SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
อัลบั้มรูป
โดย EDU
สัปดาห์ที่ 10
การประกันคุณภาพภายนอก
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554-2558)ระดับปฐมวัย
สมศ. มีแนวคิดและหลักการในการประเมินคุณภาพภายนอกตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติโดย
มุ่งเน้นคุณภาพของเด็กเป็ นหลัก เพื่อให้ความมั่นใจว่าเด็กจะได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพใกล้เคียงกันไม่ว่าจะอยู่ในถิ่นใดก็ตาม การศึกษา
ปฐมวัยถือเป็ นจุดเริ่มต้นในการพัฒนาเด็กให้มีรากฐานสาหรับความสามารถ ทั้งปวงในชีวิตเพราะเป็ นวัยที่ระบบประสาทและสมองกาลัง
เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและกาลังสร้างใยประสาทเชื่อมประสานกันระหว่างเซลล์สมองปฐมวัยจึงถือเป็ นวัยต้นทุนของชีวิตที่จะนาสู่การ
พัฒนาคนให้มีคุณภาพอย่างเต็มตามศักยภาพ การจัดการศึกษาในสถานศึกษาให้เด็กได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่มีคุณภาพและได้รับ
ประสบการณ์ การเรียนรู้ต่างๆจะมีอิทธิพลต่อการวางรากฐานของการพัฒนาเด็กทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และบุคลิกภาพ
การศึกษาปฐมวัยจึงเป็ นการสร้างพื้นฐานที่ช่วยให้เด็กประสบความสาเร็จในการเรียนและการดาเนินชีวิตของเด็กต่อไป การพัฒนา
คุณภาพเด็กปฐมวัยจึงมีความสาคัญยิ่งที่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันเพื่อพัฒนาให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ และจิตใจ
สังคม และสติปัญญาสมวัย เป็ นพลเมืองไทยที่สามารถเรียนรู้ เพื่อความเจริญงอกงามของตนเองและสังคม สามารถสืบสานวัฒนธรรม
และสร้างสรรค์สังคมไทยให้เป็ นสังคมภูมิปัญญาได้อย่างเหมาะสมสืบไป ระบบการประกันคุณภาพการจัดการศึกษาจึงเป็ นเครื่องมือในการ
ส่งเสริม และสนับสนุนให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับการศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี )
1. ประเมินอิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา
2. ประเมินจากผลการจัดการศึกษาที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กับกระบวนการจัดการศึกษา ซึ่งหมายรวมถึงการจัดการ
เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ การบริหารจัดการศึกษา และการประกันคุณภาพภายใน
3. ประเมินโดยวิธีการและข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และเชิงพัฒนาการโดยพิชญจารณ์(Peer
Review)
4. ประเมินโดยการยืนยันรายงานการประเมินตนเองที่ถูกต้องเชื่อถือได้ เพื่อกระตุ้นให้การประกันคุณภาพภายในมี
ความเข้มแข็งยิ่งขึ้น
5. ลดจานวนตัวบ่งชี้และจานวนมาตรฐานสาหรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยถ่ายโอนตัวบ่งชี้และมาตรฐาน
เกี่ยวกับปัจจัยนาเข้าและกระบวนการให้อยู่ในระบบการประกันคุณภาพภายใน
คานิยามของกลุ่มตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 – 2558)
ระดับการศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี)
แบ่งเป็ น 3 กลุ่มตัวบ่งชี้ คือ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ และ
กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ดังนี้
กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน หมายถึง ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภายใต้ภารกิจของสถานศึกษา โดยกาหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน
บนพื้นฐานที่ทุกสถานศึกษาต้องมี และปฎิบัติได้ ซึ่งสามารถชี้ผลลัพธ์ และผลกระทบได้ดี และ มีความเชื่อมโยงกับการประกัน
คุณภาพภายใน เป็ นการพัฒนามาจากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกและรอบสอง ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 1-8
กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ หมายถึง ตัวบ่งชี้ประเมินผลผลิตตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง
สถานศึกษา รวมถึงความสาเร็จตามจุดเน้น และจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของแต่ละสถานศึกษา โดยได้รับความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่มีหน้าที่ดูแลกากับสถานศึกษา ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้
9-10
กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม หมายถึง ตัวบ่งชี้ที่มุ่งประเมินผลการดาเนินงานของสถานศึกษาโดยสถานศึกษาเป็ นผู้
กาหนดแนวทางพัฒนาเพื่อร่วมกันชี้แนะ ป้ องกัน และแก้ไขปัญหาสังคมตามนโยบายของรัฐซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนตามกาลเวลา
และปัญหาสังคมที่เปลี่ยนไป โดยมีเป้ าหมายที่แสดงถึงความเป็ นผู้ช่วยเหลือสังคมและแก้ปัญหาสังคมของสถานศึกษา เช่น การ
ปฏิรูปการศึกษา การส่งเสริมและสืบสานโครงการตามพระราชดาริ และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสริมประชาธิปไตยใน
สถานศึกษา การป้ องกันสิ่งเสพติด การอนุรักษ์พลังงาน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การป้ องกันอุบัติภัย การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม
ไทย การส่งเสริมความรักชาติและความเป็ นไทย ฯลฯ โดยสถานศึกษาเป็ นผู้กาหนดและหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่มีหน้าที่
