SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
สัปดาห์ที่ 11
การจัดเก็บข้อมูลเอกสารและ
จัดระบบสารสนเทศทางการศึกษา
ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ซึ่งอาจแสดงเปิ ดตัวเลข ตัวหนังสือ หรือ
สัญลักษณ์ ข้อเท็จจริงเหล่านี้เป็ นสิ่งที่เก็บรวบรวมมาโดยยังไม่ผ่านการประมวลผล
หรือการวิเคราะห์จัดกระทา จึงทาให้ส่วนมากไม่มีความหมายสมบูรณ์พอที่จะ
นาไปใช้ประกอบการตัดสินใจตัวอย่างของข้อมูล เช่น จานวนห้องเรียน จานวน
นักเรียน น้าหนัก ส่วนสูง ผลการประเมินตัวชี้จัดตามมาตรฐานหลักสูตร
สถานศึกษา เป็ นต้น
การจัดเก็บข้อมูล หมายถึง การรวบรวมและจัดเก็บรักษา
ข้อมูล และสารสนเทศที่มีอยู่หรือที่ได้มาอย่างมีระบบ สะดวก
ต่อการนามาประมวลผล หรือนามาใช้ประโยชน์ และสามารถ
แก้ไข ปรับปรุงให้เป็ นปัจจุบันได้ง่าย
ระบบสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล การ
ประมวลผลให้อยู่ในรูปสารสนเทศที่เป็ นประโยชน์สูงสุดและการจัดเก็บ
รักษาอย่างมีระบบเพื่อสะดวกต่อการนาไปใช้ สารสนเทศที่ถูกจัดเก็บ
อย่างเป็ นระบบจะสามารถนาไปใช้สนับสนุนการบริหาร และการตัดสินใจ
ทั้งในระดับผู้ปฏิบัติและระดับผู้บริหารเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน
ยิ่ ง ขึ้ น
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลหรือการวิเคราะห์ด้วยวิธีการต่าง ๆ จน
อยู่ในรูปแบบที่มีความหมาย สามารถนาไปใช้ประกอบการตัดสินใจหรือนาไปใช้ในเรื่องต่าง ๆ ได้
ตามวัตถุประสงค์ จากความหมายที่กล่าวมาข้างต้น สารสนเทศของสถานศึกษา จึงเกิดจากการนา
ข้อมูลต่าง ๆ ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบของครู บุคลากรในสถานศึกษาและ
ผู้ที่เกี่ยวข้องมาจัดกระทา/ประมวลผลหรือวิเคราะห์ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การจัดหมวดหมู่ การ
เรียงลาดับ การแจงนับ การวิเคราะห์ ฯลฯ ตลอดจนการใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ (คานวณหา
ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความแปรปรวน ฯลฯ) ผลที่ได้จาการจัดกระทาด้วย
วิธีการต่าง ๆ จะเป็ นสารสนเทศ ซึ่งสามารถนาเสนอได้ในหลายรูปแบบ เช่น ตาราง แผนภาพ กราฟ
หรือการบรรยายเป็ นความเรียนเป็ นต้น
การจัดให้มีระบบสารสนเทศที่ดีในสถานศึกษานั้นต้องเป็นไปตารมกระบวนการ
หรือขั้นตอนที่มีคุณภาพตรงกับความต้องการของผู้ใช้โดยทั่วไปการจัดระบบสารสนเทศมี
ขั้นตอนการดาเนินงานหลักๆจานวน ๕ ขั้นตอน คือ
๑) การรวบรวมข้อมูล
๒) การตรวจสอบข้อมูล
๓) การประมวลผลข้อมูล
๔) การนาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ
๕) การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ ซึ่งแต่ละขั้นตอนมีรายละเอียดดังนี้
1. การรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ นั้น จะต้องกาหนดรายการข้อมูลที่ต้องการ กาหนด
วิธี
การจัดเก็บ สร้างหรือจัดหาเครื่องมือในการจัดเก็บให้สอดคล้องกับลักษณะของข้อมูลและ
แหล่งข้อมูล เช่น แบบสารวจ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบบันทึก แบบสังเกต เป็ นต้น
นอกจากนั้น ควรกาหนดเวลาในการจัดเก็บหรือผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บโดยต้องคานึงถึงข้อมูล
ที่ตรงกับความต้องการที่กาหนดไว้และมีความเชื่อถือได้
การกาหนดรายการข้อมูลที่ต้องการนั้น อาจดาเนินการโดยศึกษาจากมาตรฐานการศึกษา
ในระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการ
ประเมินคุณภาพภายในของกระทรวงศึกษาธิการ มาตรฐานการศึกษาเพื่อการประเมิน คุณภาพ
ภายนอกของ สมศ. มาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฯลฯ จากนั้นจึงกาหนดวิธีการและเครื่องมือสาหรับรวบรวมข้อมูลให้มีความ
สอดคล้องกัน เช่น กาหนดวิธีการรวบรวมข้อมูลด้วยการสอบถาม เครื่องมือที่ใช้ควรเป็ น
แบบสอบถามหรือใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลด้วยการสังเกต เครื่องมือที่ใช้ก็ควรเป็ นแบบสังเกต
เป็ นต้น
2.การตรวจสอบข้อมูล
ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ก่อนที่จะนาไปประมวลผล ควรมีการตรวจสอบ ความถูกต้องของ
ข้อมูลก่อน โดยพิจารณาจากความถูกต้อง ความสมบูรณ์และความเป็ นปัจจุบันของข้อมูล
3.การประมวลผลข้อมูล
การนาข้อมูลมาประมวลผลให้เป็ นสารสนเทศ หรือเป็ นการเปลี่ยนแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่
นาไปใช้ประโยชน์ได้ ข้อมูลใดที่เป็ นสารสนเทศอยู่แล้ว ก็นามาจัดกลุ่ม แยกแยะ ตามลักษณะ
และประเภทของสารสนเทศ ซึ่งการประมวลผลนั้นอาจเป็ นการจัดหมวดหมู่ การเรียงลาดับ การ
แจงนับ สาหรับการใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ การดาเนินการอาจใช้วิธีการง่าย ๆ ที่เรียกว่าทาด้วย
มือใช้เครื่องคานวณเล็ก ๆ มาช่วย จนกระทั่งใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ คือ คอมพิวเตอร์ก็ได้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูล ควรใช้ค่าสถิตที่ง่ายและตรงที่สุด ค่าสถิติที่นิยมนามาใช้ เช่น ค่าร้อยละ
