 project

ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
Kittinan42
 
2562 final-project p
2562 final-project p2562 final-project p
2562 final-project p
Phansachon
 

Similar to 2560 project (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Nattun 605 06
Nattun 605 06Nattun 605 06
Nattun 605 06
 
The fruit is delicious.
The fruit is delicious.The fruit is delicious.
The fruit is delicious.
 
The fruit is delicious.
The fruit is delicious.The fruit is delicious.
The fruit is delicious.
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
At1
At1At1
At1
 
EXERCISE 1 ( PROJECT )
EXERCISE 1 ( PROJECT )EXERCISE 1 ( PROJECT )
EXERCISE 1 ( PROJECT )
 
Good sleep
Good sleepGood sleep
Good sleep
 
2562 final-project ppp
2562 final-project ppp2562 final-project ppp
2562 final-project ppp
 
2562 final-project p
2562 final-project p2562 final-project p
2562 final-project p
 
Final
Final Final
Final
 
Sssss
SssssSssss
Sssss
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Ausanee
AusaneeAusanee
Ausanee
 
Yoga
YogaYoga
Yoga
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ประโยชน์ของภาวะพร่อมเอนไซม์G6PD ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาวปานฤทัย มงคลนา เลขที่ 48 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 2. 2 สมาชิกในกลุ่ม .…… 1.ปานฤทัย มงคลนา เลขที่ 48 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ประโยชน์ของภาวะพร่อมเอนไซม์G6PD ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Prevalence of G6PD ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อที่ปรึกษา ________________________________________________________________ ชื่อที่ปรึกษาร่วม _____________________________________________________________ ระยะเวลาดาเนินงาน _________________________________________________________ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ภาวะพร่องเอนไซม์กลูโคส-6-ฟอสเฟต ดีไฮโดรจีเนส (Glucose-6-phosphate dehydrogenase: G6PD) เป็นความ ผันแปรทางพันธุกรรมที่พบบ่อยทั่วโลก โดยเฉพาะในแทบเอเชียตะวันออกเชียงใต้ ผู้ที่พร่องเอนไซม์ส่วนใหญ่ไม่มี อาการหรือผลเสียต่อสุขภาพรุนแรง ยกเว้นเมื่อได้รับสารอาหารบางอย่าง อาจเกิดโลหิตจาง เฉียบพลัน ปัสสาวะมี เลือดปน เด็กทารกแรกเกิดที่พร่องเอนไซม์มีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะตัวเหลืองหลังคลอด มากกว่าเด็กปกติ ภาวะ พร่องเอนไซม์นี้เป็นภาวะที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ถ้าหากว่าเป็นภาวะที่ไม่ดีเป็นผลเสียก็ควรที่จะถูกคัดทิ้งไปสูญพันธุ ไปตามธรรมชาติ แต่ว่าภาวะพร่องเอนไซม์G6PDนี้กลับพบมากในธรรมชาติทั่วโลก ทาไมภาวะนี้จึงถูกคัดเลือกตาม ธรรมชาติให้มีความชุกสูง จึงได้ไปค้นคว้าหาความรู้แล้วเจองานวิจัยชื่อ ภาวะพร่องเอนไซม์G6PD ในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ โดย อิศรางค์ นุชประยูร บอกว่า เอนไซม์G6PDมีหลายประเภทจาเพาะต่อเชื่อชาติแล้วแต่ประเทศแล้วแต่ชาติ พันธุ์ แต่ละชาติพันธุ์มีความชุกของภาวะพร่องเอนไซม์ G6PD สูง โดยเฉพาะในชายชาวเขมร ลาว ไทย พม่า มอญ การตรวจการกลายพันธุ์ของยีนทาให้ค้นพบภาวะวิวิธพรรณของยีน G6PD (heterogeneity) และพบการกลายพันธุ์ที่ จาเพาะต่อชาติพันธุ์การกลายพันธุ์บ่อยที่สุดมี 2 ชนิด คือ ชนิดมหิดล (G6PD Mahidol) และชนิดเวียงจันทน์ (G6PD Viangchan) พบมากในพื้นที่มาลาเรียระบาด ซึ่งเกิดจากความได้เปรียบในการอยู่รอด ดังนั้นการคัดเลือกตาธรรมชาติ (natural selection) ของภาวะพร่องเอนไซม์G6PD โดยมาเลเรียอย่างไร วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เผยแพร่งานวิจัยของไทยสู่สาธารณะชน 2.ให้คนทั่วไปได้เห็นถึงประโยชน์และเข้าใจของภาวะพร่องเอนไซม์ G6PD 3.เผยแพร่ให้คนทั่วไปรู้จักและเข้าใจในโรคมาลาเรียมากขึ้น 4.ให้สาธารณะชนได้เห็นความสัมพันธ์ของมาลาเรียน ชาติพันธุ์ ภาวะพร่องเอนไซม์ G6PD ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ในโครงงานนี้จะศึกษาความชุกของภาวะพร่องเอนไซม์ G6PD และการกลายพันธุ์ของยีน G6PD ในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้และพบการกลายพันธุ์ที่จาเพาะต่อชาติพันธุ์การกลายพันธุ์บ่อยที่สุดมี 2 ชนิด คือ ชนิดมหิดล (G6PD Mahidol) และชนิดเวียงจันทน์ (G6PD Viangchan)
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) หลักการในเรื่องทฤษฎีวิวัฒนาการ เรื่องภูมิสาสตร์ เรื่องชาติพันธุ์ ความรู้เรื่องDNA ยีน โครโมโซม หลักความรู้ด้านคณิตศาสตร์ในเรื่องของสถิติ ใช้เทคนิคและความรู้ทางการแพทย์ และงานวิจัยเรื่องภาวะพร่อง เอนไซม์G6PD ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดย อิศรางค์ นุชประยูร วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ
  • 4. 4 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________