SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
ระบบประสาท  คือ ระบบการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ของสัตว์ทำาให้สัตว์สามารถตอบสนองต่อสิ่งต่างๆ
รอบตัวอย่างรวดเร็ว ช่วยรวบรวมข้อมูลเพื่อให้
 สามารถตอบ สนองได้ สัตว์ชั้นตำ่าบางชนิด เช่น
ฟองนำ้า ไม่มีระบบประสาท สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
บางชนิดเริ่มมีระบบประสาท สัตว์ชั้นสูงขึ้นมาจะมี
โครงสร้างของระบบประสาทซับซ้อนยิ่งขึ้น
ระบบประสาท  มีหน้าที่ในการออกคำาสั่งการทำางาน
ของกล้ามเนื้อ ควบคุมการทำางานของอวัยวะต่างๆ
ในร่างกาย และประมวลข้อมูลที่รับมาจากประสาท
สัมผัสต่างๆ และสร้างคำาสั่งต่าง ๆ (action) ให้
อวัยวะต่างๆ ทำางาน ระบบประสาทของสัตว์ที่มี
สมองจะมีความคิดและอารมณ์ ระบบประสาทจึง
เป็นส่วนของร่างกายที่ทำาให้สัตว์มีการเคลื่อนไหว
(ยกเว้นสัตว์ชั้นตำ่าที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ เช่น
เซลล์ประสาท
ประกอบด้วยส่วนที่สำาคัญ 2 ส่วน คือ
ตัวเซลล์ (cell body) และ ใยประสาท (nerve
fiber)
–  ตัวเซลล์ เป็นส่วนของไซโทพลาซึมและนิวเคลียส
ตัวเซลล์มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ4 – 25
ไมโครเมตร ภายในมีออร์แกเนลล์ที่สำาคัญ คือ ไม
โทคอนเดรีย เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมและกอลจิ
คอมเพล็กซ์ จำานวนมาก
–  ใยประสาท ที่นำากระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์
เรียกว่า เดนไดรต์ (dendrite) ใยประสาทนำา
กรณีใยประสาทยาวซึ่งมักเป็นใยประสาทของแอก
ซอนจะมี เยื่อไมอีลิน (myelin sheath)
มาหุ้มใยประสาท เยื่อไมอีลินมีสารจำาพวกลิพิดเป็น
องค์ประกอบเมื่อตรวจดูภาพตัดขวางของเยื่อไม
อีลินด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน พบว่าเยื่อ
 ไมอีลินติดต่อกับเซลล์ชวันน์ (schwann cell)
ซึ่งเป็นเซลล์คำ้าจุนชนิดหนึ่งแสดงว่าเยื่อไมอีลิน
เป็นส่วนหนึ่งของเยื่อหุ้มของเซลล์ชวันน์ส่วน
ของแอกซอนตรงบริเวณร่อยต่อระหว่างเซลล์
ชวันน์แต่ละเซลล์เป็นบริเวณที่ไม่มีเยื่อไมอีลิน
 หุ้มเรียกว่า โนดออฟแรนเวียร์ (node of
Ranvier)
เซลล์ประสาทจำาแนกตามหน้าที่ได้ 3 ชนิด ได้แก่
 เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron)
คือ เซลล์ประสาทที่รับกระแสประสาทจากหน่วยรับความ
รู้สึก แล้วถ่ายทอดกระแสประสาทไปยังเซลล์ประสาทสั่ง
การ อาจผ่านเซลล์ประสาทประสานงานหรือไม่ผ่าน
ก็ได้
เซลล์เหล่านี้มีตัวเซลล์อยู่ที่ปมประสาทรากบนของ
ไขสันหลัง
 เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron)
มักมีใยประสาทแอกซอนยาวกว่าเดนไดรต์ อาจยาวถึง 1
เมตร เพราะ เซลล์ประสาทสั่งการที่อยู่ในไขสันหลังต้อง
ส่งกระแสประสาทออกจากไขสันหลัง เพื่อนำากระแส
ประสาทไปยัง
หน่วยปฏิบัติงาน เช่น กล้ามเนื้อแขนขา ซึ่งอยู่ห่างไกล
จากไขสันหลังมาก
 เซลล์ประสาทประสานงาน (association neuron )
เซลล์ประสาทชนิดนี้อยู่ภายในสมองและไขสันหลัง จะ
เซลล์ประสาทแบ่งตามจำานวนแขนงที่แยกออกจากตัว
เซลล์ แบ่งได้เป็น 3 ชนิด คือ
 1. เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron)
เซลล์ประสาทประเภทนี้ส่วนของแอกซอนและเดนไดรต์ที่ใกล้ๆ
ตัวเซลล์จะรวมเป็นเส้นเดียวกัน ทำาให้มีแขนงแยกออกจาก
ตัวเซลล์เพียงแขนงเดียว เดนไดรต์มักจะยาวกว่าแอกซอน
มากพบที่ปมประสาทรากบน (dorsal root ganglion)
ของไขสันหลัง
2. เซลล์ประสาทสองขั้ว (bipolar neuron)
เซลล์ประสาทมีแขนงแยกออกมาเป็น 2 แขนง โดยแขนงหนึ่ง
เป็นแอกซอน และอีกแขนงหนึ่งเป็นเดนไดรต์ ความยาวของ
แขนงทั้งสองนี้ใกล้เคียงกัน พบได้ที่เรตินาของลูกตา คอ
เคลียของหูและเยื่อดมกลิ่นของจมูก เซลล์ประสาทขั้วเดียว
และเซลล์ประสาทสองขั้ว มักจะทำาหน้าที่เป็นเซลล์ประสาท
รับความรู้สึก
3. เซลล์ประสาทหลายขั้ว (multipolar neuron)
เซล์ประสาทจะมีหลายแขนงโดยเป็นแอกซอน 1 แขนง และ
เป็นเดนไดรต์ 2 หรือมากกว่าเซลล์ประสาทส่วนใหญ่ของ
ร่างกายเป็นเซลล์ประสาทหลายขั้ว พบได้ในสมอง และ
การทำางานของระบบประสาท จำาแนกได้ 3
ประเภท คือ
 1. การทำางานของระบบประสาทสั่งการ
การทำางานของเส้นประสาทในระบบประสาทรอบนอก
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
–  ส่วนที่รับความรู้สึก (sensory division) จะรับ
ความรู้สึกจากภายในหรือภายนอกร่างกาย
–  ส่วนที่สั่งการ (motor division)
ถ้าการสั่งการเกิดขึ้นกับหน่วยปฏิบัติงานที่บังคับได้
เช่น กล้ามเนื้อยึดกระดูก ก็จัดเป็น
ระบบประสาทโซมาติก (somatic nervous
system : SNS)
ถ้าการสั่งการเกิดกับหน่วยปฏิบัติงานที่บังคับไม่ได้
เช่น อวัยวะภายในและต่อมต่าง ๆ
 2. ระบบประสาทโซมาติก (somaticnervous
system : SNS)
ระบบประสาทโซมาติก ควบคุมการทำางานของกล้าม
เนื้อยึดกระดูก โดยเซลล์ประสาทรับความรู้สึกจะรับ
กระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกผ่านเส้นประสาท
ไขสันหลังหรือเส้นประสาทสมองเข้าสู่ไขสันหลังหรือ
สมอง และกระแสประสาทจะถูกส่งผ่านเส้นประสาท
ไขสันหลังหรือเส้นประสาทสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงาน
ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อยึดกระดูก บางครั้งอาจทำางานโดยผ่าน
ไขสันหลังเท่านั้น เช่น การกระตุกขาเมื่อเคาะหัวเข่าเบา
ๆ
ระบบประสาทโซมาติก เป็นระบบที่ประสาทที่ควบคุม
การทำางานของกล้ามเนื้อลายหรือ
ระบบประสาทในอำานาจจิตใจ (voluntary nervous
system) ได้แก่ เส้นประสาทสมองและเส้นประสาท
ไขสันหลัง ซึ่งมีใยประสาทนำาคำาสั่งไปควบคุมกล้ามเนื้อ
ลายการตอบสนองสิ่งเร้าที่มากระตุ้น เช่น การกระตุกขา
 3. ระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic
nervous system : ANS )
เป็นระบบประสาทที่ทำางานนอกอำานาจจิตใจ
(involuntary nervous system) เป็นระบบ
ประสาทที่ควบคุมอวัยวะที่อยู่นอกอำานาจจิตใจ
เช่น กล้ามเนื้อเรียบและอวัยวะต่าง ๆ กล้ามเนื้อ
หัวใจที่หัวใจ และต่อมต่าง ๆ ให้ทำางานโดยอัต
โนวัติ ทำาให้ร่างกายดำาเนินชีวิตได้อย่างปกติ
การทำางานของระบบประสาทอัตโนวัติประกอบ
ด้วย
 