อัตราส่วน สัดส่วน ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน หรือแม้กระทั่งการแจกแจงความถี่ ที่เป็ นการ
หาค่าสถิติที่ง่ายที่สุด
4. การนาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลหรือจัดทาเป็ นสารสนเทศที่มี
ความหมายชัดเจน มีความกะทัดรัด ตรงกับความต้องการและ
สะดวกต่อการนาไปใช้ อาจนาเสนอในรูปของตาราง แผนภาพ
กราฟ หรือการบรรยายเป็ นความเรียง ก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ
เหมาะสมของการนาไปใช้และลักษณะของสารสนเทศนั้น ๆ
5.การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ
การจัดเก็บส่วนที่เป็นข้อมูลและส่วนที่เป็นสารสนเทศไว้ในสื่อต่าง ๆ อย่างมีระบบ สะดวกต่อการค้นหา
เพื่อนามาใช้ประโยชน์ อาจจัดเก็บเป็นแฟ้ มเอกสารหรือแฟ้ มอิเล็กทรอนิกส์ ตามศักยภาพของสถานศึกษา แต่
ต้องคานึงถึงระบบของการค้นหาให้สะดวกต่อการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน การนาข้อมูลไป
ประมวลผลใหม่ รวมทั้งการนาสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในงานต่าง ๆ สถานศึกษาที่มีระบบสารสนเทศที่สมบูรณ์
ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน ใช้ได้สะดวกและตรงตามความต้องการ จะช่วยให้สถานศึกษาสามารถดาเนินงานพัฒนา
คุณภาพกรศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลเป็นการสร้างความมั่นใจที่ตั้งอยู่บนรากฐานของหลัก
วิชา หลักฐานขอเท็จจริงที่สามารถตรวจสอบได้มีกระบวนการวิเคราะห์ประมวลผลที่เป็นวิทยาศาสตร์มีความ
สมเหตุสมผลเพราะสารสนเทศทั้งหลายนั้น นอกจากจะใช้ในการวางแผนการดาเนินงานและประกอบการ
ตัดสินใจแล้ว ยังนาไปสู่การพัฒนาแนวความคิดและสร้างทางเลือกใหม่ ๆ ในการดาเนินการต่าง ๆ ด้วย ซึ่งการ
จัดระบบสารสนเทศอาจจาแนกตามวิธีดาเนินการออกเป็น ๓ ระบบ มีจุดเด่นและจุดด้วย พอสรุปได้ดังนี้
ระบบทาด้วยมือ (Manual System) เป็นระบบที่เก็บโดยการใช้เอกสารในรูปแบบ
ต่าง ๆ ระบบนี้มีข้อดี คือค่าใช้จ่ายน้อย ส่วนข้อเสีย คือการเรียกใช้ไม่สะดวกและไม่ทนการ
หากจัดระบบแฟ้ มเอกสารไมเหมาะสมเท่าที่ควร
ระบบกึ่งอัตโนมัติ (Semi - Automation) ระบบนี้ใช้มือทาส่วนหนึ่งและใช้
เครื่องกลส่วนหนึ่ง กล่าวคือ ส่วนที่เป็นเอกสารต่าง ๆ ทาด้วยมือ และส่วนที่สร้างระบบ
สารสนเทศใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย ระบบนี้มีข้อดี คือค่าใช้จ่ายไม่สูง การฝึกอบรม
บุคลากรไม่มากนัก แต่มีข้อเสีย คือถ้ารูปแบบเอกสารและการปฏิบัติงานไม่เหมาะสม การ
กรอกข้อมูลผิดพลาด จะทาให้การดาเนินการล่าช้า ระบบนี้จะทาได้ดีต่อเมื่อส่วนที่ทาด้วยมือ
ทาได้สมบูรณ์แบบ ได้แก่ การกรอกข้อมูลครบถ้วนถูกต้อง มีระบบควบคุม ตรวจสอบอย่างดี
ระบบอัตโนมัติ (Full – Automation) เป็นระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
ดาเนินงาน ระบบนี้ต้องมีการออกแบบให้เข้ากับลักษณะงาน เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
สร้างมาจะมีลักษณะและขนาดของเครื่องแตกต่างดัน
อย่างไรก็ตาม การจัดระบบสารสนเทศที่ครบถ้วน ถูกต้องและเรียกใช้ได้ทันเวลาในทุกสถานการณ์
ของสถานศึกษา นอกจากจะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการจัดเก็บข้อมูลแล้ว สถานศึกษาไม่ว่าขนาดใหญ่ กลาง
หรือเล็ก อยู่ในเมืองหรือชนบท หากจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้แฟ้ มเอกสารไว้ด้วยก็จะทาให้
กระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในด้านต่าง ๆ ดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศโดยใช้แฟ้ มเอกสาร อาจจัดแบ่งได้ดังนี้
1. แฟ้ มข้อมูลหลัก เป็ นข้อมูลพื้นฐาน ซึ่งแบ่งเป็ นหลายแฟ้ มตามโครงสร้างของงาน
2. แฟ้ มข้อมูลย่อย เป็ นแฟ้ มข้อมูลใหม่ ๆ ของแฟ้ มข้อมูลหลัก แต่ยังอาจต้องปรับให้เป็ นปัจจุบัน
3. แฟ้ มดัชนี เป็ นแฟ้ มเลขดังชะนีที่ระบุว่าข้อมูลใดอยู่ส่วนไหนของข้อมูลหลัก
4. แฟ้ มตารางอ้างอิง เป็ นรวบรวมข้อมูลในลักษณะตารางซึ่งใช้ประโยชน์ในการอ้างอิง
5. แฟ้ มข้อมูลสรุป เป็ นแฟ้ มที่รวบรวมข้อมูลในรูปแบบของการสรุปผล
6. แฟ้ มข้อมูลสารอง เป็ นการสร้างแฟ้ มสารองข้อมูลสาคัญ ๆ เพื่อประโยชน์ในกรณีที่ข้อมูลเดิมสูญหาย
การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาปฐมวัยจากองค์กรภายในและภายนอก
การประเมินคุณภาพการจดการศึกษาจากองค์กรภายใน เป็ นกระบวนการประเมิลผลการ
ดาเนินงานของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่กระทาโดยบุคลากรภายใน
หรือผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง การประเมินคุณภาพภายในถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของการบริหาร
จัดการ เพื่อที่จะได้ทราบขีดความสามารถในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ว่าบรรลุตารม
เป้ าหมายหรือมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาหรือไม่ นาผลการประเมินไปแก้ไขข้อบกพร่อง
ได้ทันที เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement) การประเมิน
ภายในถือเป็นกระบวนการตรวจสอบ การทางานของสถานศึกษาหรือการประเมินตนเอง