กากับดูแลสถานศึกษาให้การรับรองการกาหนดตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริมสถานศึกษา ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 11 และ 12
หลักเกณฑ์การกาหนดตัวบ่งชี้
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 – 2558) ระดับการศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี)
ได้มีการพัฒนาตัวบ่งชี้ 3 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ และกลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการ
ส่งเสริมให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ข้อ
38 กาหนดให้ สมศ.ทาการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาแต่ละแห่งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ
และครอบคลุมหลักเกณฑ์ในเรื่องต่อไปนี้ คือ
1) มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา
2) มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษา
3) มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
4) มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน
1.มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 มาตรา 6 ระบุว่า “การจัดการ
ศึกษาต้องเป็ นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและ
วัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข” การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ประเมินมาตรฐานนี้
ด้วยตัวบ่งชี้พื้นฐาน 5 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 2 ตัวบ่งชี้ และตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 1 ตัวบ่งชี้ ดังนี้
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน
1. เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย
2. เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย
3. เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมสมวัย
4. เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย
5. เด็กมีความพร้อมศึกษาในขั้นต่อไป
ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์
1. ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้ าหมายตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา
2. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม
ผลการดาเนินการโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา
2. มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 มาตรา 39 ระบุว่า “ให้กระทรวงกระจาย
อานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งดานวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไปไปยังคณะกรรมการ
และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง หลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจดังกล่าวให้
เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง” การประเมินคูณภาพภายนอกรอบสาม ประเมินมาตรฐานด้วยพื้นฐาน 1 ตัวบ่งชี้ และตัวบ่งชี้
มาตรการส่งเสริม 1 ตัวบ่งชี้ ดังนี้
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน
ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา
ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม
ผลการส่งเสริมเพื่อพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็ นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการ
ปฎิรูปการศึกษา
3.มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 มาตรา
24 ระบุว่า “จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดย
คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์
และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้ องกันและแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก
ประสบการณ์จริง จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสารความรู้ด้านต่างๆอย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน
ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมสื่อการเรียน และอานวยความ
สะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งจัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุก
สถานการณ์” การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามประเมินมาตรฐานนี้ด้วยตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1 ตัว
บ่งชี้ ดังนี้
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน
ประสิทธิภาพการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็ นสาคัญ
4..มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 มาตรา 48 ระบุว่า “ให้หน่วยงานต้นสังกัดและ
สถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็ นส่วยหนึ่งของกระบวนการบริหาร
การศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทารายงานประจาปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิ ดเผยต่อ
สาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก” การประเมินคุณภาพ
ภายนอกรอบสามประเมินมาตรฐานนี้ด้วยตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1 ตัวบ่งชี้ ดังนี้