เส้นประสาทของระบบประสาทอัตโนวัติ มี 2
ตอน คือ
ตอนที่ 1  คือ เส้นประสาทหน้าปมประสาทหรือ
เซลล์ประสาทก่อนแกลงเกลีย มีเยื่อ
ไมอีลินห่อหุ้ม เชื่อมระหว่างระบบประสาทส่วน
กลางกับปมประสาทอัตโนวัติ
ตอนที่ 2  คือ เส้นประสาทหลังปมประสาทหรือ
เซลล์ประสาทหลังแกงเกลีย เป็นเส้นประสาทที่
เชื่อมระหว่างปมประสาทอัตโนวัติกับอวัยวะตอบ
สนอง
 
ปมประสาทอัตโนวัติ
เป็นส่วนที่มีตัวเซลล์ประสาทของระบบประสาทอัตโน
วัติ ที่อยู่นอกระบบประสาทกลางอยู่และเป็น
ตำาแหน่งที่มีการไซแนปส์ของเซลล์ประสาทหน้าปม
ประสาทกับเซลล์ประสาท
หลังปมประสาท
เซลล์ประสาทอัตโนวัติ มี 2 เซลล์ ได้แก่
1.)  เซลล์ประสาทหน้าปมประสาท มีตัวเซลล์อยู่ใน
ไขสันหลังและมีแอกซอนไปสิ้นสุดที่ปมประสาทอัต
โนวัติซึ่งเป็นจุดที่ไซแนปส์
2.)    เซลล์ประสาทหลังปมประสาท มีตัวเซลล์
ประสาทอยู่ในปมประสาทอัตโนวัติและมี
แอกซอนอยู่ที่อวัยวะตอบสนอง
ระบบประสาทอัตโนวัติ แบ่งออกเป็น 2
ระบบ
โดยมีลักษณะในการทำางานตรงกันข้าม คือ
1.)  ระบบประสาทซิมพาเทติก
(symoathetic nerve)
2.)  ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
(parasymoathetic nerve)
 
 ระบบประสาทของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2
 ส่วน คือ
1.)    ระบบประสาทส่วนกลาง (Central
nervous system – CNS)
2.)  ระบบประสาทส่วนปลาย หรือ ระบบประสาท
  รอบนอก (Peripheral nervous system –
PNS)
ระบบประสาทส่วนกลาง
การทำางานของระบบประสาทส่วนกลาง
สิ่งเร้าหรือการกระตุ้นจัดเป็นข้อมูลหรือเส้น
“ ”ประสาทส่วนกลางเรียกว่า กระแสประสาท เป็น
สัญญาณไฟฟ้าที่นำาไปสู่เซลล์ประสาททางด้านเดน
ไดรต์ และเดินทางออกอย่างรวดเร็วทางด้านแอก
ซอน แอกซอนส่วนใหญ่ ่่มีแผ่นไขมันหุ้มไว้เป็น
ช่วงๆ แผ่นไขมันนี้ทำาหน้าที่เป็นฉนวนและทำาให้
กระแสประสาทเดินทางได้เร็วขึ้น ถ้าแผ่นไขมันนี้
ฉีกขาดอาจทำาให้กระแสประสาทช้าลงทำาให้สูญเสีย
ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อ เนื่องจากการ
รับคำาสั่งจากระบบประสาทส่วนกลางได้ไม่ดี
เป็นศูนย์กลางควบคุมการทำางานของร่างกาย
ซึ่งทำางานพร้อมกันทั้งในด้านกลไกและทางเคมีภาย
ใต้อำานาจจิตใจ ซึ่งประกอบด้วย สมอง (brain)
และไขสันหลัง (spinal cord) ซึ่งมีหน้าที่หลักใน
สมอง (brain)
สมองของคนมีนำ้าหนักประมาณ 1.4 กิโลกรัม
บรรจุอยู่ภายในกะโหลกศีรษะ ซึ่งป้องกันสมอง
ไม่ให้ได้รับการกระทบกระเทือน สมองประกอบ
ด้วยเซลล์ประสาทมากกว่าร้อยละ 90 ของเซลล์
ประสาททั้งหมดในร่างกาย โดยมีเซลล์ประสาท
ประสานงานเป็นส่วน ทำาหน้าที่ควบคุมการทำา
กิจกรรมทั้งหมดของร่างกาย เป็นอวัยวะชนิด
เดียวที่แสดงความสามารถด้านสติปัญญาการทำา
กิจกรรมหรือการแสดงออกต่างๆ และยังมีหน้าที่
ควบคุมและสั่งการการเคลื่อนไหว, พฤติกรรม
สมองประกอบด้วยเซลล์ 2 ชนิด คือ
1.)  เซลล์ประสาท (nerve cell) หรือ นิวรอน
(neuron) เป็นเซลล์ที่เป็นส่วนประกอบหลักของ
ระบบประสาท
2.)  เซลล์เกลีย (glia) เป็นเซลล์สำาคัญรองจากนิว
รอน มีหน้าที่ในการลำาเลียงอาหารมาให้เซลล์
ประสาท คอยดูแลและปกป้องนิวรอนหรือเซลล์
ประสาท เป็นเซลล์หลักที่ทำาหน้าที่ส่งข้อมูลใน
รูปแบบของสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า ศักยะ
ทำางาน (action potential)
การส่งสัญญาณภายในระบบประสาทเกิดขึ้นได้
ด้วยกลไก 2 อย่าง คือ
1.)  การส่งสัญญาณภายในเส้นใยประสาท (nerve
fiber) โดยวิธีของศักยะงาน
2.)  การส่งสัญญาณระหว่างนิวรอนโดยอาศัยสารสื่อ
ประสาท (neurotransmitter) บริเวณจุดประสาน
ประสาท (synapse)
สมองของสัตว์มีกระดูกสันหลังที่สำาคัญแบ่งออก
เป็น 3 ส่วน ดังนี้
1.)  เซรีบรัมเฮมิสเฟียร์ (Cerebrum
Hemisphrer) คือ สมองส่วนหน้า ทำาหน้าที่
ควบคุมพฤติกรรรมที่ซับซ้อนเกี่ยวกับ ความรู้สึก
และอารมณ์ ควบคุมความคิด ความจำา และ
ความเฉลียวฉลาด เชื่อมโยงความรู้สึกต่างๆ
เช่น การได้ยิน การมองเห็น การรับกลิ่น รส
สัมผัส เป็นต้น
2.)  เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla
Oblongata) คือ ส่วนที่อยู่ติดกับไขสันหลัง
ควบคุมการทำางานของระบบประสาทอัตโนมัติ
เช่น การหายใจการเต้นของหัวใจ การไอ การ
จาม การกะพริบตา ความดันเลือด เป็นต้น
สมอง มี 2 ชั้น (ตรงข้ามกับไขสันหลัง)
1.)  Gray matter เป็นที่อยู่ของกระแสประสาทและ
axon ที่ไม่มีเยื่อไมอิลินหุ้ม
2.)  White matter เป็นที่อยู่ของ axon ที่มีเยื่อไมอิลิน
หุ้ม เยื่อหุ้มสมอง (Menirges) 3 ชั้น คือ
–  ชั้นนอก (Pura mater) เหนียว แข็งแรงมากโดยมีหน้า
ที่ป้องกันการกระทบกระเทือน
–  ชั้นกลาง (Arachoid mater) เป็นเยื่อบางๆ
–  ชั้นใน (Pia mater) มีเส้นเลือดแทรกมากมายทำาหน้าที่
ส่งอาหารไปเลี้ยงสมอง ในระหว่างชั้นกลางกับชั้นในจะ
มีการบรรจุของเหลวที่เรียกว่า นำ้าเลี้ยงสมองไขสันหลัง
โดยจำาทำาหน้าที่ให้สมองแลไขสันหลังเปียกชื้ออยู่เสมอ
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ส่วน คือ
 White matter เป็นส่วนที่มีสีขาวรอบนอก ไม่มีเซลล์
ประสาทจะมีเฉพาะใยประสาทที่มีเยื่อไมอิลินหุ้ม
 Gray matter เป็นส่วนสีเทา ประกอบด้วยใยประสาทที่
ไม่มีเยื่อไมอิลินหุ้ม และตัวเซลล์ประสาทซึ่งมีทั้งประเภท
ประสานงานและนำาคำาสั่ง
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทสมองแบ่งออก
เป็น 3 ส่วน คือ
1.)  สมองส่วนหน้า (forebrain หรือ
prosencepphalon) ประกอบด้วยเทเลนเซฟา
ลอน (telencephalo) และไดเอนเซฟาลอน
(diencephalon) เทเลนเซฟาลอนคือสมอง
ใหญ่ (cerebrum) ส่วนไดเอนเซฟาลอนประ
กอบด้วยไฮโพทาลามัส (hypothalamus) ทา
ลามัส (thalamus)
2.)  สมองส่วนกลาง (midbrain หรือ
mesencephalon) ทำาหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งของ
ก้านสมองและเป็นจุดศูนย์กลางของรีเฟลกซ์
เกี่ยวกับการมองเห็น (visual reflex) และ
รีเฟลกซ์เกี่ยวกับการได้ยิน
สมองประกอบด้วยส่วนสำาคัญ 9 ส่วน
ใหญ่ ๆ ได้แก่
1.)  ซีรีบรัม (Cerebrum)
เป็นส่วนของสมองที่อยู่บนสุดของศีรษะ มีรูปร่างเป็น
พูย้อย ตั้งแต่หน้าผากไปตามรูปของกะโหลกศีรษะ
จนถึงบริเวณท้ายทอย มีขนาดใหญ่ที่สุดประมาณ