(Self – Evaluation) การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาควรยึดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาเป็นหลัก แต่อย่างไรก็ตามควรสะท้อนภาพความสาเร็จที่ชัดเจน
อย่างน้อย 2 ด้าน ดังนี้
1. คุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ตามหลักสูตรของสถานศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในทุก
ระดับชั้น พฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียนโดยระบุได้ถึงกลุ่มผู้เรียนที่มี
ความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มีความเสี่ยง กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาในการอ่าน คิด
วิเคราะห์ และเขียนกลุ่มผู้เรียนที่มีคุณลักษณะไม่เป็ นไปตามที่พึงประสงค์ เพราะ
ข้อมูลจากการประเมินเหล่านี้จะสะท้อนให้เห็นว่าการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ประสบผลสาเร็จตามที่กาหนดไว้หรือไม่อาจนาไปสู่การปรับปรุงการบริหารจัดการ
2. คุณภาพการศึกษาด้านการบริหารจัดการของสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถดาเนินการ
ประเมิน
คุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาที่สถานศึกษากาหนดไว้แล้วในทุกมาตรฐานด้วย
วิธีการที่หลากหลายและเหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการประเมิน เช่น ใช้การสังเกต การสัมภาษณ์
การตรวจสอบจากเอกสารหรือข้อมูลเชิงประจักษ์
การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาจากองค์กรภายนอก เป็ นการประเมินคุณภาพการ
จัดการศึกษา การติดตาม การตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดย
ผู้ประเมินภายนอกที่ได้รับการรับรองจากสานังกานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาให้ดียิ่งขึ้น
การจัดทารายงานการประเมินคุณภาพาการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๔๘ ว่า ให้
สถานศึกษาที่มีการจัดทารายงานประจาปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิ ดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนา
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา อีกทั้งปัจจุบันมีสานักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือที่รู้จักกันในนาม สมศ.
ทาหน้าที่ประเมินคุณภาพภายนอกอีกทางหนึ่ง รายงานการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาประจาปี ยิ่งเป็ นสิ่งจาเป็ นที่สถานศึกษาต้องจัดทา เพื่อส่งให้
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพกรศึกษา ได้รับรู้สภาพและผล
การดาเนินงานเป็ นฐานข้อมูลเบื้องต้นสาหรับการประเมินภายนอก
วัตถุประสงค์ของการจดทางายงาน
1. รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี ของสถานศึกษา เป็ นรายงานที่แสดงภารกิจการ
ดาเนินงานและผลการดาเนินงานประจาปี การศึกษา ซึ่งถือเป็ นหน้าที่ของสถานศึกษาที่ต้องจัดทาเพื่อแสดง
ความรับผิดชอบต่อหน่วยงานต้นสังกัด
2.รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี ของสถานศึกษาเป็ นฐานข้อมูลที่จาเป็ นสาหรับ
การ
ประเมินคุณภาพภายนอก สถานศึกษาต้องส่งรายงานดังกล่าวนี้ให้แก่สานักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) ในปี ที่เข้ารับการประเมิน
3.สถานศึกษามีหน้าที่ที่จะต้องรายงานผลการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาในแต่ละปี
ให้แก่
คณะกรรมการสถานศึกษา พ่อแม่ ผู้ปกครอง ตลอดจนรายงานต่อสาธารณชน เพื่อให้เกิดความร่วมแรง
ร่วมใจในการพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพสูงยิ่ง ๆ ขึ้นไป
ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดทารายงาน
1.สถานศึกษามีฐานข้อมูลของการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาในแต่ละปี ทั้งในแง่จุดเด่น จุด
ควรพัฒนา โอกาส และข้อจากัด ตลอดจนผลที่เกิดขึ้น ข้อมูลจากผลการดาเนินงานในปี ปัจจุบันจะเป็ นประโยชน์ต่อการ
นาไปใช้ปรับปรุงและพัฒนางานในปี ถัดไป การจัดการศึกษาจะเห็นผลความก้าวหน้าชัดเจนขึ้น
2.การที่ครูผู้สอนและผู้เกี่ยวข้องได้เห็นข้อมูลจากการดาเนินงานของสถานศึกษาในเชิงประจักษ์มี
หลักฐานชัดเจน จะช่วยกระตุ้นให้เกดการตื่นตัว และมีการปรับพฤติกรรมการทางานเพื่อเป้ าหมายที่กาหนดไว้ร่วมกัน
3.ผู้ปกครอง ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ได้รับรู้ผลงานในส่วนที่ดี ก็จะมีการประชาสัมพันธ์ไปสู่วง
กว้าง ในส่วนที่ควรได้รับการแก้ไขก็จะได้รับการสนับสนุนช่วยเหลืออย่างเหมาะสม
4.หน่วยงานต้นสังกัด อันได้แก่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษา มีฐานข้อมูลรวมระดับประเทศ การกาหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจะมีทิศทางที่ชัดเจน
5.สถานศึกษาใช้รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี แสดงผลการดาเนินงานตามภารกิจ
ของสถานศึกษาอันเกิดจากการประเมินตนเอง โดยคณะบุคคลภายในสถานศึกษา เสนอต่อสานักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) เพื่อรับการประเมินภายนอกได้โดยไม่ต้องจัดทาใหม่อีก
สาระสาคัญในรายงาน แบ่งออกเป็ น ๔ บท คือ
บทที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน
รายละเอียดในข้อมูลทั่วไป ประกอบด้วย
๑.๑ ข้อมูลทั่วไป ระบุระดับการศึกษาที่เปิ ดสอน สถานที่ตั้ง เนื้อที่ระบบสื่อสารคมนาคมที่สามารถ
ติด ต่อได้
๑.๒ ข้อมูลด้านการบริหาร ระบุชื่อบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร วิธีบริหารจัดการศึกษา
โครงสร้างการบริหาร เทคนิคการบริหาร
๑.๓ ข้อมูลนักเรียน ระบุจานวนเด็กในเขตพื้นที่บริการ จานวนนักเรียนทั้งหมด จานวนนักเรียน
จาแนกตามระดับชั้นที่เปิ ดสอน นักเรียนเรียนร่วมที่มีความบกพร่องทางร่างกายสติปัญญา
นักเรียนปัญญาเลิศ นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ถ้ามี) นักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือ
เป็ นพิเศษ สัดส่วนครูต่อนักเรียน จานวนนักเรียนต่อห้องเรียน จานวนนักเรียนที่ได้รับรางวัล โล่
เกียรติบัตร หรือมีผลงานดีเด่น สถิติการมาเรียน ลาออกกลางคัน และจบหลักสูตร
๑.๔ ข้อมูลบุคลากร ระบุจานวนครูและบุคลากรจาแนกตามวุฒิทางการศึกษาประสบการณ์การสอน
อายุเฉลี่ย จานวนครูประจาการ ครูอัตราจ้าง สถิติการอบรมและพัฒนาบุคลากร สถิติการมาทางาน
ชั่วโมงสอนโดยเฉลี่ยของครู การได้รับรางวัล เกียรติบัตร และผลงานดีเด่นด้านต่าง ๆ ในภาพรวม
๑.๕ สภาพชุมชนโดยรวม ระบุอาชีพ ศาสนา รายได้ ระดับการศึกษาของผู้ปกครองแนวโน้มความ
ต้องการของผู้ปกครองและชุมชน จุดแข็งและจุดควรพัฒนา โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน การ
สืบสานประเพณี ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น
๑.๖ โครงสร้างหลักสูตร ระบุโครงสร้างการจัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ การจัดเวลาเรียนจุดเน้นการ
พัฒนาผู้เรียน การกาหนดสาระการเรียนรู้เพิ่มเติมในแต่ละกลุ่มสาระ
๑.๗ ข้อมูลด้านอาคารสถานที่ ระบุจานวนอาคารเรียน อาคารประกอบห้องปฏิบัติการพิเศษ
๑.๘ ข้อมูลด้านงบประมารและทรัพยากร ระบุงบประมาณที่ได้รับและการใช้จ่ายงบประมาณ ข้อมูล
เกี่ยวกับอาคารสถานที่ สื่ออุปกรณ์ เครื่องอานวยความสะดวก
๑.๙ แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการใช้ห้องสมุด (บอกขนาดห้อง) จานวน/ประเภท
หนังสือในห้องสมุด จานวนคอมพิวเตอร์ (อัตราส่วน จานวนนักเรียนต่อเครื่อง) แหล่งติดตั้ง
อินเทอร์เน็ตและอัตราการใช้ แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น
พร้อมสถิติการใช้
๑.๑๐ ผลการดาเนินงานในรอบปี ที่ผ่านมา ระบุผลการดาเนินงาน/โครงการที่ประสบผลสาเร็จและ
ไม่ประสบผลสาเร็จหรือปัญหาอุปสรรคในรอบปี ที่ผ่านมาโดยย่อ เช่น โครงการส่งเสริมนักเรียน
ปัญญาเลิศ โครงการพัฒนาทักษะทางด้านวิชาการ โครงการตามพระราชดาริ ฯลฯ และผลงานของ
นักเรียน และบุคลากรที่ได้รับรางวัลจากหน่วยงานต่าง ๆ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน
๑.๑๑ ผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบที่ผ่านมา พร้อมอธิบายผล การนาผลประเมินมาใช้
พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาอย่างย่อ ๆ
บทที่ ๒ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี
สาระสาคัญในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี ของสถานศึกษา ให้ระบุหัวข้อ
ต่อไปนี้
ปรัชญาและวิสัยทัศน์ ระบุปรัชญา หรือคติพจน์ หรือคาขวัญที่สถานศึกษากาหนดไว้ และระบุ
วิสัยทัศน์ของสถานศึกษาที่บ่งบอกถึงเป้ าหมายการพัฒนาภายในช่วงเวลา ๓-๕ ปี (เป้ าหมาย
การจัดการศึกษา หมายถึง มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน/มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย)
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี ระบุเป้ าหมายการจัดการศึกษาพร้อมทั้งเกณฑ์ที่มุ่งให้
บรรลุผล การดาเนินกิจกรรม/โครงการ ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ และแผนการ
ดาเนินงานโดยย่อ
บทที่ ๓ ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบปี
สาระสาคัญในบทนี้ให้เสนอผลการพัฒนาสถานศึกษาตาม
มาตรฐานกาศึกษาขั้นพื้นฐาน/มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย รวมทั้ง
มาตรฐานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และที่สถานศึกษากาหนด
โดยรายงานแบ่งเป็ น ๔ ด้าน ได้แก่
๑. ด้านคุณภาพผู้เรียน
๒. ด้านการเรียนการสอน
๓. ด้านการบริหารและจัดการศึกษา
๔. ด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้
บทที่ ๔ สรุปผลการพัฒนาและการนาผลไปใช้
สาระสาคัญของการนาเสนอในบทนี้ แบ่งเป็ น ๔ หัวข้อ ดังนี้
๑. สรุปผลการดาเนินกิจกรรม/โครงการในภาพรวม
๒. จุดเด่นและจุดควรพัฒนา
๓. แนวทางการพัฒนาคุณภาพในอนาคต
๔. ความต้องการการสนับสนุนและช่วยเหลือ
ภาคผนวก
สิ่งที่ต้องนาเสนอในภาคผนวก คือ แหล่งยืนยันข้อมูลที่สาคัญ ๆ
เช่น ตารางแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจาแนกตามระดับผล
การเรียน/ระดับชั้น/กลุ่มสระ และตารางหรือแผนภาพแสดงผล
การทดสอบคุณภาพระดับชาติ ฯลฯ หากสถานศึกษาต้องการ
เสนอข้อมูลอื่น ๆ ให้นามาใส่ไว้ในภาคผนวกได้
สัปดาห์ที่ 11