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน
ประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน
การกาหนดค่าน้าหนักตัวบ่งชี้
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 – 2558) ระดับการศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี) กาหนดให้มีตัวบ่งชี้พื้นฐาน
จานวน 8 ตัวบ่งชี้มีค่าน้าหนักรวม 90 คะแนน ประกอบด้วย
- มาตรฐานที่ 1 ผลการจัดการศึกษา ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ 1-5 มีค่าน้าหนักรวม 35 คะแนน
- มาตรฐานที่ 2 การบริหารจัดการศึกษา ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ 7 มีค่าน้าหนักรวม 15 คะแนน
- มาตรฐานที่ 3 การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ 6 มีค่าน้าหนักรวม 35 คะแนน
- มาตรฐานที่ 4 การประกันคุณภาพภายใน ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ 8 มีค่าน้าหนักรวม 5 คะแนน
ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ มีจานวน 2 ตัวบ่งชี้ มีค่าน้าหนักรวม 5 คะแนน และตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม มีจานวน 2 ตัวบ่งนี้ มีค่าน้าหนักรวม 5
ข้อมูลการดาเนินงานของสถานศึกษาที่ใช้ประกอบการพิจารณา
ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 – 2558) ระดับการศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี ) ใช้ข้อมูลผลการดาเนินงานเฉลี่ย 3
ปี การศึกษาย้อนหลังก่อนการประเมิน (กรณีสถานศึกษาเปิ ดใหม่ที่มีการดาเนินงานไม่ครบ 3 ปี ให้ใช้ข้อมูลผลการดาเนินงานเฉลี่ย 2 ปี การศึกษาล่าสุด หรือหากมี
การดาเนินงานไม่ครบ 2 ปี การศึกษา ให้ใช้ผลการดาเนินงาน 1 ปี การศึกษาล่าสุดก่อนการประเมิน)
รูปแบบการประเมิน
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 – 2558) ระดับการศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี ) มีรูปแบบการประเมิน 4 รูปแบบ ดังนี้
1. การประเมินเชิงปริมาณ ได้แก่ ตัวบ่งชี้ 1.1-1.2, 3.1-3.2, 5.1-5.2
2. การประเมินคุณภาพและเชิงพัฒนาการ ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ 8.2
3. การประเมินคุณภาพเชิงคุณภาพ ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ 6.1-6.6, 7.1-7.6, 8.1, 9, 10 และ 12
4. การประเมินคุณภาพและการพิจารณาผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น (Better) ได้แก่ตัวบ่งชี้ที่ 11
กลุ่มตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 – 2558) ระดับการศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี )
ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ครอบคลุมมาตรฐานว่าด้วย
1) ผลการจัดการศึกษา
2) การบริหารจัดการศึกษา
3) การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
4) การประกันคุณภาพภายใน
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 – 2558) ระดับการศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี ) ประเมินมาตรฐานตามกฎกระทรวงฯ โดย
ประกอบด้วย 3 กลุ่มตัวบ่งชี้ คือ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน(8 ตัวบ่งชี้) กลุ่มตัวบ่งชี้
อัตลักษณ์(2 ตัวบ่งชี้) และกลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม (2 ตัวบ่งชี้) มีจานวนรวมทั้งหมด 12 ตัวบ่งชี้ ดังนี้
ตัวบ่งชี้ มาตรฐานตามกระทรวง
กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน
1. เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย
มาตรฐานที่ 1
ผลการจัดการศึกษา
2. เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย
3. เด็กมีการพัฒนาการด้านสังคมสมวัย
4. เด็กมีการพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย
5.เด็กมีความพร้อมศึกษาในขั้นต่อไป
6. ประสิทธิผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้น
เด็ก
เป็ นสาคัญ
มาตรฐานที่ 3
การจัดการเรียนการ
สอนที่เน้นผู้เรียนเป็ น
สาคัญ
7.ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา
สถานศึกษา
มาตรฐานที่ 2
การบริหารจัดการศึกษา
8.ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน มาตรฐานที่ 4
การประกันคุณภาพ
ตัวบ่งชี้ มาตรฐานตามกระทรวง
กลุ่มบ่งชี้
อัตลักษณ์
9.ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธ
กิจ
และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 1
ผลการจัดการศึกษา
10.ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผล
สะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม
11.ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริม
บทบาทของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 1
ผลการจัดการศึกษา12.ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ
มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็ น
เลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
กลุ่มตัวบังชี้ขั้นพื้นฐานมีความที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามกฎกระทรวงฯ โดยมีความสัมพันธ์ระหว่าง
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ต่างๆในลักษณะห่วงโซ่แห่งคุณภาพ ดังนี้
ด ย
ด
( 7)
ด ย
ด ด ย
ย
( 6)
ด ย
ด
( 1-5)
ด ย
ย
( 8)