80% ของสมองทั้งหมด บริเวณเปลือกนอกจะมี
ลักษณะเป็นรอยหยัก ยับย่นจีบ เป็นร่องลึก เรียกว่า
คอร์เทกซ์ (Cortex) สมองแท้จะเป็นส่วนที่มีความ
สำาคัญมากที่สุด เนื่องจากเป็นศูนย์กลางในการ
ควบคุมพฤติกรรมการเรียนรู้ ความจำา การวิเคราะห์
การใช้เหตุผล เป็นต้น ในส่วนของสมองแท้เองยัง
แบ่งออกได้อีก 4 ส่วนย่อย ซึ่งในแต่ละส่วนจะมีหน้า
ที่การทำางานแตกต่างกัน ดังนี้
– พูสมองส่วนหน้า (frontal lobe) ในบริเวณนี้จะแบ่ง
ออกได้อีก 2 ซีก คือ ซีกซ้าย (left themisphere)
และซีกขวา (right themisphere) โดยมีหน้าที่
ควบคุมการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่าง ๆ ทั่วร่างกาย
หรือเรียกส่วนนี้ว่าเขตมอเตอร์ (motor area) แต่
การสั่งงานจะกลับด้านกัน คือสมองซีกซ้ายจะควบคุม
– พูสมองส่วนกลาง (Parietal lobe) เป็นส่วนที่ค่อน
มาทางด้านหลังส่วนบนใกล้กับเขตมอเตอร์ ทำา
หน้าที่รับความรู้สึกต่าง ๆ ทั่วไปของร่างกาย หรือ
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเขตรับสัมผัส
– พูสมองส่วนข้าง (temporal lobe) เป็นส่วนที่อยู่
บริเวณด้านข้างของสมองตรงขมับ มีหน้าที่เป็น
ศูนย์กลางในการรับรู้ในด้านรส กลิ่น เสียง และ
ความเข้าใจด้านภาษา หรืออาจเรียกส่วนนี้อีกอย่าง
หนึ่งว่าเขตการฟัง (auditory)
– พูสมองส่วนหลัง (occipital lobe) เป็นบริเวณที่อยู่
ท้ายสุดของสมองแท้ตรงท้ายทอย มีหน้าที่ควบคุม
การรับรู้ทางสายตาให้เกิดการมองเห็นภาพต่าง ๆ
2.)  สมองเล็ก (cerebellum)
เป็นสมองส่วนที่อยู่บริเวณท้ายทอยใต้สมองแท้
ลงมา รูปร่างเหมือนใบไม้มีลักษณะเป็นรอย
หยักย่นเช่นกัน แต่น้อยกว่าสมองแท้ ชั้นนอก
เป็นสีเทา (gray matter) ส่วนชั้นในเป็นสีขาว
(white matter) มีหน้าที่สำาคัญคือช่วยให้
อวัยวะต่าง ๆ ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของสมอง
สามารถทำางานประสานกันได้เป็นจังหวะ
เดียวกันเพื่อทำากิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง หน้าที่
อีกประการหนึ่งคือควบคุมการทรงตัวของ
ร่างกาย เนื่องจากสมองเล็กเป็นตัวรับกระแส
ประสาทจากอวัยวะรับสัมผัสที่ใช้ควบคุมการ
3.)  ทาลามัส (thalamus)
เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากสมองแท้ลงมา ทำาหน้าที่เป็น
ศูนย์รับกระแสประสาทความรู้สึกที่ถูกส่งมาจาก
อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายเข้าสู่ไขสันหลัง ผ่านก้าน
สมอง (medulla oblongata) พอนส์ และสมอง
ส่วนกลาง (midbrain) ตามลำาดับ จนถึงทาลามัส
จากนั้นทาลามัสจะจัดการแยกกระแสประสาทเหล่า
นั้นเพื่อเข้าสู่สมองเขตต่าง ๆ อีกทอดหนึ่ง และเมื่อ
สมองสั่งการเช่นใด ทาลามัสจะรับคำาสั่งนั้นส่งเข้า
สู่สมองส่วนกลาง พอนส์ ก้านสมอง และสู่ไขสันหลัง
เพื่อส่งคำาสั่งนั้นให้ไปมีผลต่ออวัยวะต่าง ๆ ของ
ร่างกาย เท่ากับว่าทาลามัสเป็นสถานีสุดท้ายในการ
จ่ายกระแสประสาทให้กับสมอง และเป็นสถานีแรกที่
รับคำาสั่งจากสมองเพื่อจ่ายไปสู่อวัยวะต่าง ๆ
นอกจากนี้ทาลามัสยังทำาหน้าที่ควบคุมอารมณ์และ
4.)  ไฮโปทาลามัส (hypothalamus)
อยู่ใต้ทาลามัสลงมาใกล้กับต่อมไร้ท่อพิทูอิทารี
(pituitary gland) เป็นกลุ่มของเซลล์สมองที่มี
ขนาดเท่าเมล็ดถั่วลันเตา ไฮโปทาลามัสถือว่า
เป็นส่วนประกอบสำาคัญของระบบลิมบิก (limbic
system) และมีหน้าที่สำาคัญในการสร้างความ
สมดุลให้กับระบบการทำางานของร่างกาย เช่น
ควบคุมการทำางานของต่อมพิทูอิทารี รักษาระดับ
ความสมดุลของอุณหภูมิร่างกาย การหายใจ
การหลับ การตื่น อัตราการเต้นของหัวใจ ความ
ดันโลหิต ปริมาณนำ้าตาลในกระแสเลือด ควบคุม
ความสมดุลในการทำางานของระบบประสาท
อัตโนมัติ นอกจากนี้ยังทำาหน้าที่ควบคุมแรงขับ
(drive) ต่าง ๆ เช่น ความหิว ความกระหาย
5.)  ระบบลิมบิก (limbic system)
เป็นเซลล์ประสาทที่กระจายอยู่โดยรอบทา
ลามัสและไฮโปทาลามัส ระบบนี้ ประกอบ
ด้วย ฮิปโปแคมปัส (hippocampus) และ
อะมิกดาลา (amygdala) ทำาหน้าที่ควบคุม
ความโกรธและพฤติกรรมก้าวร้าวของ
มนุษย์และสัตว์
6.)  สมองส่วนกลาง (midbrain)
เป็นส่วนที่มีความยาวประมาณ 1 นิ้ว ตั้งอยู่
ใต้ทาลามัส โดยมีเซลล์ประสาทเป็นตัว
7.)  พอนส์ (pons)
เป็นส่วนที่อยู่ถัดลงมาจากสมองส่วนกลาง ด้าน
ขวาของพอนส์จะอยู่ติดกับสมองเล็ก
(cerebellum) โดยมีใยประสาทเป็นตัวเชื่อม
จึงทำาให้พอนส์เป็นทางผ่านของกระแสประสาท
ที่มาจากส่วนล่างเข้าสู่สมองแท้และสมองเล็ก
เพื่อให้เกิดการประสานงานกันระหว่างสมองทั้ง
สองชนิด เช่น สามารถเคลื่อนไหวได้พร้อมกับ
การทรงตัวที่ดี เป็นต้น
8.)  ก้านสมอง (medulla oblongata)
เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากพอนส์ลงมา และเป็นส่วน
สุดท้ายของสมอง โดยก้านสมองจะทำาหน้าที่เชื่อม
ต่อระหว่างสมองกับไขสันหลัง ภายในก้านสมอง
หรือ เมดูลลาประกอบด้วยเส้นประสาทเป็นมัด เพื่อ
ส่งกระแสประสาทที่ได้รับจากสมองผ่านส่วนต่าง ๆ
ลงมาตามลำาดับเพื่อส่งเข้าสู่ไขสันหลังและรับ
กระแสประสาทที่ส่งขึ้นมาจากไขสันหลังส่งต่อไปสู่
ส่วนต่าง ๆ ของสมองตามลำาดับเช่นกัน เท่ากับว่า
ก้านสมองเป็นสถานีรับส่งกระแสประสาทสุดท้ายที่
เชื่อมต่อระหว่างสมองกับไขสันหลัง แต่เนื่องจาก
มัดของเส้นประสาทที่อยู่ภายในก้านสมองนั้นมี
ลักษณะไขว้กันเป็นรูปกากบาท จึงทำาให้เส้น
ประสาทชุดที่มาจากร่างกายซีกขวาจะไปเชื่อมต่อ
กับเส้นประสาทที่จะเข้าสู่สมองซีกซ้าย และเส้น
ประสาทชุดที่มาจากร่างกายซีกซ้ายจะไปเชื่อมต่อ
กับเส้นประสาทที่จะเข้าสู่สมองซีกขวา จึงมีผล
9.)  เรติคิวลาร์ ฟอร์เมชั่น (reticular
formation)
เป็นกลุ่มของเซลล์ประสาทบริเวณก้าน
สมอง ทำาหน้าที่ควบคุมสภาวะตื่นตัวของ
ร่างกาย การแสดงอาการงุนงง เป็นต้น
 ไขสันหลัง (spinal cord)
เป็นส่วนที่ต่อเนื่องมาจากสมองส่วนปลายมีจุดตั้งต้น
มาจากบริเวณ base of skull ลงมาตามกระดูกสัน
หลัง (vertebral column) มีความยาวประมาณ
42-45 ซม. มีเส้นประสาทไขสันหลัง (spinal
nerve) จำานวน 31 คู่ออกจากไขสันหลัง แต่ละ
spinal nerve ประกอบไปด้วย dorsal root และ
ventral root ส่วนที่เป็น dorsal root จะ
ประกอบไปด้วยเซลล์ประสาทที่ทำาหน้าที่รับข้อมูล
จาก sensory neurons ส่วน ventral root
ประกอบไปด้วย axon ของ motor neuron ซึ่ง
นำาคำาสั่งไปยังกล้ามเนื้อและต่อมต่างๆ (effector)
เป็นส่วนของระบบประสาทที่ต่อออกมาจากเมดัลลา
ไขสันหลังบริเวณอกและเอวขยายกว้างกว่าส่วนอื่น ๆ
เมื่อเลยกระเบนเหน็บลงไปแล้ว
จะเรียวเล็กจนมีลักษณะเป็นเส้นไม่มีเยื่อหุ้ม ดังนั้นการ
ฉีดยาเข้าที่บริเวณไขสันหลังและเจาะนำ้าบริเวณ
ไขสันหลังจึงทำากันตำ่ากว่ากระดูกสันหลังเอวข้อที่สอง
ลงมา
เส้นประสาทที่แยกออกจากไขสันหลังมีทั้งหมด 31 คู่
เป็นเส้นประสาทประสม
(mixed never)แบ่งออกเป็นทั้งหมด 5 บริเวณดังนี้
–  เส้นประสาทบริเวณคอ (cervical never)
                       8 คู่
–  เส้นประสาทบริเวณอก (thoracal never)
                    12  คู่
–  เส้นประสาทบริเวณอว (lumbar never)
                        5 คู่
ปล้องของไขสันหลัง
ไขสันหลังของมนุษย์แบ่งออกเป็น 31 ปล้อง
(segments) ในแต่ละปล้องจะมีคู่ของเส้นประสาท
ไขสันหลัง (spinal nerve) ออกมาจากด้านซ้าย-ขวา
ซึ่งเส้นประสาทเหล่านี้เป็นเส้นประสาทที่มีเส้นใยประสาท
แบบผสม คือมีทั้งส่วนที่รับความรู้สึกและสั่งการ รากเล็กๆ
ของประสาทสั่งการ (motor nerve rootlets) 6–8
เส้น จะงอกออกมาอย่างสมำ่าเสมอจากแต่ละข้างของร่อง
ด้านท้องร่วมด้านข้าง (ventro lateral sulci; ร่องของ
ไขสันหลังที่อยู่ด้านท้องและค่อนมาด้านข้าง ทั้งสองข้าง
ของไขสันหลัง) รากประสาทเส้นเล็กๆจะรวมตัวกันเป็น
รากอันใหญ่เรียกว่า รากประสาท ซึ่งในส่วนของเส้น
ประสาทรับความรู้สึกเองก็เช่นกัน ที่จะมีเส้นรากประสาท
เล็กๆ งอกออกมาจากบริเวณร่องด้านหลังร่วมด้านข้าง
(dorsal lateral sulci; ร่องของไขสันหลังที่อยู่ด้าน
หลังและค่อนมาด้านข้าง) และรวมกันเป็นเส้นรากขนาด
ใหญ่ ทั้งรากประสาทส่วนรับความรู้สึกและสั่งการนั้นจะ
หน้าที่ของไขสันหลัง
1.  เป็นศูนย์กลางของ spinal reflex
  ตำาแหน่งแรกที่รับสัญญาณประสาทจากระบบรับ
ความรู้สึกเพื่อที่จะนำาส่งต่อไปยังสมอง
 2. เป็นตำาแหน่งที่สิ้นสุดของสัญญาณประสาทที่มา
จากระบบประสาท motor  เนื่องจากมี anterior
motor neurons ที่จะเป็นเซลล์ประสาทที่รับคำาสั่ง
จาก corticospinal tract และสั่งการไปยังเซลล์
กล้ามเนื้อ
 3. เป็นทางเดินของกระแสประสาททที่ติดต่อระหว่าง
ไขสันหลังและสมอง
 4. เป็นศูนย์กลางของระบบประสาทออโตโนมิก
(autonomic nervous system)
Reflex เป็นกลไกการตอบสนองที่เกิดขึ้นทันทีหลัง
จากถูกกระตุ้น เกิดได้เนื่องจากมี synapse ของ
 spinal somatic reflex เช่น
–  stretch reflex เป็น reflex ที่เกิดเมื่อมีการยืด
กล้ามเนื้อแล้วมีการหดตัวของกล้ามเนื้อทันที มี
ประโยชน์ในการทำาให้กล้ามเนื้อมีความตึง และ
ทำาให้การเคลื่อนไหวของร่างกายเป็นไปได้อย่าง
ราบเรียบ
–  flexor reflex เป็น reflex ที่เกิดเมื่อมีสิ่งกระตุ้น
ความรู้สึกต่อแขนขาแล้วทำาให้กล้ามเนื้อ flexor
ของแขนขาหดตัวอย่างรุนแรงเพื่อดึงแขนขาออก
จากสิ่งกระตุ้น
spinal autonomic reflex
มีระบบประสาทออโตโนมิกเป็น motor pathway
และ effector organs เป็นกล้ามเนื้อเรียบ กล้าม
ระบบประสาทส่วนปลาย หรือ ระบบประสาท
รอบนอก
        (Peripheral nervous system
– PNS)
ระบบประสาทส่วนปลาย หรือ ระบบประสาท
รอบนอก ประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ
 sensory division (afferent) ประกอบด้วย
เซลล์ประสาทที่ทำาหน้าที่ในการรับสัญญาณ
ประสาทจากทั้งภายในและภายนอกร่างกายและ
นำาส่งไปยังสมองส่วนกลาง
 motor division (efferent) ประกอบด้วยเซลล์
ประสาทที่รับคำาสั่งการปฏิบัติงานจากระบบ
ประสาทส่วนกลางไปยังกล้ามเนื้อและต่อมต่างๆ
ระบบประสาทส่วนปลายประกอบด้วย
 sensory-somatic nervous system
ประกอบไปด้วย เส้นประสาทสมอง 12 คู่ และ
เส้นประสาทสันหลัง 31 คู่
–  cranial nerve เส้นประสาทสมองทั้ง 12 คู่นั้น
มีหน้าที่ในการรับความรู้สึกและการเคลื่อนไหว
ของกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้า ในปากและคอ
เส้นประสาทสมองบางคู่มีเฉพาะส่วนที่เป็น
sensory บางคู่ก็เป็น motor อย่างเดียว และมี
บางคู่เป็นแบบผสม
–  spinal nerves เส้นประสาทสันหลังทุกเส้น
ประกอบไปด้วยส่วนที่เป็น sensory และ
motor ซึ่งจะทำางานภายใต้อำานาจจิตใจ
  autonomic nervous system เป็นการ
ควบคุมการทำางานของร่างกายที่อยู่ภายนอกจิตใจ
ประกอบไปด้วยทั้งส่วนที่เป็น sensory และ
motor ซึ่งวิ่งระหว่าสมองส่วนกลาง (บริเวณ
hypothalamus และ meduula oblongata)
และอวัยวะภายในต่างๆเช่น หัวใจ ปอด กระเพาะ
เป็นต้น แบ่งเป็น 2 ระบบคือ sympathetic และ
parasympathetic nervous system ซึ่งทั้ง 2
ระบบนี้จะสั่งงานตรงข้ามกันในแต่ละอวัยวะ
–  sympathetic nervous system จะถูกกระตุ้น
ในกรณีฉุกเฉิน ผลจากการกระตุ้นเช่น หัวใจเต้น
เร็วขึ้น เลือดไปเลี้ยงหัวใจมากขึ้น การย่อยอาหาร
ลดลง
อาการที่บ่งชี้ว่ามีความผิดปรกติของระบบ
ประสาท
อาการที่ผู้ป่วยมีขึ้นอยู่กับตำาแหน่งของรอยโรค
เช่น
  ปวดศีรษะ
  กล้ามเนื้ออ่อนแรง
  ชา
  ซึม หรือหมดสติ
  ชัก
โรคหรือภาวะผิดปรกติของระบบประสาท
 โรคหลอดเลือดสมอง
 โรคติดเชื้อของระบบประสาทกลาง
 ความผิดปรกติทางเมตาโบลิก
 มะเร็งของระบบประสาท
 การเกิดรีเฟลกซ์แอกชัน (Reflex Action
เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นที่อวัยวะรับสัมผัสเช่น
ผิวหนัง กระแสประสาทจะส่งไปยังไขสันหลัง
และไขสันหลังจะสั่งการตอบสนองไปยังกล้าม
เนื้อ โดยไม่ผ่านไปที่สมอง เมื่อมีเปลวไฟมา
สัมผัสที่ปลายนิ้วกระแสประสาทจะส่งไปยัง
ไขสันหลังไม่ผ่านไปที่สมอง ไขสันหลังทำาหน้าที่
สั่งการให้กล้ามเนื้อที่แขนเกิดการหดตัว เพื่อดึง
มือออกจากเปลวไฟทันที
แหล่งอ้างอิง
_______. (ออนไลน์):
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0
วันที่สืบค้น 14 กันยายน 2558
_______. (ออนไลน์):http://www.krusarawut.net/wp/?
p=4053. (วันที่สืบค้น 14 กันยายน 2558
_______. (ออนไลน์):
http://nervousmwit.blogspot.com/ . (วันที่สืบค้น 14
กันยายน 2558
ผู้จัดทำา
1. นางสาว ธัญวรัตม์ เข็มทอง ม.
6/4 เลขที่ 1
2. นางสาว ปายนภา โปธาพันธ์ ม. 6/4
เลขที่ 26
ขอจบการนำาเสนอเพียงเท่า
นี้ค่ะ

More Related Content

What's hot

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkunatip
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทPok Tanti
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทKPainapa
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทKPainapa
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)Natthaya Khaothong
 

What's hot (17)

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 

Similar to มหัศจรรย์ระบบประสาท

ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxKunchayaPitayawongro1
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองPongsatorn Srivhieang
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้Nichakorn Sengsui
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทikaen2520
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับNichakorn Sengsui
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาAngkana Chongjarearn
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxBewwyKh1
 

Similar to มหัศจรรย์ระบบประสาท (20)

ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมอง
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
1
11
1
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 

มหัศจรรย์ระบบประสาท

  • 1.
  • 2. ระบบประสาท  คือ ระบบการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ของสัตว์ทำาให้สัตว์สามารถตอบสนองต่อสิ่งต่างๆ รอบตัวอย่างรวดเร็ว ช่วยรวบรวมข้อมูลเพื่อให้  สามารถตอบ สนองได้ สัตว์ชั้นตำ่าบางชนิด เช่น ฟองนำ้า ไม่มีระบบประสาท สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง บางชนิดเริ่มมีระบบประสาท สัตว์ชั้นสูงขึ้นมาจะมี โครงสร้างของระบบประสาทซับซ้อนยิ่งขึ้น ระบบประสาท  มีหน้าที่ในการออกคำาสั่งการทำางาน ของกล้ามเนื้อ ควบคุมการทำางานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย และประมวลข้อมูลที่รับมาจากประสาท สัมผัสต่างๆ และสร้างคำาสั่งต่าง ๆ (action) ให้ อวัยวะต่างๆ ทำางาน ระบบประสาทของสัตว์ที่มี สมองจะมีความคิดและอารมณ์ ระบบประสาทจึง เป็นส่วนของร่างกายที่ทำาให้สัตว์มีการเคลื่อนไหว (ยกเว้นสัตว์ชั้นตำ่าที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ เช่น
  • 3. เซลล์ประสาท ประกอบด้วยส่วนที่สำาคัญ 2 ส่วน คือ ตัวเซลล์ (cell body) และ ใยประสาท (nerve fiber) –  ตัวเซลล์ เป็นส่วนของไซโทพลาซึมและนิวเคลียส ตัวเซลล์มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ4 – 25 ไมโครเมตร ภายในมีออร์แกเนลล์ที่สำาคัญ คือ ไม โทคอนเดรีย เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมและกอลจิ คอมเพล็กซ์ จำานวนมาก –  ใยประสาท ที่นำากระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์ เรียกว่า เดนไดรต์ (dendrite) ใยประสาทนำา
  • 4.
  • 5. กรณีใยประสาทยาวซึ่งมักเป็นใยประสาทของแอก ซอนจะมี เยื่อไมอีลิน (myelin sheath) มาหุ้มใยประสาท เยื่อไมอีลินมีสารจำาพวกลิพิดเป็น องค์ประกอบเมื่อตรวจดูภาพตัดขวางของเยื่อไม อีลินด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน พบว่าเยื่อ  ไมอีลินติดต่อกับเซลล์ชวันน์ (schwann cell) ซึ่งเป็นเซลล์คำ้าจุนชนิดหนึ่งแสดงว่าเยื่อไมอีลิน เป็นส่วนหนึ่งของเยื่อหุ้มของเซลล์ชวันน์ส่วน ของแอกซอนตรงบริเวณร่อยต่อระหว่างเซลล์ ชวันน์แต่ละเซลล์เป็นบริเวณที่ไม่มีเยื่อไมอีลิน  หุ้มเรียกว่า โนดออฟแรนเวียร์ (node of Ranvier)
  • 6.
  • 7. เซลล์ประสาทจำาแนกตามหน้าที่ได้ 3 ชนิด ได้แก่  เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron) คือ เซลล์ประสาทที่รับกระแสประสาทจากหน่วยรับความ รู้สึก แล้วถ่ายทอดกระแสประสาทไปยังเซลล์ประสาทสั่ง การ อาจผ่านเซลล์ประสาทประสานงานหรือไม่ผ่าน ก็ได้ เซลล์เหล่านี้มีตัวเซลล์อยู่ที่ปมประสาทรากบนของ ไขสันหลัง  เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) มักมีใยประสาทแอกซอนยาวกว่าเดนไดรต์ อาจยาวถึง 1 เมตร เพราะ เซลล์ประสาทสั่งการที่อยู่ในไขสันหลังต้อง ส่งกระแสประสาทออกจากไขสันหลัง เพื่อนำากระแส ประสาทไปยัง หน่วยปฏิบัติงาน เช่น กล้ามเนื้อแขนขา ซึ่งอยู่ห่างไกล จากไขสันหลังมาก  เซลล์ประสาทประสานงาน (association neuron ) เซลล์ประสาทชนิดนี้อยู่ภายในสมองและไขสันหลัง จะ
  • 8. เซลล์ประสาทแบ่งตามจำานวนแขนงที่แยกออกจากตัว เซลล์ แบ่งได้เป็น 3 ชนิด คือ  1. เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron) เซลล์ประสาทประเภทนี้ส่วนของแอกซอนและเดนไดรต์ที่ใกล้ๆ ตัวเซลล์จะรวมเป็นเส้นเดียวกัน ทำาให้มีแขนงแยกออกจาก ตัวเซลล์เพียงแขนงเดียว เดนไดรต์มักจะยาวกว่าแอกซอน มากพบที่ปมประสาทรากบน (dorsal root ganglion) ของไขสันหลัง 2. เซลล์ประสาทสองขั้ว (bipolar neuron) เซลล์ประสาทมีแขนงแยกออกมาเป็น 2 แขนง โดยแขนงหนึ่ง เป็นแอกซอน และอีกแขนงหนึ่งเป็นเดนไดรต์ ความยาวของ แขนงทั้งสองนี้ใกล้เคียงกัน พบได้ที่เรตินาของลูกตา คอ เคลียของหูและเยื่อดมกลิ่นของจมูก เซลล์ประสาทขั้วเดียว และเซลล์ประสาทสองขั้ว มักจะทำาหน้าที่เป็นเซลล์ประสาท รับความรู้สึก 3. เซลล์ประสาทหลายขั้ว (multipolar neuron) เซล์ประสาทจะมีหลายแขนงโดยเป็นแอกซอน 1 แขนง และ เป็นเดนไดรต์ 2 หรือมากกว่าเซลล์ประสาทส่วนใหญ่ของ ร่างกายเป็นเซลล์ประสาทหลายขั้ว พบได้ในสมอง และ
  • 9. การทำางานของระบบประสาท จำาแนกได้ 3 ประเภท คือ  1. การทำางานของระบบประสาทสั่งการ การทำางานของเส้นประสาทในระบบประสาทรอบนอก แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ –  ส่วนที่รับความรู้สึก (sensory division) จะรับ ความรู้สึกจากภายในหรือภายนอกร่างกาย –  ส่วนที่สั่งการ (motor division) ถ้าการสั่งการเกิดขึ้นกับหน่วยปฏิบัติงานที่บังคับได้ เช่น กล้ามเนื้อยึดกระดูก ก็จัดเป็น ระบบประสาทโซมาติก (somatic nervous system : SNS) ถ้าการสั่งการเกิดกับหน่วยปฏิบัติงานที่บังคับไม่ได้ เช่น อวัยวะภายในและต่อมต่าง ๆ
  • 10.
  • 11.  2. ระบบประสาทโซมาติก (somaticnervous system : SNS) ระบบประสาทโซมาติก ควบคุมการทำางานของกล้าม เนื้อยึดกระดูก โดยเซลล์ประสาทรับความรู้สึกจะรับ กระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกผ่านเส้นประสาท ไขสันหลังหรือเส้นประสาทสมองเข้าสู่ไขสันหลังหรือ สมอง และกระแสประสาทจะถูกส่งผ่านเส้นประสาท ไขสันหลังหรือเส้นประสาทสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อยึดกระดูก บางครั้งอาจทำางานโดยผ่าน ไขสันหลังเท่านั้น เช่น การกระตุกขาเมื่อเคาะหัวเข่าเบา ๆ ระบบประสาทโซมาติก เป็นระบบที่ประสาทที่ควบคุม การทำางานของกล้ามเนื้อลายหรือ ระบบประสาทในอำานาจจิตใจ (voluntary nervous system) ได้แก่ เส้นประสาทสมองและเส้นประสาท ไขสันหลัง ซึ่งมีใยประสาทนำาคำาสั่งไปควบคุมกล้ามเนื้อ ลายการตอบสนองสิ่งเร้าที่มากระตุ้น เช่น การกระตุกขา
  • 12.  3. ระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system : ANS ) เป็นระบบประสาทที่ทำางานนอกอำานาจจิตใจ (involuntary nervous system) เป็นระบบ ประสาทที่ควบคุมอวัยวะที่อยู่นอกอำานาจจิตใจ เช่น กล้ามเนื้อเรียบและอวัยวะต่าง ๆ กล้ามเนื้อ หัวใจที่หัวใจ และต่อมต่าง ๆ ให้ทำางานโดยอัต โนวัติ ทำาให้ร่างกายดำาเนินชีวิตได้อย่างปกติ การทำางานของระบบประสาทอัตโนวัติประกอบ ด้วย  
  • 13. เส้นประสาทของระบบประสาทอัตโนวัติ มี 2 ตอน คือ ตอนที่ 1  คือ เส้นประสาทหน้าปมประสาทหรือ เซลล์ประสาทก่อนแกลงเกลีย มีเยื่อ ไมอีลินห่อหุ้ม เชื่อมระหว่างระบบประสาทส่วน กลางกับปมประสาทอัตโนวัติ ตอนที่ 2  คือ เส้นประสาทหลังปมประสาทหรือ เซลล์ประสาทหลังแกงเกลีย เป็นเส้นประสาทที่ เชื่อมระหว่างปมประสาทอัตโนวัติกับอวัยวะตอบ สนอง  
  • 14. ปมประสาทอัตโนวัติ เป็นส่วนที่มีตัวเซลล์ประสาทของระบบประสาทอัตโน วัติ ที่อยู่นอกระบบประสาทกลางอยู่และเป็น ตำาแหน่งที่มีการไซแนปส์ของเซลล์ประสาทหน้าปม ประสาทกับเซลล์ประสาท หลังปมประสาท เซลล์ประสาทอัตโนวัติ มี 2 เซลล์ ได้แก่ 1.)  เซลล์ประสาทหน้าปมประสาท มีตัวเซลล์อยู่ใน ไขสันหลังและมีแอกซอนไปสิ้นสุดที่ปมประสาทอัต โนวัติซึ่งเป็นจุดที่ไซแนปส์ 2.)    เซลล์ประสาทหลังปมประสาท มีตัวเซลล์ ประสาทอยู่ในปมประสาทอัตโนวัติและมี แอกซอนอยู่ที่อวัยวะตอบสนอง
  • 15. ระบบประสาทอัตโนวัติ แบ่งออกเป็น 2 ระบบ โดยมีลักษณะในการทำางานตรงกันข้าม คือ 1.)  ระบบประสาทซิมพาเทติก (symoathetic nerve) 2.)  ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasymoathetic nerve)  
  • 16.  ระบบประสาทของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2  ส่วน คือ 1.)    ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system – CNS) 2.)  ระบบประสาทส่วนปลาย หรือ ระบบประสาท   รอบนอก (Peripheral nervous system – PNS) ระบบประสาทส่วนกลาง
  • 17. การทำางานของระบบประสาทส่วนกลาง สิ่งเร้าหรือการกระตุ้นจัดเป็นข้อมูลหรือเส้น “ ”ประสาทส่วนกลางเรียกว่า กระแสประสาท เป็น สัญญาณไฟฟ้าที่นำาไปสู่เซลล์ประสาททางด้านเดน ไดรต์ และเดินทางออกอย่างรวดเร็วทางด้านแอก ซอน แอกซอนส่วนใหญ่ ่่มีแผ่นไขมันหุ้มไว้เป็น ช่วงๆ แผ่นไขมันนี้ทำาหน้าที่เป็นฉนวนและทำาให้ กระแสประสาทเดินทางได้เร็วขึ้น ถ้าแผ่นไขมันนี้ ฉีกขาดอาจทำาให้กระแสประสาทช้าลงทำาให้สูญเสีย ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อ เนื่องจากการ รับคำาสั่งจากระบบประสาทส่วนกลางได้ไม่ดี เป็นศูนย์กลางควบคุมการทำางานของร่างกาย ซึ่งทำางานพร้อมกันทั้งในด้านกลไกและทางเคมีภาย ใต้อำานาจจิตใจ ซึ่งประกอบด้วย สมอง (brain) และไขสันหลัง (spinal cord) ซึ่งมีหน้าที่หลักใน
  • 18. สมอง (brain) สมองของคนมีนำ้าหนักประมาณ 1.4 กิโลกรัม บรรจุอยู่ภายในกะโหลกศีรษะ ซึ่งป้องกันสมอง ไม่ให้ได้รับการกระทบกระเทือน สมองประกอบ ด้วยเซลล์ประสาทมากกว่าร้อยละ 90 ของเซลล์ ประสาททั้งหมดในร่างกาย โดยมีเซลล์ประสาท ประสานงานเป็นส่วน ทำาหน้าที่ควบคุมการทำา กิจกรรมทั้งหมดของร่างกาย เป็นอวัยวะชนิด เดียวที่แสดงความสามารถด้านสติปัญญาการทำา กิจกรรมหรือการแสดงออกต่างๆ และยังมีหน้าที่ ควบคุมและสั่งการการเคลื่อนไหว, พฤติกรรม
  • 19.
  • 20. สมองประกอบด้วยเซลล์ 2 ชนิด คือ 1.)  เซลล์ประสาท (nerve cell) หรือ นิวรอน (neuron) เป็นเซลล์ที่เป็นส่วนประกอบหลักของ ระบบประสาท 2.)  เซลล์เกลีย (glia) เป็นเซลล์สำาคัญรองจากนิว รอน มีหน้าที่ในการลำาเลียงอาหารมาให้เซลล์ ประสาท คอยดูแลและปกป้องนิวรอนหรือเซลล์ ประสาท เป็นเซลล์หลักที่ทำาหน้าที่ส่งข้อมูลใน รูปแบบของสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า ศักยะ ทำางาน (action potential)
  • 21. การส่งสัญญาณภายในระบบประสาทเกิดขึ้นได้ ด้วยกลไก 2 อย่าง คือ 1.)  การส่งสัญญาณภายในเส้นใยประสาท (nerve fiber) โดยวิธีของศักยะงาน 2.)  การส่งสัญญาณระหว่างนิวรอนโดยอาศัยสารสื่อ ประสาท (neurotransmitter) บริเวณจุดประสาน ประสาท (synapse) สมองของสัตว์มีกระดูกสันหลังที่สำาคัญแบ่งออก เป็น 3 ส่วน ดังนี้
  • 22. 1.)  เซรีบรัมเฮมิสเฟียร์ (Cerebrum Hemisphrer) คือ สมองส่วนหน้า ทำาหน้าที่ ควบคุมพฤติกรรรมที่ซับซ้อนเกี่ยวกับ ความรู้สึก และอารมณ์ ควบคุมความคิด ความจำา และ ความเฉลียวฉลาด เชื่อมโยงความรู้สึกต่างๆ เช่น การได้ยิน การมองเห็น การรับกลิ่น รส สัมผัส เป็นต้น 2.)  เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla Oblongata) คือ ส่วนที่อยู่ติดกับไขสันหลัง ควบคุมการทำางานของระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น การหายใจการเต้นของหัวใจ การไอ การ จาม การกะพริบตา ความดันเลือด เป็นต้น
  • 23. สมอง มี 2 ชั้น (ตรงข้ามกับไขสันหลัง) 1.)  Gray matter เป็นที่อยู่ของกระแสประสาทและ axon ที่ไม่มีเยื่อไมอิลินหุ้ม 2.)  White matter เป็นที่อยู่ของ axon ที่มีเยื่อไมอิลิน หุ้ม เยื่อหุ้มสมอง (Menirges) 3 ชั้น คือ –  ชั้นนอก (Pura mater) เหนียว แข็งแรงมากโดยมีหน้า ที่ป้องกันการกระทบกระเทือน –  ชั้นกลาง (Arachoid mater) เป็นเยื่อบางๆ –  ชั้นใน (Pia mater) มีเส้นเลือดแทรกมากมายทำาหน้าที่ ส่งอาหารไปเลี้ยงสมอง ในระหว่างชั้นกลางกับชั้นในจะ มีการบรรจุของเหลวที่เรียกว่า นำ้าเลี้ยงสมองไขสันหลัง โดยจำาทำาหน้าที่ให้สมองแลไขสันหลังเปียกชื้ออยู่เสมอ ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ส่วน คือ  White matter เป็นส่วนที่มีสีขาวรอบนอก ไม่มีเซลล์ ประสาทจะมีเฉพาะใยประสาทที่มีเยื่อไมอิลินหุ้ม  Gray matter เป็นส่วนสีเทา ประกอบด้วยใยประสาทที่ ไม่มีเยื่อไมอิลินหุ้ม และตัวเซลล์ประสาทซึ่งมีทั้งประเภท ประสานงานและนำาคำาสั่ง
  • 24. ศูนย์ควบคุมระบบประสาทสมองแบ่งออก เป็น 3 ส่วน คือ 1.)  สมองส่วนหน้า (forebrain หรือ prosencepphalon) ประกอบด้วยเทเลนเซฟา ลอน (telencephalo) และไดเอนเซฟาลอน (diencephalon) เทเลนเซฟาลอนคือสมอง ใหญ่ (cerebrum) ส่วนไดเอนเซฟาลอนประ กอบด้วยไฮโพทาลามัส (hypothalamus) ทา ลามัส (thalamus) 2.)  สมองส่วนกลาง (midbrain หรือ mesencephalon) ทำาหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งของ ก้านสมองและเป็นจุดศูนย์กลางของรีเฟลกซ์ เกี่ยวกับการมองเห็น (visual reflex) และ รีเฟลกซ์เกี่ยวกับการได้ยิน
  • 26. 1.)  ซีรีบรัม (Cerebrum) เป็นส่วนของสมองที่อยู่บนสุดของศีรษะ มีรูปร่างเป็น พูย้อย ตั้งแต่หน้าผากไปตามรูปของกะโหลกศีรษะ จนถึงบริเวณท้ายทอย มีขนาดใหญ่ที่สุดประมาณ 80% ของสมองทั้งหมด บริเวณเปลือกนอกจะมี ลักษณะเป็นรอยหยัก ยับย่นจีบ เป็นร่องลึก เรียกว่า คอร์เทกซ์ (Cortex) สมองแท้จะเป็นส่วนที่มีความ สำาคัญมากที่สุด เนื่องจากเป็นศูนย์กลางในการ ควบคุมพฤติกรรมการเรียนรู้ ความจำา การวิเคราะห์ การใช้เหตุผล เป็นต้น ในส่วนของสมองแท้เองยัง แบ่งออกได้อีก 4 ส่วนย่อย ซึ่งในแต่ละส่วนจะมีหน้า ที่การทำางานแตกต่างกัน ดังนี้ – พูสมองส่วนหน้า (frontal lobe) ในบริเวณนี้จะแบ่ง ออกได้อีก 2 ซีก คือ ซีกซ้าย (left themisphere) และซีกขวา (right themisphere) โดยมีหน้าที่ ควบคุมการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่าง ๆ ทั่วร่างกาย หรือเรียกส่วนนี้ว่าเขตมอเตอร์ (motor area) แต่ การสั่งงานจะกลับด้านกัน คือสมองซีกซ้ายจะควบคุม
  • 27. – พูสมองส่วนกลาง (Parietal lobe) เป็นส่วนที่ค่อน มาทางด้านหลังส่วนบนใกล้กับเขตมอเตอร์ ทำา หน้าที่รับความรู้สึกต่าง ๆ ทั่วไปของร่างกาย หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเขตรับสัมผัส – พูสมองส่วนข้าง (temporal lobe) เป็นส่วนที่อยู่ บริเวณด้านข้างของสมองตรงขมับ มีหน้าที่เป็น ศูนย์กลางในการรับรู้ในด้านรส กลิ่น เสียง และ ความเข้าใจด้านภาษา หรืออาจเรียกส่วนนี้อีกอย่าง หนึ่งว่าเขตการฟัง (auditory) – พูสมองส่วนหลัง (occipital lobe) เป็นบริเวณที่อยู่ ท้ายสุดของสมองแท้ตรงท้ายทอย มีหน้าที่ควบคุม การรับรู้ทางสายตาให้เกิดการมองเห็นภาพต่าง ๆ
  • 28. 2.)  สมองเล็ก (cerebellum) เป็นสมองส่วนที่อยู่บริเวณท้ายทอยใต้สมองแท้ ลงมา รูปร่างเหมือนใบไม้มีลักษณะเป็นรอย หยักย่นเช่นกัน แต่น้อยกว่าสมองแท้ ชั้นนอก เป็นสีเทา (gray matter) ส่วนชั้นในเป็นสีขาว (white matter) มีหน้าที่สำาคัญคือช่วยให้ อวัยวะต่าง ๆ ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของสมอง สามารถทำางานประสานกันได้เป็นจังหวะ เดียวกันเพื่อทำากิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง หน้าที่ อีกประการหนึ่งคือควบคุมการทรงตัวของ ร่างกาย เนื่องจากสมองเล็กเป็นตัวรับกระแส ประสาทจากอวัยวะรับสัมผัสที่ใช้ควบคุมการ
  • 29. 3.)  ทาลามัส (thalamus) เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากสมองแท้ลงมา ทำาหน้าที่เป็น ศูนย์รับกระแสประสาทความรู้สึกที่ถูกส่งมาจาก อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายเข้าสู่ไขสันหลัง ผ่านก้าน สมอง (medulla oblongata) พอนส์ และสมอง ส่วนกลาง (midbrain) ตามลำาดับ จนถึงทาลามัส จากนั้นทาลามัสจะจัดการแยกกระแสประสาทเหล่า นั้นเพื่อเข้าสู่สมองเขตต่าง ๆ อีกทอดหนึ่ง และเมื่อ สมองสั่งการเช่นใด ทาลามัสจะรับคำาสั่งนั้นส่งเข้า สู่สมองส่วนกลาง พอนส์ ก้านสมอง และสู่ไขสันหลัง เพื่อส่งคำาสั่งนั้นให้ไปมีผลต่ออวัยวะต่าง ๆ ของ ร่างกาย เท่ากับว่าทาลามัสเป็นสถานีสุดท้ายในการ จ่ายกระแสประสาทให้กับสมอง และเป็นสถานีแรกที่ รับคำาสั่งจากสมองเพื่อจ่ายไปสู่อวัยวะต่าง ๆ นอกจากนี้ทาลามัสยังทำาหน้าที่ควบคุมอารมณ์และ
  • 30. 4.)  ไฮโปทาลามัส (hypothalamus) อยู่ใต้ทาลามัสลงมาใกล้กับต่อมไร้ท่อพิทูอิทารี (pituitary gland) เป็นกลุ่มของเซลล์สมองที่มี ขนาดเท่าเมล็ดถั่วลันเตา ไฮโปทาลามัสถือว่า เป็นส่วนประกอบสำาคัญของระบบลิมบิก (limbic system) และมีหน้าที่สำาคัญในการสร้างความ สมดุลให้กับระบบการทำางานของร่างกาย เช่น ควบคุมการทำางานของต่อมพิทูอิทารี รักษาระดับ ความสมดุลของอุณหภูมิร่างกาย การหายใจ การหลับ การตื่น อัตราการเต้นของหัวใจ ความ ดันโลหิต ปริมาณนำ้าตาลในกระแสเลือด ควบคุม ความสมดุลในการทำางานของระบบประสาท อัตโนมัติ นอกจากนี้ยังทำาหน้าที่ควบคุมแรงขับ (drive) ต่าง ๆ เช่น ความหิว ความกระหาย
  • 31. 5.)  ระบบลิมบิก (limbic system) เป็นเซลล์ประสาทที่กระจายอยู่โดยรอบทา ลามัสและไฮโปทาลามัส ระบบนี้ ประกอบ ด้วย ฮิปโปแคมปัส (hippocampus) และ อะมิกดาลา (amygdala) ทำาหน้าที่ควบคุม ความโกรธและพฤติกรรมก้าวร้าวของ มนุษย์และสัตว์ 6.)  สมองส่วนกลาง (midbrain) เป็นส่วนที่มีความยาวประมาณ 1 นิ้ว ตั้งอยู่ ใต้ทาลามัส โดยมีเซลล์ประสาทเป็นตัว
  • 32. 7.)  พอนส์ (pons) เป็นส่วนที่อยู่ถัดลงมาจากสมองส่วนกลาง ด้าน ขวาของพอนส์จะอยู่ติดกับสมองเล็ก (cerebellum) โดยมีใยประสาทเป็นตัวเชื่อม จึงทำาให้พอนส์เป็นทางผ่านของกระแสประสาท ที่มาจากส่วนล่างเข้าสู่สมองแท้และสมองเล็ก เพื่อให้เกิดการประสานงานกันระหว่างสมองทั้ง สองชนิด เช่น สามารถเคลื่อนไหวได้พร้อมกับ การทรงตัวที่ดี เป็นต้น
  • 33. 8.)  ก้านสมอง (medulla oblongata) เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากพอนส์ลงมา และเป็นส่วน สุดท้ายของสมอง โดยก้านสมองจะทำาหน้าที่เชื่อม ต่อระหว่างสมองกับไขสันหลัง ภายในก้านสมอง หรือ เมดูลลาประกอบด้วยเส้นประสาทเป็นมัด เพื่อ ส่งกระแสประสาทที่ได้รับจากสมองผ่านส่วนต่าง ๆ ลงมาตามลำาดับเพื่อส่งเข้าสู่ไขสันหลังและรับ กระแสประสาทที่ส่งขึ้นมาจากไขสันหลังส่งต่อไปสู่ ส่วนต่าง ๆ ของสมองตามลำาดับเช่นกัน เท่ากับว่า ก้านสมองเป็นสถานีรับส่งกระแสประสาทสุดท้ายที่ เชื่อมต่อระหว่างสมองกับไขสันหลัง แต่เนื่องจาก มัดของเส้นประสาทที่อยู่ภายในก้านสมองนั้นมี ลักษณะไขว้กันเป็นรูปกากบาท จึงทำาให้เส้น ประสาทชุดที่มาจากร่างกายซีกขวาจะไปเชื่อมต่อ กับเส้นประสาทที่จะเข้าสู่สมองซีกซ้าย และเส้น ประสาทชุดที่มาจากร่างกายซีกซ้ายจะไปเชื่อมต่อ กับเส้นประสาทที่จะเข้าสู่สมองซีกขวา จึงมีผล
  • 34. 9.)  เรติคิวลาร์ ฟอร์เมชั่น (reticular formation) เป็นกลุ่มของเซลล์ประสาทบริเวณก้าน สมอง ทำาหน้าที่ควบคุมสภาวะตื่นตัวของ ร่างกาย การแสดงอาการงุนงง เป็นต้น
  • 35.  ไขสันหลัง (spinal cord) เป็นส่วนที่ต่อเนื่องมาจากสมองส่วนปลายมีจุดตั้งต้น มาจากบริเวณ base of skull ลงมาตามกระดูกสัน หลัง (vertebral column) มีความยาวประมาณ 42-45 ซม. มีเส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerve) จำานวน 31 คู่ออกจากไขสันหลัง แต่ละ spinal nerve ประกอบไปด้วย dorsal root และ ventral root ส่วนที่เป็น dorsal root จะ ประกอบไปด้วยเซลล์ประสาทที่ทำาหน้าที่รับข้อมูล จาก sensory neurons ส่วน ventral root ประกอบไปด้วย axon ของ motor neuron ซึ่ง นำาคำาสั่งไปยังกล้ามเนื้อและต่อมต่างๆ (effector) เป็นส่วนของระบบประสาทที่ต่อออกมาจากเมดัลลา
  • 36. ไขสันหลังบริเวณอกและเอวขยายกว้างกว่าส่วนอื่น ๆ เมื่อเลยกระเบนเหน็บลงไปแล้ว จะเรียวเล็กจนมีลักษณะเป็นเส้นไม่มีเยื่อหุ้ม ดังนั้นการ ฉีดยาเข้าที่บริเวณไขสันหลังและเจาะนำ้าบริเวณ ไขสันหลังจึงทำากันตำ่ากว่ากระดูกสันหลังเอวข้อที่สอง ลงมา เส้นประสาทที่แยกออกจากไขสันหลังมีทั้งหมด 31 คู่ เป็นเส้นประสาทประสม (mixed never)แบ่งออกเป็นทั้งหมด 5 บริเวณดังนี้ –  เส้นประสาทบริเวณคอ (cervical never)                        8 คู่ –  เส้นประสาทบริเวณอก (thoracal never)                     12  คู่ –  เส้นประสาทบริเวณอว (lumbar never)                         5 คู่
  • 37. ปล้องของไขสันหลัง ไขสันหลังของมนุษย์แบ่งออกเป็น 31 ปล้อง (segments) ในแต่ละปล้องจะมีคู่ของเส้นประสาท ไขสันหลัง (spinal nerve) ออกมาจากด้านซ้าย-ขวา ซึ่งเส้นประสาทเหล่านี้เป็นเส้นประสาทที่มีเส้นใยประสาท แบบผสม คือมีทั้งส่วนที่รับความรู้สึกและสั่งการ รากเล็กๆ ของประสาทสั่งการ (motor nerve rootlets) 6–8 เส้น จะงอกออกมาอย่างสมำ่าเสมอจากแต่ละข้างของร่อง ด้านท้องร่วมด้านข้าง (ventro lateral sulci; ร่องของ ไขสันหลังที่อยู่ด้านท้องและค่อนมาด้านข้าง ทั้งสองข้าง ของไขสันหลัง) รากประสาทเส้นเล็กๆจะรวมตัวกันเป็น รากอันใหญ่เรียกว่า รากประสาท ซึ่งในส่วนของเส้น ประสาทรับความรู้สึกเองก็เช่นกัน ที่จะมีเส้นรากประสาท เล็กๆ งอกออกมาจากบริเวณร่องด้านหลังร่วมด้านข้าง (dorsal lateral sulci; ร่องของไขสันหลังที่อยู่ด้าน หลังและค่อนมาด้านข้าง) และรวมกันเป็นเส้นรากขนาด ใหญ่ ทั้งรากประสาทส่วนรับความรู้สึกและสั่งการนั้นจะ
  • 38. หน้าที่ของไขสันหลัง 1.  เป็นศูนย์กลางของ spinal reflex   ตำาแหน่งแรกที่รับสัญญาณประสาทจากระบบรับ ความรู้สึกเพื่อที่จะนำาส่งต่อไปยังสมอง  2. เป็นตำาแหน่งที่สิ้นสุดของสัญญาณประสาทที่มา จากระบบประสาท motor  เนื่องจากมี anterior motor neurons ที่จะเป็นเซลล์ประสาทที่รับคำาสั่ง จาก corticospinal tract และสั่งการไปยังเซลล์ กล้ามเนื้อ  3. เป็นทางเดินของกระแสประสาททที่ติดต่อระหว่าง ไขสันหลังและสมอง  4. เป็นศูนย์กลางของระบบประสาทออโตโนมิก (autonomic nervous system) Reflex เป็นกลไกการตอบสนองที่เกิดขึ้นทันทีหลัง จากถูกกระตุ้น เกิดได้เนื่องจากมี synapse ของ
  • 39.  spinal somatic reflex เช่น –  stretch reflex เป็น reflex ที่เกิดเมื่อมีการยืด กล้ามเนื้อแล้วมีการหดตัวของกล้ามเนื้อทันที มี ประโยชน์ในการทำาให้กล้ามเนื้อมีความตึง และ ทำาให้การเคลื่อนไหวของร่างกายเป็นไปได้อย่าง ราบเรียบ –  flexor reflex เป็น reflex ที่เกิดเมื่อมีสิ่งกระตุ้น ความรู้สึกต่อแขนขาแล้วทำาให้กล้ามเนื้อ flexor ของแขนขาหดตัวอย่างรุนแรงเพื่อดึงแขนขาออก จากสิ่งกระตุ้น spinal autonomic reflex มีระบบประสาทออโตโนมิกเป็น motor pathway และ effector organs เป็นกล้ามเนื้อเรียบ กล้าม
  • 41. ระบบประสาทส่วนปลาย หรือ ระบบประสาท รอบนอก ประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ  sensory division (afferent) ประกอบด้วย เซลล์ประสาทที่ทำาหน้าที่ในการรับสัญญาณ ประสาทจากทั้งภายในและภายนอกร่างกายและ นำาส่งไปยังสมองส่วนกลาง  motor division (efferent) ประกอบด้วยเซลล์ ประสาทที่รับคำาสั่งการปฏิบัติงานจากระบบ ประสาทส่วนกลางไปยังกล้ามเนื้อและต่อมต่างๆ
  • 42. ระบบประสาทส่วนปลายประกอบด้วย  sensory-somatic nervous system ประกอบไปด้วย เส้นประสาทสมอง 12 คู่ และ เส้นประสาทสันหลัง 31 คู่ –  cranial nerve เส้นประสาทสมองทั้ง 12 คู่นั้น มีหน้าที่ในการรับความรู้สึกและการเคลื่อนไหว ของกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้า ในปากและคอ เส้นประสาทสมองบางคู่มีเฉพาะส่วนที่เป็น sensory บางคู่ก็เป็น motor อย่างเดียว และมี บางคู่เป็นแบบผสม –  spinal nerves เส้นประสาทสันหลังทุกเส้น ประกอบไปด้วยส่วนที่เป็น sensory และ motor ซึ่งจะทำางานภายใต้อำานาจจิตใจ
  • 43.   autonomic nervous system เป็นการ ควบคุมการทำางานของร่างกายที่อยู่ภายนอกจิตใจ ประกอบไปด้วยทั้งส่วนที่เป็น sensory และ motor ซึ่งวิ่งระหว่าสมองส่วนกลาง (บริเวณ hypothalamus และ meduula oblongata) และอวัยวะภายในต่างๆเช่น หัวใจ ปอด กระเพาะ เป็นต้น แบ่งเป็น 2 ระบบคือ sympathetic และ parasympathetic nervous system ซึ่งทั้ง 2 ระบบนี้จะสั่งงานตรงข้ามกันในแต่ละอวัยวะ –  sympathetic nervous system จะถูกกระตุ้น ในกรณีฉุกเฉิน ผลจากการกระตุ้นเช่น หัวใจเต้น เร็วขึ้น เลือดไปเลี้ยงหัวใจมากขึ้น การย่อยอาหาร ลดลง
  • 46.  การเกิดรีเฟลกซ์แอกชัน (Reflex Action เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นที่อวัยวะรับสัมผัสเช่น ผิวหนัง กระแสประสาทจะส่งไปยังไขสันหลัง และไขสันหลังจะสั่งการตอบสนองไปยังกล้าม เนื้อ โดยไม่ผ่านไปที่สมอง เมื่อมีเปลวไฟมา สัมผัสที่ปลายนิ้วกระแสประสาทจะส่งไปยัง ไขสันหลังไม่ผ่านไปที่สมอง ไขสันหลังทำาหน้าที่ สั่งการให้กล้ามเนื้อที่แขนเกิดการหดตัว เพื่อดึง มือออกจากเปลวไฟทันที
  • 47. แหล่งอ้างอิง _______. (ออนไลน์): https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0 วันที่สืบค้น 14 กันยายน 2558 _______. (ออนไลน์):http://www.krusarawut.net/wp/? p=4053. (วันที่สืบค้น 14 กันยายน 2558 _______. (ออนไลน์): http://nervousmwit.blogspot.com/ . (วันที่สืบค้น 14 กันยายน 2558
  • 48. ผู้จัดทำา 1. นางสาว ธัญวรัตม์ เข็มทอง ม. 6/4 เลขที่ 1 2. นางสาว ปายนภา โปธาพันธ์ ม. 6/4 เลขที่ 26