More Related Content

What's hot

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศjureeratlove
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นTophuto Piyapan
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล Watuka Wannarun
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลchanoot29
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศPatipan Infinity
 
E library
E libraryE library
E libraryangsuma
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณlovelovejung
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5hattayagif
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศManas Panjai
 

What's hot (13)

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
การจัดการข้อมูลสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลสารสนเทศการจัดการข้อมูลสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลสารสนเทศ
 
E library
E libraryE library
E library
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 

Similar to สัปดาห์ที่ 11

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษางาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษาTawatchai Sangpukdee
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]orathai
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์ orathai
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศsiriyapa
 
คอม
คอมคอม
คอม0win0
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2Nuttapoom Tossanut
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศnattapas33130
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 

Similar to สัปดาห์ที่ 11 (20)

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษางาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
 
Vision 1
Vision 1Vision 1
Vision 1
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
 
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
 
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 

More from Nattaka_Su

สัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอก
สัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอกสัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอก
สัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอกNattaka_Su
 
สัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
สัปดาห์ที่9 ประกันภายในสัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
สัปดาห์ที่9 ประกันภายในNattaka_Su
 
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษามาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาNattaka_Su
 
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาเนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาNattaka_Su
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาสัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาNattaka_Su
 
สัปดาห์ที่ 5 6
สัปดาห์ที่ 5   6สัปดาห์ที่ 5   6
สัปดาห์ที่ 5 6Nattaka_Su
 
สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์ที่ 4สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์ที่ 4Nattaka_Su
 
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาNattaka_Su
 
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษามาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาNattaka_Su
 

More from Nattaka_Su (10)

สัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอก
สัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอกสัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอก
สัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอก
 
สัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
สัปดาห์ที่9 ประกันภายในสัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
สัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
 
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษามาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
 
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาเนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาสัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
 
สัปดาห์ที่ 5 6
สัปดาห์ที่ 5   6สัปดาห์ที่ 5   6
สัปดาห์ที่ 5 6
 
สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์ที่ 4สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์ที่ 4
 
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
 
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษามาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
 

สัปดาห์ที่ 11

  • 2. ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ซึ่งอาจแสดงเปิ ดตัวเลข ตัวหนังสือ หรือ สัญลักษณ์ ข้อเท็จจริงเหล่านี้เป็ นสิ่งที่เก็บรวบรวมมาโดยยังไม่ผ่านการประมวลผล หรือการวิเคราะห์จัดกระทา จึงทาให้ส่วนมากไม่มีความหมายสมบูรณ์พอที่จะ นาไปใช้ประกอบการตัดสินใจตัวอย่างของข้อมูล เช่น จานวนห้องเรียน จานวน นักเรียน น้าหนัก ส่วนสูง ผลการประเมินตัวชี้จัดตามมาตรฐานหลักสูตร สถานศึกษา เป็ นต้น
  • 3. การจัดเก็บข้อมูล หมายถึง การรวบรวมและจัดเก็บรักษา ข้อมูล และสารสนเทศที่มีอยู่หรือที่ได้มาอย่างมีระบบ สะดวก ต่อการนามาประมวลผล หรือนามาใช้ประโยชน์ และสามารถ แก้ไข ปรับปรุงให้เป็ นปัจจุบันได้ง่าย
  • 4. ระบบสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล การ ประมวลผลให้อยู่ในรูปสารสนเทศที่เป็ นประโยชน์สูงสุดและการจัดเก็บ รักษาอย่างมีระบบเพื่อสะดวกต่อการนาไปใช้ สารสนเทศที่ถูกจัดเก็บ อย่างเป็ นระบบจะสามารถนาไปใช้สนับสนุนการบริหาร และการตัดสินใจ ทั้งในระดับผู้ปฏิบัติและระดับผู้บริหารเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน ยิ่ ง ขึ้ น
  • 5. สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลหรือการวิเคราะห์ด้วยวิธีการต่าง ๆ จน อยู่ในรูปแบบที่มีความหมาย สามารถนาไปใช้ประกอบการตัดสินใจหรือนาไปใช้ในเรื่องต่าง ๆ ได้ ตามวัตถุประสงค์ จากความหมายที่กล่าวมาข้างต้น สารสนเทศของสถานศึกษา จึงเกิดจากการนา ข้อมูลต่าง ๆ ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบของครู บุคลากรในสถานศึกษาและ ผู้ที่เกี่ยวข้องมาจัดกระทา/ประมวลผลหรือวิเคราะห์ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การจัดหมวดหมู่ การ เรียงลาดับ การแจงนับ การวิเคราะห์ ฯลฯ ตลอดจนการใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ (คานวณหา ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความแปรปรวน ฯลฯ) ผลที่ได้จาการจัดกระทาด้วย วิธีการต่าง ๆ จะเป็ นสารสนเทศ ซึ่งสามารถนาเสนอได้ในหลายรูปแบบ เช่น ตาราง แผนภาพ กราฟ หรือการบรรยายเป็ นความเรียนเป็ นต้น
  • 6. การจัดให้มีระบบสารสนเทศที่ดีในสถานศึกษานั้นต้องเป็นไปตารมกระบวนการ หรือขั้นตอนที่มีคุณภาพตรงกับความต้องการของผู้ใช้โดยทั่วไปการจัดระบบสารสนเทศมี ขั้นตอนการดาเนินงานหลักๆจานวน ๕ ขั้นตอน คือ ๑) การรวบรวมข้อมูล ๒) การตรวจสอบข้อมูล ๓) การประมวลผลข้อมูล ๔) การนาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ๕) การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ ซึ่งแต่ละขั้นตอนมีรายละเอียดดังนี้
  • 7. 1. การรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ นั้น จะต้องกาหนดรายการข้อมูลที่ต้องการ กาหนด วิธี การจัดเก็บ สร้างหรือจัดหาเครื่องมือในการจัดเก็บให้สอดคล้องกับลักษณะของข้อมูลและ แหล่งข้อมูล เช่น แบบสารวจ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบบันทึก แบบสังเกต เป็ นต้น นอกจากนั้น ควรกาหนดเวลาในการจัดเก็บหรือผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บโดยต้องคานึงถึงข้อมูล ที่ตรงกับความต้องการที่กาหนดไว้และมีความเชื่อถือได้ การกาหนดรายการข้อมูลที่ต้องการนั้น อาจดาเนินการโดยศึกษาจากมาตรฐานการศึกษา ในระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการ ประเมินคุณภาพภายในของกระทรวงศึกษาธิการ มาตรฐานการศึกษาเพื่อการประเมิน คุณภาพ ภายนอกของ สมศ. มาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฯลฯ จากนั้นจึงกาหนดวิธีการและเครื่องมือสาหรับรวบรวมข้อมูลให้มีความ สอดคล้องกัน เช่น กาหนดวิธีการรวบรวมข้อมูลด้วยการสอบถาม เครื่องมือที่ใช้ควรเป็ น แบบสอบถามหรือใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลด้วยการสังเกต เครื่องมือที่ใช้ก็ควรเป็ นแบบสังเกต เป็ นต้น
  • 8. 2.การตรวจสอบข้อมูล ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ก่อนที่จะนาไปประมวลผล ควรมีการตรวจสอบ ความถูกต้องของ ข้อมูลก่อน โดยพิจารณาจากความถูกต้อง ความสมบูรณ์และความเป็ นปัจจุบันของข้อมูล 3.การประมวลผลข้อมูล การนาข้อมูลมาประมวลผลให้เป็ นสารสนเทศ หรือเป็ นการเปลี่ยนแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ นาไปใช้ประโยชน์ได้ ข้อมูลใดที่เป็ นสารสนเทศอยู่แล้ว ก็นามาจัดกลุ่ม แยกแยะ ตามลักษณะ และประเภทของสารสนเทศ ซึ่งการประมวลผลนั้นอาจเป็ นการจัดหมวดหมู่ การเรียงลาดับ การ แจงนับ สาหรับการใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ การดาเนินการอาจใช้วิธีการง่าย ๆ ที่เรียกว่าทาด้วย มือใช้เครื่องคานวณเล็ก ๆ มาช่วย จนกระทั่งใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ คือ คอมพิวเตอร์ก็ได้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ควรใช้ค่าสถิตที่ง่ายและตรงที่สุด ค่าสถิติที่นิยมนามาใช้ เช่น ค่าร้อยละ อัตราส่วน สัดส่วน ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน หรือแม้กระทั่งการแจกแจงความถี่ ที่เป็ นการ หาค่าสถิติที่ง่ายที่สุด
  • 9. 4. การนาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลหรือจัดทาเป็ นสารสนเทศที่มี ความหมายชัดเจน มีความกะทัดรัด ตรงกับความต้องการและ สะดวกต่อการนาไปใช้ อาจนาเสนอในรูปของตาราง แผนภาพ กราฟ หรือการบรรยายเป็ นความเรียง ก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ เหมาะสมของการนาไปใช้และลักษณะของสารสนเทศนั้น ๆ
  • 10. 5.การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ การจัดเก็บส่วนที่เป็นข้อมูลและส่วนที่เป็นสารสนเทศไว้ในสื่อต่าง ๆ อย่างมีระบบ สะดวกต่อการค้นหา เพื่อนามาใช้ประโยชน์ อาจจัดเก็บเป็นแฟ้ มเอกสารหรือแฟ้ มอิเล็กทรอนิกส์ ตามศักยภาพของสถานศึกษา แต่ ต้องคานึงถึงระบบของการค้นหาให้สะดวกต่อการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน การนาข้อมูลไป ประมวลผลใหม่ รวมทั้งการนาสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในงานต่าง ๆ สถานศึกษาที่มีระบบสารสนเทศที่สมบูรณ์ ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน ใช้ได้สะดวกและตรงตามความต้องการ จะช่วยให้สถานศึกษาสามารถดาเนินงานพัฒนา คุณภาพกรศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลเป็นการสร้างความมั่นใจที่ตั้งอยู่บนรากฐานของหลัก วิชา หลักฐานขอเท็จจริงที่สามารถตรวจสอบได้มีกระบวนการวิเคราะห์ประมวลผลที่เป็นวิทยาศาสตร์มีความ สมเหตุสมผลเพราะสารสนเทศทั้งหลายนั้น นอกจากจะใช้ในการวางแผนการดาเนินงานและประกอบการ ตัดสินใจแล้ว ยังนาไปสู่การพัฒนาแนวความคิดและสร้างทางเลือกใหม่ ๆ ในการดาเนินการต่าง ๆ ด้วย ซึ่งการ จัดระบบสารสนเทศอาจจาแนกตามวิธีดาเนินการออกเป็น ๓ ระบบ มีจุดเด่นและจุดด้วย พอสรุปได้ดังนี้
  • 11. ระบบทาด้วยมือ (Manual System) เป็นระบบที่เก็บโดยการใช้เอกสารในรูปแบบ ต่าง ๆ ระบบนี้มีข้อดี คือค่าใช้จ่ายน้อย ส่วนข้อเสีย คือการเรียกใช้ไม่สะดวกและไม่ทนการ หากจัดระบบแฟ้ มเอกสารไมเหมาะสมเท่าที่ควร ระบบกึ่งอัตโนมัติ (Semi - Automation) ระบบนี้ใช้มือทาส่วนหนึ่งและใช้ เครื่องกลส่วนหนึ่ง กล่าวคือ ส่วนที่เป็นเอกสารต่าง ๆ ทาด้วยมือ และส่วนที่สร้างระบบ สารสนเทศใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย ระบบนี้มีข้อดี คือค่าใช้จ่ายไม่สูง การฝึกอบรม บุคลากรไม่มากนัก แต่มีข้อเสีย คือถ้ารูปแบบเอกสารและการปฏิบัติงานไม่เหมาะสม การ กรอกข้อมูลผิดพลาด จะทาให้การดาเนินการล่าช้า ระบบนี้จะทาได้ดีต่อเมื่อส่วนที่ทาด้วยมือ ทาได้สมบูรณ์แบบ ได้แก่ การกรอกข้อมูลครบถ้วนถูกต้อง มีระบบควบคุม ตรวจสอบอย่างดี ระบบอัตโนมัติ (Full – Automation) เป็นระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ดาเนินงาน ระบบนี้ต้องมีการออกแบบให้เข้ากับลักษณะงาน เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ สร้างมาจะมีลักษณะและขนาดของเครื่องแตกต่างดัน
  • 12. อย่างไรก็ตาม การจัดระบบสารสนเทศที่ครบถ้วน ถูกต้องและเรียกใช้ได้ทันเวลาในทุกสถานการณ์ ของสถานศึกษา นอกจากจะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการจัดเก็บข้อมูลแล้ว สถานศึกษาไม่ว่าขนาดใหญ่ กลาง หรือเล็ก อยู่ในเมืองหรือชนบท หากจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้แฟ้ มเอกสารไว้ด้วยก็จะทาให้ กระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในด้านต่าง ๆ ดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศโดยใช้แฟ้ มเอกสาร อาจจัดแบ่งได้ดังนี้ 1. แฟ้ มข้อมูลหลัก เป็ นข้อมูลพื้นฐาน ซึ่งแบ่งเป็ นหลายแฟ้ มตามโครงสร้างของงาน 2. แฟ้ มข้อมูลย่อย เป็ นแฟ้ มข้อมูลใหม่ ๆ ของแฟ้ มข้อมูลหลัก แต่ยังอาจต้องปรับให้เป็ นปัจจุบัน 3. แฟ้ มดัชนี เป็ นแฟ้ มเลขดังชะนีที่ระบุว่าข้อมูลใดอยู่ส่วนไหนของข้อมูลหลัก 4. แฟ้ มตารางอ้างอิง เป็ นรวบรวมข้อมูลในลักษณะตารางซึ่งใช้ประโยชน์ในการอ้างอิง 5. แฟ้ มข้อมูลสรุป เป็ นแฟ้ มที่รวบรวมข้อมูลในรูปแบบของการสรุปผล 6. แฟ้ มข้อมูลสารอง เป็ นการสร้างแฟ้ มสารองข้อมูลสาคัญ ๆ เพื่อประโยชน์ในกรณีที่ข้อมูลเดิมสูญหาย
  • 13. การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาปฐมวัยจากองค์กรภายในและภายนอก การประเมินคุณภาพการจดการศึกษาจากองค์กรภายใน เป็ นกระบวนการประเมิลผลการ ดาเนินงานของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่กระทาโดยบุคลากรภายใน หรือผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง การประเมินคุณภาพภายในถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของการบริหาร จัดการ เพื่อที่จะได้ทราบขีดความสามารถในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ว่าบรรลุตารม เป้ าหมายหรือมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาหรือไม่ นาผลการประเมินไปแก้ไขข้อบกพร่อง ได้ทันที เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement) การประเมิน ภายในถือเป็นกระบวนการตรวจสอบ การทางานของสถานศึกษาหรือการประเมินตนเอง (Self – Evaluation) การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาควรยึดมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาเป็นหลัก แต่อย่างไรก็ตามควรสะท้อนภาพความสาเร็จที่ชัดเจน อย่างน้อย 2 ด้าน ดังนี้
  • 14. 1. คุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ตามหลักสูตรของสถานศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในทุก ระดับชั้น พฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียนโดยระบุได้ถึงกลุ่มผู้เรียนที่มี ความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มีความเสี่ยง กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนกลุ่มผู้เรียนที่มีคุณลักษณะไม่เป็ นไปตามที่พึงประสงค์ เพราะ ข้อมูลจากการประเมินเหล่านี้จะสะท้อนให้เห็นว่าการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ประสบผลสาเร็จตามที่กาหนดไว้หรือไม่อาจนาไปสู่การปรับปรุงการบริหารจัดการ
  • 15. 2. คุณภาพการศึกษาด้านการบริหารจัดการของสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถดาเนินการ ประเมิน คุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาที่สถานศึกษากาหนดไว้แล้วในทุกมาตรฐานด้วย วิธีการที่หลากหลายและเหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการประเมิน เช่น ใช้การสังเกต การสัมภาษณ์ การตรวจสอบจากเอกสารหรือข้อมูลเชิงประจักษ์ การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาจากองค์กรภายนอก เป็ นการประเมินคุณภาพการ จัดการศึกษา การติดตาม การตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดย ผู้ประเมินภายนอกที่ได้รับการรับรองจากสานังกานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาให้ดียิ่งขึ้น
  • 16. การจัดทารายงานการประเมินคุณภาพาการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๔๘ ว่า ให้ สถานศึกษาที่มีการจัดทารายงานประจาปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิ ดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา อีกทั้งปัจจุบันมีสานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือที่รู้จักกันในนาม สมศ. ทาหน้าที่ประเมินคุณภาพภายนอกอีกทางหนึ่ง รายงานการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาประจาปี ยิ่งเป็ นสิ่งจาเป็ นที่สถานศึกษาต้องจัดทา เพื่อส่งให้ สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพกรศึกษา ได้รับรู้สภาพและผล การดาเนินงานเป็ นฐานข้อมูลเบื้องต้นสาหรับการประเมินภายนอก
  • 17. วัตถุประสงค์ของการจดทางายงาน 1. รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี ของสถานศึกษา เป็ นรายงานที่แสดงภารกิจการ ดาเนินงานและผลการดาเนินงานประจาปี การศึกษา ซึ่งถือเป็ นหน้าที่ของสถานศึกษาที่ต้องจัดทาเพื่อแสดง ความรับผิดชอบต่อหน่วยงานต้นสังกัด 2.รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี ของสถานศึกษาเป็ นฐานข้อมูลที่จาเป็ นสาหรับ การ ประเมินคุณภาพภายนอก สถานศึกษาต้องส่งรายงานดังกล่าวนี้ให้แก่สานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) ในปี ที่เข้ารับการประเมิน 3.สถานศึกษามีหน้าที่ที่จะต้องรายงานผลการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาในแต่ละปี ให้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษา พ่อแม่ ผู้ปกครอง ตลอดจนรายงานต่อสาธารณชน เพื่อให้เกิดความร่วมแรง ร่วมใจในการพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพสูงยิ่ง ๆ ขึ้นไป
  • 18. ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดทารายงาน 1.สถานศึกษามีฐานข้อมูลของการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาในแต่ละปี ทั้งในแง่จุดเด่น จุด ควรพัฒนา โอกาส และข้อจากัด ตลอดจนผลที่เกิดขึ้น ข้อมูลจากผลการดาเนินงานในปี ปัจจุบันจะเป็ นประโยชน์ต่อการ นาไปใช้ปรับปรุงและพัฒนางานในปี ถัดไป การจัดการศึกษาจะเห็นผลความก้าวหน้าชัดเจนขึ้น 2.การที่ครูผู้สอนและผู้เกี่ยวข้องได้เห็นข้อมูลจากการดาเนินงานของสถานศึกษาในเชิงประจักษ์มี หลักฐานชัดเจน จะช่วยกระตุ้นให้เกดการตื่นตัว และมีการปรับพฤติกรรมการทางานเพื่อเป้ าหมายที่กาหนดไว้ร่วมกัน 3.ผู้ปกครอง ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ได้รับรู้ผลงานในส่วนที่ดี ก็จะมีการประชาสัมพันธ์ไปสู่วง กว้าง ในส่วนที่ควรได้รับการแก้ไขก็จะได้รับการสนับสนุนช่วยเหลืออย่างเหมาะสม 4.หน่วยงานต้นสังกัด อันได้แก่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักงานเขต พื้นที่การศึกษา มีฐานข้อมูลรวมระดับประเทศ การกาหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจะมีทิศทางที่ชัดเจน 5.สถานศึกษาใช้รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี แสดงผลการดาเนินงานตามภารกิจ ของสถานศึกษาอันเกิดจากการประเมินตนเอง โดยคณะบุคคลภายในสถานศึกษา เสนอต่อสานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) เพื่อรับการประเมินภายนอกได้โดยไม่ต้องจัดทาใหม่อีก
  • 19. สาระสาคัญในรายงาน แบ่งออกเป็ น ๔ บท คือ บทที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน รายละเอียดในข้อมูลทั่วไป ประกอบด้วย ๑.๑ ข้อมูลทั่วไป ระบุระดับการศึกษาที่เปิ ดสอน สถานที่ตั้ง เนื้อที่ระบบสื่อสารคมนาคมที่สามารถ ติด ต่อได้ ๑.๒ ข้อมูลด้านการบริหาร ระบุชื่อบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร วิธีบริหารจัดการศึกษา โครงสร้างการบริหาร เทคนิคการบริหาร ๑.๓ ข้อมูลนักเรียน ระบุจานวนเด็กในเขตพื้นที่บริการ จานวนนักเรียนทั้งหมด จานวนนักเรียน จาแนกตามระดับชั้นที่เปิ ดสอน นักเรียนเรียนร่วมที่มีความบกพร่องทางร่างกายสติปัญญา นักเรียนปัญญาเลิศ นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ถ้ามี) นักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือ เป็ นพิเศษ สัดส่วนครูต่อนักเรียน จานวนนักเรียนต่อห้องเรียน จานวนนักเรียนที่ได้รับรางวัล โล่ เกียรติบัตร หรือมีผลงานดีเด่น สถิติการมาเรียน ลาออกกลางคัน และจบหลักสูตร
  • 20. ๑.๔ ข้อมูลบุคลากร ระบุจานวนครูและบุคลากรจาแนกตามวุฒิทางการศึกษาประสบการณ์การสอน อายุเฉลี่ย จานวนครูประจาการ ครูอัตราจ้าง สถิติการอบรมและพัฒนาบุคลากร สถิติการมาทางาน ชั่วโมงสอนโดยเฉลี่ยของครู การได้รับรางวัล เกียรติบัตร และผลงานดีเด่นด้านต่าง ๆ ในภาพรวม ๑.๕ สภาพชุมชนโดยรวม ระบุอาชีพ ศาสนา รายได้ ระดับการศึกษาของผู้ปกครองแนวโน้มความ ต้องการของผู้ปกครองและชุมชน จุดแข็งและจุดควรพัฒนา โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน การ สืบสานประเพณี ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น ๑.๖ โครงสร้างหลักสูตร ระบุโครงสร้างการจัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ การจัดเวลาเรียนจุดเน้นการ พัฒนาผู้เรียน การกาหนดสาระการเรียนรู้เพิ่มเติมในแต่ละกลุ่มสาระ ๑.๗ ข้อมูลด้านอาคารสถานที่ ระบุจานวนอาคารเรียน อาคารประกอบห้องปฏิบัติการพิเศษ ๑.๘ ข้อมูลด้านงบประมารและทรัพยากร ระบุงบประมาณที่ได้รับและการใช้จ่ายงบประมาณ ข้อมูล เกี่ยวกับอาคารสถานที่ สื่ออุปกรณ์ เครื่องอานวยความสะดวก
  • 21. ๑.๙ แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการใช้ห้องสมุด (บอกขนาดห้อง) จานวน/ประเภท หนังสือในห้องสมุด จานวนคอมพิวเตอร์ (อัตราส่วน จานวนนักเรียนต่อเครื่อง) แหล่งติดตั้ง อินเทอร์เน็ตและอัตราการใช้ แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น พร้อมสถิติการใช้ ๑.๑๐ ผลการดาเนินงานในรอบปี ที่ผ่านมา ระบุผลการดาเนินงาน/โครงการที่ประสบผลสาเร็จและ ไม่ประสบผลสาเร็จหรือปัญหาอุปสรรคในรอบปี ที่ผ่านมาโดยย่อ เช่น โครงการส่งเสริมนักเรียน ปัญญาเลิศ โครงการพัฒนาทักษะทางด้านวิชาการ โครงการตามพระราชดาริ ฯลฯ และผลงานของ นักเรียน และบุคลากรที่ได้รับรางวัลจากหน่วยงานต่าง ๆ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน ๑.๑๑ ผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบที่ผ่านมา พร้อมอธิบายผล การนาผลประเมินมาใช้ พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาอย่างย่อ ๆ
  • 22. บทที่ ๒ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี สาระสาคัญในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี ของสถานศึกษา ให้ระบุหัวข้อ ต่อไปนี้ ปรัชญาและวิสัยทัศน์ ระบุปรัชญา หรือคติพจน์ หรือคาขวัญที่สถานศึกษากาหนดไว้ และระบุ วิสัยทัศน์ของสถานศึกษาที่บ่งบอกถึงเป้ าหมายการพัฒนาภายในช่วงเวลา ๓-๕ ปี (เป้ าหมาย การจัดการศึกษา หมายถึง มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน/มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย) แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี ระบุเป้ าหมายการจัดการศึกษาพร้อมทั้งเกณฑ์ที่มุ่งให้ บรรลุผล การดาเนินกิจกรรม/โครงการ ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ และแผนการ ดาเนินงานโดยย่อ
  • 23. บทที่ ๓ ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบปี สาระสาคัญในบทนี้ให้เสนอผลการพัฒนาสถานศึกษาตาม มาตรฐานกาศึกษาขั้นพื้นฐาน/มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย รวมทั้ง มาตรฐานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และที่สถานศึกษากาหนด โดยรายงานแบ่งเป็ น ๔ ด้าน ได้แก่ ๑. ด้านคุณภาพผู้เรียน ๒. ด้านการเรียนการสอน ๓. ด้านการบริหารและจัดการศึกษา ๔. ด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้
  • 24. บทที่ ๔ สรุปผลการพัฒนาและการนาผลไปใช้ สาระสาคัญของการนาเสนอในบทนี้ แบ่งเป็ น ๔ หัวข้อ ดังนี้ ๑. สรุปผลการดาเนินกิจกรรม/โครงการในภาพรวม ๒. จุดเด่นและจุดควรพัฒนา ๓. แนวทางการพัฒนาคุณภาพในอนาคต ๔. ความต้องการการสนับสนุนและช่วยเหลือ
  • 25. ภาคผนวก สิ่งที่ต้องนาเสนอในภาคผนวก คือ แหล่งยืนยันข้อมูลที่สาคัญ ๆ เช่น ตารางแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจาแนกตามระดับผล การเรียน/ระดับชั้น/กลุ่มสระ และตารางหรือแผนภาพแสดงผล การทดสอบคุณภาพระดับชาติ ฯลฯ หากสถานศึกษาต้องการ เสนอข้อมูลอื่น ๆ ให้นามาใส่ไว้ในภาคผนวกได้