More Related Content

What's hot

เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาDuangnapa Inyayot
 
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareKruManthana
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกphiphitthanawat
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา Mana Suksa
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...ณรงค์ พร้อมบัวป่า
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40Weerachat Martluplao
 
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานworapanthewaha
 
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙QA Bpi
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้Chainarong Maharak
 
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค5620แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56Pochchara Tiamwong
 
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษารายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษาKrudachayphum Schoolnd
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 

What's hot (20)

เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายในเครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
 
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
 
คู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐานคู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐาน
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
 
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
 
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
Bp
BpBp
Bp
 
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค5620แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
 
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษารายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 

Similar to สัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอก

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการteaw-sirinapa
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
แนวตอบ E 734 4 1 54
แนวตอบ  E 734 4 1 54แนวตอบ  E 734 4 1 54
แนวตอบ E 734 4 1 54Oil Patamawadee
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 

Similar to สัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอก (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
E book world-class
E book world-classE book world-class
E book world-class
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
แนวตอบ E 734 4 1 54
แนวตอบ  E 734 4 1 54แนวตอบ  E 734 4 1 54
แนวตอบ E 734 4 1 54
 
C
CC
C
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 

More from Nattaka_Su

สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11Nattaka_Su
 
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษามาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาNattaka_Su
 
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาเนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาNattaka_Su
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาสัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาNattaka_Su
 
สัปดาห์ที่ 5 6
สัปดาห์ที่ 5   6สัปดาห์ที่ 5   6
สัปดาห์ที่ 5 6Nattaka_Su
 
สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์ที่ 4สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์ที่ 4Nattaka_Su
 
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาNattaka_Su
 
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษามาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาNattaka_Su
 

More from Nattaka_Su (9)

สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11
 
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษามาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
 
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาเนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาสัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
 
สัปดาห์ที่ 5 6
สัปดาห์ที่ 5   6สัปดาห์ที่ 5   6
สัปดาห์ที่ 5 6
 
สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์ที่ 4สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์ที่ 4
 
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
 
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษามาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
 

สัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอก

  • 2. สมศ. มีแนวคิดและหลักการในการประเมินคุณภาพภายนอกตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติโดย มุ่งเน้นคุณภาพของเด็กเป็ นหลัก เพื่อให้ความมั่นใจว่าเด็กจะได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพใกล้เคียงกันไม่ว่าจะอยู่ในถิ่นใดก็ตาม การศึกษา ปฐมวัยถือเป็ นจุดเริ่มต้นในการพัฒนาเด็กให้มีรากฐานสาหรับความสามารถ ทั้งปวงในชีวิตเพราะเป็ นวัยที่ระบบประสาทและสมองกาลัง เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและกาลังสร้างใยประสาทเชื่อมประสานกันระหว่างเซลล์สมองปฐมวัยจึงถือเป็ นวัยต้นทุนของชีวิตที่จะนาสู่การ พัฒนาคนให้มีคุณภาพอย่างเต็มตามศักยภาพ การจัดการศึกษาในสถานศึกษาให้เด็กได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่มีคุณภาพและได้รับ ประสบการณ์ การเรียนรู้ต่างๆจะมีอิทธิพลต่อการวางรากฐานของการพัฒนาเด็กทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และบุคลิกภาพ การศึกษาปฐมวัยจึงเป็ นการสร้างพื้นฐานที่ช่วยให้เด็กประสบความสาเร็จในการเรียนและการดาเนินชีวิตของเด็กต่อไป การพัฒนา คุณภาพเด็กปฐมวัยจึงมีความสาคัญยิ่งที่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันเพื่อพัฒนาให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ และจิตใจ สังคม และสติปัญญาสมวัย เป็ นพลเมืองไทยที่สามารถเรียนรู้ เพื่อความเจริญงอกงามของตนเองและสังคม สามารถสืบสานวัฒนธรรม และสร้างสรรค์สังคมไทยให้เป็ นสังคมภูมิปัญญาได้อย่างเหมาะสมสืบไป ระบบการประกันคุณภาพการจัดการศึกษาจึงเป็ นเครื่องมือในการ ส่งเสริม และสนับสนุนให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
  • 3. แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับการศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี ) 1. ประเมินอิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา 2. ประเมินจากผลการจัดการศึกษาที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กับกระบวนการจัดการศึกษา ซึ่งหมายรวมถึงการจัดการ เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ การบริหารจัดการศึกษา และการประกันคุณภาพภายใน 3. ประเมินโดยวิธีการและข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และเชิงพัฒนาการโดยพิชญจารณ์(Peer Review) 4. ประเมินโดยการยืนยันรายงานการประเมินตนเองที่ถูกต้องเชื่อถือได้ เพื่อกระตุ้นให้การประกันคุณภาพภายในมี ความเข้มแข็งยิ่งขึ้น 5. ลดจานวนตัวบ่งชี้และจานวนมาตรฐานสาหรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยถ่ายโอนตัวบ่งชี้และมาตรฐาน เกี่ยวกับปัจจัยนาเข้าและกระบวนการให้อยู่ในระบบการประกันคุณภาพภายใน
  • 4. คานิยามของกลุ่มตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 – 2558) ระดับการศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี) แบ่งเป็ น 3 กลุ่มตัวบ่งชี้ คือ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ และ กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ดังนี้
  • 5. กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน หมายถึง ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภายใต้ภารกิจของสถานศึกษา โดยกาหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน บนพื้นฐานที่ทุกสถานศึกษาต้องมี และปฎิบัติได้ ซึ่งสามารถชี้ผลลัพธ์ และผลกระทบได้ดี และ มีความเชื่อมโยงกับการประกัน คุณภาพภายใน เป็ นการพัฒนามาจากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกและรอบสอง ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 1-8 กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ หมายถึง ตัวบ่งชี้ประเมินผลผลิตตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง สถานศึกษา รวมถึงความสาเร็จตามจุดเน้น และจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของแต่ละสถานศึกษา โดยได้รับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่มีหน้าที่ดูแลกากับสถานศึกษา ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 9-10 กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม หมายถึง ตัวบ่งชี้ที่มุ่งประเมินผลการดาเนินงานของสถานศึกษาโดยสถานศึกษาเป็ นผู้ กาหนดแนวทางพัฒนาเพื่อร่วมกันชี้แนะ ป้ องกัน และแก้ไขปัญหาสังคมตามนโยบายของรัฐซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนตามกาลเวลา และปัญหาสังคมที่เปลี่ยนไป โดยมีเป้ าหมายที่แสดงถึงความเป็ นผู้ช่วยเหลือสังคมและแก้ปัญหาสังคมของสถานศึกษา เช่น การ ปฏิรูปการศึกษา การส่งเสริมและสืบสานโครงการตามพระราชดาริ และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสริมประชาธิปไตยใน สถานศึกษา การป้ องกันสิ่งเสพติด การอนุรักษ์พลังงาน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การป้ องกันอุบัติภัย การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ไทย การส่งเสริมความรักชาติและความเป็ นไทย ฯลฯ โดยสถานศึกษาเป็ นผู้กาหนดและหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่มีหน้าที่ กากับดูแลสถานศึกษาให้การรับรองการกาหนดตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริมสถานศึกษา ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 11 และ 12
  • 6. หลักเกณฑ์การกาหนดตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 – 2558) ระดับการศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี) ได้มีการพัฒนาตัวบ่งชี้ 3 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ และกลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการ ส่งเสริมให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ข้อ 38 กาหนดให้ สมศ.ทาการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาแต่ละแห่งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ และครอบคลุมหลักเกณฑ์ในเรื่องต่อไปนี้ คือ 1) มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา 2) มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษา 3) มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ 4) มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน
  • 7. 1.มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 มาตรา 6 ระบุว่า “การจัดการ ศึกษาต้องเป็ นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและ วัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข” การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ประเมินมาตรฐานนี้ ด้วยตัวบ่งชี้พื้นฐาน 5 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 2 ตัวบ่งชี้ และตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 1 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ ตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1. เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย 2. เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย 3. เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมสมวัย 4. เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย 5. เด็กมีความพร้อมศึกษาในขั้นต่อไป ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 1. ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้ าหมายตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา 2. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ผลการดาเนินการโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา
  • 8. 2. มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 มาตรา 39 ระบุว่า “ให้กระทรวงกระจาย อานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งดานวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไปไปยังคณะกรรมการ และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง หลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจดังกล่าวให้ เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง” การประเมินคูณภาพภายนอกรอบสาม ประเมินมาตรฐานด้วยพื้นฐาน 1 ตัวบ่งชี้ และตัวบ่งชี้ มาตรการส่งเสริม 1 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ ตัวบ่งชี้พื้นฐาน ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ผลการส่งเสริมเพื่อพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็ นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการ ปฎิรูปการศึกษา
  • 9. 3.มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 มาตรา 24 ระบุว่า “จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดย คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้ องกันและแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก ประสบการณ์จริง จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสารความรู้ด้านต่างๆอย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมสื่อการเรียน และอานวยความ สะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งจัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุก สถานการณ์” การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามประเมินมาตรฐานนี้ด้วยตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1 ตัว บ่งชี้ ดังนี้ ตัวบ่งชี้พื้นฐาน ประสิทธิภาพการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็ นสาคัญ
  • 10. 4..มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 มาตรา 48 ระบุว่า “ให้หน่วยงานต้นสังกัดและ สถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็ นส่วยหนึ่งของกระบวนการบริหาร การศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทารายงานประจาปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิ ดเผยต่อ สาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก” การประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบสามประเมินมาตรฐานนี้ด้วยตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ ตัวบ่งชี้พื้นฐาน ประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน การกาหนดค่าน้าหนักตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 – 2558) ระดับการศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี) กาหนดให้มีตัวบ่งชี้พื้นฐาน จานวน 8 ตัวบ่งชี้มีค่าน้าหนักรวม 90 คะแนน ประกอบด้วย - มาตรฐานที่ 1 ผลการจัดการศึกษา ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ 1-5 มีค่าน้าหนักรวม 35 คะแนน - มาตรฐานที่ 2 การบริหารจัดการศึกษา ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ 7 มีค่าน้าหนักรวม 15 คะแนน - มาตรฐานที่ 3 การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ 6 มีค่าน้าหนักรวม 35 คะแนน - มาตรฐานที่ 4 การประกันคุณภาพภายใน ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ 8 มีค่าน้าหนักรวม 5 คะแนน ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ มีจานวน 2 ตัวบ่งชี้ มีค่าน้าหนักรวม 5 คะแนน และตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม มีจานวน 2 ตัวบ่งนี้ มีค่าน้าหนักรวม 5
  • 11. ข้อมูลการดาเนินงานของสถานศึกษาที่ใช้ประกอบการพิจารณา ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 – 2558) ระดับการศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี ) ใช้ข้อมูลผลการดาเนินงานเฉลี่ย 3 ปี การศึกษาย้อนหลังก่อนการประเมิน (กรณีสถานศึกษาเปิ ดใหม่ที่มีการดาเนินงานไม่ครบ 3 ปี ให้ใช้ข้อมูลผลการดาเนินงานเฉลี่ย 2 ปี การศึกษาล่าสุด หรือหากมี การดาเนินงานไม่ครบ 2 ปี การศึกษา ให้ใช้ผลการดาเนินงาน 1 ปี การศึกษาล่าสุดก่อนการประเมิน) รูปแบบการประเมิน การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 – 2558) ระดับการศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี ) มีรูปแบบการประเมิน 4 รูปแบบ ดังนี้ 1. การประเมินเชิงปริมาณ ได้แก่ ตัวบ่งชี้ 1.1-1.2, 3.1-3.2, 5.1-5.2 2. การประเมินคุณภาพและเชิงพัฒนาการ ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ 8.2 3. การประเมินคุณภาพเชิงคุณภาพ ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ 6.1-6.6, 7.1-7.6, 8.1, 9, 10 และ 12 4. การประเมินคุณภาพและการพิจารณาผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น (Better) ได้แก่ตัวบ่งชี้ที่ 11 กลุ่มตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 – 2558) ระดับการศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี ) ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ครอบคลุมมาตรฐานว่าด้วย 1) ผลการจัดการศึกษา 2) การบริหารจัดการศึกษา 3) การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ 4) การประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 – 2558) ระดับการศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี ) ประเมินมาตรฐานตามกฎกระทรวงฯ โดย ประกอบด้วย 3 กลุ่มตัวบ่งชี้ คือ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน(8 ตัวบ่งชี้) กลุ่มตัวบ่งชี้
  • 12. อัตลักษณ์(2 ตัวบ่งชี้) และกลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม (2 ตัวบ่งชี้) มีจานวนรวมทั้งหมด 12 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ ตัวบ่งชี้ มาตรฐานตามกระทรวง กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1. เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย มาตรฐานที่ 1 ผลการจัดการศึกษา 2. เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย 3. เด็กมีการพัฒนาการด้านสังคมสมวัย 4. เด็กมีการพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย 5.เด็กมีความพร้อมศึกษาในขั้นต่อไป 6. ประสิทธิผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้น เด็ก เป็ นสาคัญ มาตรฐานที่ 3 การจัดการเรียนการ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็ น สาคัญ 7.ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา สถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 การบริหารจัดการศึกษา 8.ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน มาตรฐานที่ 4 การประกันคุณภาพ
  • 13. ตัวบ่งชี้ มาตรฐานตามกระทรวง กลุ่มบ่งชี้ อัตลักษณ์ 9.ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธ กิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 ผลการจัดการศึกษา 10.ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผล สะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 11.ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริม บทบาทของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 ผลการจัดการศึกษา12.ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็ น เลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา