SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
Download to read offline
คูมือ
การทำงาน
สภาเด็กเเละเยาวชน
แหงประเทศไทย
โดย สภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย พ.ศ. 2561
สภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทยรวมกับกรมกิจการเด็กและเยาวชน ไดจัดทำ
คูมือการทำงานของสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย เพื่อใหการดำเนินงาน
ของสภาเด็กและเยาวชน เปนไปในทิศทางเดียวกัน เนื้อหาในคูมือฉบับนี้นับเปนสวนสำคัญ
ของการบอกเลาสภาพขอเท็จจริงพรอมทั้งแนวทางและขอเสนอแนะตาง ๆ ที่หลายฝาย
ควรนำไปศึกษาแกไขและปรับปรุงการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน
สภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย ตองขอขอบคุณผูบริหารและเจาหนาที่
กรมกิจการเด็กและเยาวชน ที่ปรึกษาสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย คณะบริหาร
สภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย สมาชิกสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย
คณะทำงานสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย วาระ 2561-2563 และที่ขาดไมได
คือองคกร Influence TH ที่มีสวนสำคัญอยางยิ่งในการจัดทำคูมือฉบับนี้
สภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทยหวังเปนอยางยิ่งวา คูมือการทำงาน
ของสภาเด็กและเยาวชน ฉบับนี้จะชวยใหการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนในทุก ๆ
ระดับดำเนินการไดเขมแข็งและเปนระบบ สงเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนในสังคมไทยสืบไป
คำนำ
สภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย
สารบัญ
(TIMELINE) ประวัติสภาเด็กและเยาวชน
โครงสรางการบริหารงานสภาเด็กและเยาวชน
กิจกรรมที่เกิดขึ้นระหวาง เดือนตุลาคม 2560 - เดือนกันยายน 2561
8
หนา
ABOUT US
8
10
12
หนา
22
หนา
15
2. ตำแหนงรองประธานสภาเด็กและเยาวชน
1. ตำแหนงประธานสภาเด็กและเยาวชน
3. ตำแหนงเลขาธิการสภาเด็กและเยาวชน
หน
า
17
มาเรียนรูแตละบทบาทหนาที่
เทคนิคการทำงานและวิธีการกาวผาน
ปญหา อุปสรรคของงานในสภาเด็กฯ กัน
หนา
6
การทำงานสภาเด็กและเยาวชน
บันทึกกอนเริ่มงาน...
ตอนรับเขาสู...
ที่ปรึกษาเปนผูชวยสำคัญในการทำงาน
ที่ปรึกษา44
หนา
การทำงานสภาเด็กและเยาวชน
ฝายตางๆ ใน
ฝายบริหาร
ฝายนโยบายและเเผนงาน
ฝายงาน EVENT
ฝายประสานงาน
ฝายการจัดประชุม
ฝายการบริหารงบประมาณ
หนา
24
26
28
30
34
38
36
NGOsมาทำความรูจักกับกลุม NGOs
40
หนา
โครงการจากสภาเด็กฯ 45
หนา
โครงการ “เมล็ดพันธุแหงความดี”
โครงการ “ผลิตสื่อรณรงคประเด็นการพนัน
ในชวงการแขงขันฟุตบอลโลก 2018”
เวทีสิทธิเด็ก
ครั้งเเรกที่ฉันไดยินเกี่ยวกับสภาเด็กฯ ฉัน...
บันทึกกอนเริ่มงาน
ยินดีตอนรับ
สภาเด็กฯเขาสูการทำงาน
ประสบการณสุดประทับใจที่เคยทำงานกับสภาเด็กฯ
เเรงบันดาลใจในการรวมงานกับสภาเด็กฯ
6
มาตั้งเปาหมายในการทำงานกัน
สุดทาย เขียนถึงตัวเองตอนจบวาระการทำงานหนอย
(จะเปนรูปวาดก็ไดนะ)
7
8
พ.ศ. 2547
เยาวชนเสนอใหมีการจัดตั้ง
สภาเด็กและเยาวชนแหงชาติ
จัดตั้งสภาเด็กฯ 4 จังหวัด
นำรอง
เเตงตั้งสภาเด็กฯ ระดับจังหวัดครบ 75 จังหวัด
แตงตั้งคณะกรรมการสภาเด็กฯ
แหงประเทศไทยชุดเเรก
กยช. ใหมีการจัดตั้ง
สภาเด็กฯ ระดับจังหวัด
ครบ 76 จังหวัด
ผลักดัน รางพรบ.
สงเสริมการพัฒนา
เด็กและเยาวชน
แหงชาติ
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550
พ.ศ.2547 จากการสัมมนาวันเยาวชนแหงชาติ ประจำป 2547 เยาวชนไดเสนอความตองการ
ใหมีการจัดตั้งสภาเด็กแหงชาติขึ้น เนื่องในวันเยาวชนแหงชาติ คณะกรรมการจัดงานวันเยาวชน
แหงชาติ จึงมีมติใหสำนักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการและ
ผูสูงอายุ (สท.) ปจจุบันเปลี่ยนเปนกรมกิจการเด็กและเยาวชน ดำเนินโครงการจัดใหมีสภาเด็กเเละ
เยาวชนจังหวัดนำรอง ในป 2547 รวม 4 จังหวัด คือ จังหวัดเชียงราย สุรินทร ปราจีนบุรี และสตูล
พ.ศ.2551 เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2551 ไดประกาศใชพระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนแหงชาติ พ.ศ.2550 โดยใหสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
ของทุกจังหวัด จัดใหมีสภาเด็กและเยาวชนระดับอำเภอ จำนวน 878 อำเภอ และระดับจังหวัด 76 จังหวัด
และใหสำนักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการและผูสูงอายุ
(สท.) จัดใหมีสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร และสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย
ภายใตหลักการ “เด็กนำ ผูใหญหนุน” โดยคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนไดดำเนินการตาม
บทบาทหนาที่อยางตอเนื่อง
พ.ศ.2550 มีการผลักดัน รางพระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ พ.ศ. ....
และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธย
เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2550
พ.ศ.2549 มีนาคม 2549 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยไดเเตงตั้ง
สภาเด็กและเยาวชนระดับจังหวัดครบทั้ง 75 จังหวัด ยกเวนกรุงเทพมหานคร ที่ไดมีการแตงตั้ง
แลวตามระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยสภาเยาวชนกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 เพื่อใหมี
การเชื่อมโยงเครือขายเยาวชนสูระดับชาติ จนกระทั่งวันที่ 27 ตุลาคม 2549 ไดมีการแตงตั้ง
คณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย
พ.ศ.2548 ตอมาคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานเยาวชนแหงชาติ ไดสานตอนโยบาย
โดยมอบใหกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยขยายผลการจัดใหมีสภาเด็กและ
เยาวชนครบทั้ง 76 จังหวัด ภายในป 2549 ในหลักการ “เด็กนำ ผูใหญหนุน” พรอมจัดสรร
งบประมาณใหทุกจังหวัดดำเนินการ
ABOUT US
ที่มา : แนวทางการจัดใหมีสภาเด็กและเยาวชน ตามพระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนา
เด็กและเยาวชนแหงชาติ พ.ศ. 2550 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 9
ประวัติสภาเด็กฯ
ป 2547 - ป 2560
TIMELINE
พ.ศ. 2560
ประกาศใชพรบ.สงเสริมการ
พัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ
แตงตั้งสภาเด็กฯ ระดับอำเภอ
แตงตั้งสภาเด็กฯ
ระดับตำบล
ประกาศใชพรบ.สงเสริมการ
พัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560
เสนอปรับแกไข พรบ.
สงเสริมการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนแหงชาติ
พ.ศ.2550
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2559พ.ศ. 2551
พ.ศ.2553 คณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ มีมติใหองคกรปกครอง
สวนทองถิ่นสนับสนุนใหมีการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนในระดับตำบล เพื่อสงเสริมและสนับสนุน
ใหเด็กและเยาวชนของทองถิ่นไดมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมที่เปนประโยชนตอสังคม
และเปนแกนนำในการทำกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนรวมทั้งใหขอเสนอเเนะ
แสดงความคิดเห็นในการพัฒนาเด็กและเยาวชนในทองถิ่น ซึ่งพบวามีการจัดใหมีสภาเด็ก
และเยาวชนตำบลกวา 5,000 แหง
พ.ศ.2559 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย และคณะอนุกรรมาธิการ
กิจการเด็กและเยาวชน ในคณะกรรมาธิการสังคม กิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอายุ คนพิการ
และผูดอยโอกาส สภานิติบัญญัติแหงชาติ ไดเสนอปรับแกไขพระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนา
เด็กและเยาวชนแหงชาติ พ.ศ. 2550 มีการเพิ่มเติมองคประกอบของคณะกรรมการสงเสริม
การพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ (กดยช.) และการกำหนดใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น
สงเสริมและสนับสนุนใหมีสภาเด็กและเยาวชนตำบล สภาเด็กและเยาวชนเทศบาล รวมทั้งให
กรุงเทพมหานครสงเสริม สนับสนุน และประสานงานการจัดใหมีและดำเนินกิจการของสภาเด็ก
และเยาวชนเขต และสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ตลอดจนใหกรมกิจการเด็กและ
เยาวชนสงเสริม สนับสนุน และประสานงานการจัดตั้งและการดำเนินกิจการของสภาเด็กและ
เยาวชนทุกระดับ
พ.ศ.2560 พระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560
ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2560 และหลังจากพระราชบัญญัติ
ฉบับดังกลาวมีผลบังคับใช กรมกิจการเด็กและเยาวชนจึงไดกำหนดใหวันที่ 9 กันยายน 2560
เปนวันที่ใหมีการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนตำบล สภาเด็กและเยาวชนเทศบาล ขึ้นพรอมกัน
ทั่วประเทศ
จากความเปนมาดังกลาวขางตน สภาเด็กและเยาวชนเปนกลไกของเด็กและเยาวชน
ตามกฏหมายที่มีโครงสรางเชื่อมโยงกันทั่วประเทศอยางเปนระบบ เพื่อสงเสริมการมีสวนรวมใน
การพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมตลอดจนรวมปองกันแกไขปญหาที่มีผลกระทบตอเด็กและเยาวชน
10
ABOUT USโครงสรางการบริหารงานสภาเด็ก
และเยาวชนแหงประเทศไทย
รองประธานสภาฯ
ฝายยุทธศาสตร
และแผนงาน
รองประธานสภาฯ
ฝายสงเสริม
การพัฒนา
และสวัสดิการ
รองประธานสภาฯ
ฝายคุมครองเด็ก
และเยาวชน
รองประธานสภาฯ
สวนภูมิภาค
ผูชวย
ประธานสภา
รองเลขาธิการ
1
รองเลขาธิการ
2
รองเลขาธิการ
3
โฆษกรองโฆษก
เลขาธิการเหนือใตกลางตะวันออกเฉียงเหนือกลุมเด็กและเยาวชนเลขานุการ
ประธานสภาฯ
สำนัก
เลขาธิการ
กลุมยุทธศาสตร
และแผนงาน
กลุมสงเสริม
การพัฒนา
และสวัสดิการ
กลุมคุมครอง
เด็กและเยาวชน
กลุมตรวจการ
และ
การประเมินผล
กลุมสารสนเทศ
และ
การประชาสัมพันธ
กลุมประสานงาน
และเลขานุการ
ระดับชาติ
ประธานสภาเด็กและเยาวชน
แหงประเทศไทย
ที่ปรึกษาสภาเด็ก
และเยาวชน
ควบคุมดูแลการบริหารงาน
กำกับดูแลการบริหารงาน
โดยใหประธานสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดในภาคนั้น ๆ คัดเลือกกันเอง
แลวเสนอชื่อตอที่ประชุมสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย ประธานสภาเด็ก
และเยาวชนภาค กลุมเด็กและเยาวชน
ประธานกลุมเด็กและเยาวชนคัดเลือกกันเองจากกลุมเด็กและเยาวชน
แลวเสนอชื่อตอที่ประชุมสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย
รองประธานสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย มาจากผูบริหารที่
ประธานสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทยคัดเลือก จำนวน 3 คน
11
การเลือกคณะบริหาร
แหงประเทศไทย
สภาเด็กและเยาวชน
คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน
แหงประเทศไทย 26 คน มาจาก
การคัดเลือกกันเองในสัดสวนของภูมิภาค
ตามขอ 27 ของขอบังคับสภาเด็กและ
เยาวชนแหงประเทศไทย พ.ศ. 2560
แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 ดังนี้
ประธานสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย 1 คน
ผูบริหารจากสัดสวนสภาเด็กและเยาวชนภาคเหนือ 4 คน
ผูบริหารจากสัดสวนสภาเด็กและเยาวชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4 คน
ผูบริหารจากสัดสวนสภาเด็กและเยาวชนภาคกลาง 6 คน
ผูบริหารจากสัดสวนสภาเด็กและเยาวชนภาคใต 3 คน
ผูบริหารจากสัดสวนกลุมเด็กและเยาวชน 8 คน
การคัดเลือกรองประธานสภาเด็ก
และเยาวชนแหงประเทศไทย
รองประธานสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย เปนไปตามขอ 28 ของ
ขอบังคับสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย พ.ศ. 2560 แกไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 จำนวน 8 คน
ประธานสภาเด็กและเยาวชนภาคเหนือ
ประธานสภาเด็กและเยาวชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ประธานสภาเด็กและเยาวชนภาคกลาง
ประธานสภาเด็กและเยาวชนภาคใต
ประธานสภาเด็กและเยาวชนภาคกลุมเด็กและเยาวชน
12
ระหวางเดือน ตุลาคม 2560 - กันยายน 2561
พฤศจิกายน 60
ตุลาคม 60
เมษายน 61
เปดพื้นที่สรางสรรค
“Youth of the king“
เสนอปญหาของเด็กและเยาวชน
สูการทำแผนนโยบาย “เวทีสิทธิเด็ก”
สมัชชาการมีสวนรวม เพื่อใหสภาเด็กฯ
และเครือขายไดแลกเปลี่ยนประสบการณ
ในการทำงานและหาเเนวทางใน
การทำงานรวมกัน
ประชุมรับฟงแลกเปลี่ยนปญหาการตั้งครรภ
ในวัยรุน
ประชุมติดตามการจัดทำเลม
CRC Report
สรางแกนนำ Gen Z Strong
เพื่อขับเคลื่อนงานดานการปองกันบุหรี่
เลือกตั้งประธานและคณะบริหารสภาเด็กฯ
กำหนดแผนการดำเนินงาน
และการขับเคลื่อนงานตาง ๆ ของสภาเด็กฯ
เลือกตั้งคณะกรรมการสงเสริมการพัฒนา
เด็กและเยาวชนแหงชาติ
เลือกตั้งผูแทนในการทำงาน
ดานการตั้งครรภ
สมัชชาการศึกษา เพื่อรับฟงปญหา
และรวบรวมขอคิดเห็นตาง ๆ ของเด็ก
เเละเยาวชนดานการศึกษาทั่วประเทศ
ประชุมหารือเรื่องการพนันออนไลน
จัดกิจกรรมวันเด็กแหงชาติ
ธันวาคม 60
�กราคม 61
กุมภาพันธ  61
คัดเลือกคณะทำงาน
ประชุมสมาชิกสภาเด็กและเยาวชน
เเหงประเทศไทย เพื่อแจงการปฎิบัติงาน
และรับฟงปญหาในการทำงาน
งานมหกรรมเสริมสรางสุขภาพ เพื่อเพิ่ม
ทักษะทางสุขภาพใหกับเด็กและเยาวชน
วางแผนขับเคลื่อนกลไกการใชสื่อ
ปลอดภัยและสรางสรรค
ประชุมเรื่องตั้งครรภ เพื่อหาแนวทาง
การปองกันและเเกไขการตั้งครรภ
ไมพรอมในวัยรุน
ประชุมเรื่องวันเยาวชนแหงชาติ เพื่อกำหนด
แนวทางรูปแบบการจัดงาน เพื่อประสาน
ความรวมมือจากทุกภาคสวน
ประชุมจัดทำแผนการดำเนินงานดาน SDGs
เพื่อใหเด็กและเยาวชนรวมกันขับเคลื่อน
การพัฒนาที่ยั่งยืนทั้ง 17 เปาหมาย
ผานสภาฯ จังหวัด
นิทรรศการเรียนรูเด็กประถม
สมัชชาการศึกษาภาคเหนือ
ทำ MOU เรื่องการพนันออนไลน
ยื่นหนังสือเรื่องการพนันใหรองนายกรัฐมนตรี
@ทำเนียบรัฐบาล
ประชุมเรื่องงาน SIY เพื่อรวมกันหารูปแบบ
การทำงานหรือการมีสวนรวมระหวางอปท.
และเด็กและเยาวชน
เตรียมความพรอมการทำหนังสั้นการพนัน
ประชุมกำหนดแนวทางการจัดงาน
วันเยาวชนแหงชาติ
�ีนาคม  61
ABOUT US
กิจกรรมที่เกิดขึ้น
13
กันยายน 61
พฤษภาคม 61
ประชุมคณะบริหารฯ เพื่อทำแผนการทำงาน
และมอบหมายงานใหประธานภูมิภาค
ทำขอมูลการทำงานและแนวทางการทำงาน
รวมงานปดเทอมสรางสรรค (สสส.)
ทำขอตกลง และขอการสนับสนุน
จากหนวยงานรัฐเพื่อปองกันเรื่องการพนัน
ออนไลนตอนบอลโลก
ประชุม Unicef และการคัดกรองการตั้งครรภ
ประชุมสภาเด็ก 4.0 หารือรวมกับสสส.
เพื่อใหเกิด Platform online
คาย SIY เพื่อหานวัตกรรมใหชุมชนไดมี
สวนรวมในการพัฒนาสภาเด็กและเยาวชน
ในชุมชน
งานแถลงขาวเปดตัวหนังสั้นเรื่องการพนัน
รวมงานไทยนิยมยั่งยืน @ทำเนียบรัฐบาล
เวทีฟงเสียงประชาชนเพื่อรางพรบ.จราจร
สรางเครื่องมือในการทำงานใหความเขาใจ
เรื่องเพศศึกษาและอนามัยการเจริญพันธุ
ประชุมติดตามการขับเคลื่อนงาน
ดานการตั้งครรภ
หนังสั้น “ขาวพนัน” เปดตัวหนังสั้นรณรงค
และสรางความตระหนักถึงภัยของการพนัน
นิเทศการดำเนินงานสภาเด็กฯ จังหวัดเชียงราย
แมฮองสอน จันทบุรี ภาคอีสาน ภาคเหนือ
กทม. สตูล ยะลา ปตตานี นราธิวาส
เพื่อทราบถึงปญหาการทำงานของสดย.
ทุกจังหวัด และเเนะนำการทำงานใหกับนอง ๆ
ประชุม ICE สรางสังคมการเรียนรูของสังคม
พหุวัฒนธรรมใหสามารถอยูรวมกันไดอยาง
สงบสุข
ลงพื้นที่ SIY ภาคกลาง และภาคเหนือ
เผยเเพรสื่อรณรงคเรื่องการพนัน 5 จังหวัด
เผยเเพรผลงานของเด็กและเยาวชนในงาน
Thailand Social Expo
สมัชชาการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ
เพื่อเก็บประเด็นปญหาดานเด็กและเยาวชน
มาวิเคราะหเพื่อหาแนวทางการแกไขปญหา
เเละเสนอเปนนโยบายตอไป
สมัชชาเด็กและเยาวชนแหงชาติ เพื่อเก็บ
ประเด็นปญหาดานเด็กและเยาวชน
เพื่อวิเคราะหและผลักดันเสนอเปนนโยบาย
Expo พม. จัดแสดงผลงานและศักยภาพ
ของสภาเด็กและเยาวชนใหสาธารณะชน
ไดรับรู
งาน SIY (Social Innovation and Youth)
ASEAN Youth Forum งานเเลกเปลี่ยน
และสรางนวัตกรรมทางสังคมรวมกัน
ของเยาวชนอาเซียน
สมัชชาภาคเหนือ
สมัชชาชนเผา เพื่อเก็บประเด็นปญหา
ของชนเผาทั่วประเทศ หาขอเสนอเพื่อกำหนด
แนวทางนโยบายในการแกไขปญหา
ประชาสัมพันธงานเยาวชนแหงชาติ
สมัชชาเด็กและเยาวชนอีสาน
วันเยาวชนแหงชาติ เปนพื้นที่สรางสรรค
ใหเด็กและเยาวชนรูจักการทำงาน
ถอดบทเรียนการทำงานของสภาเด็ก
เพื่อสรางแบบแผนคูมือการทำงานในวาระตอไป
พบสภานิติบัญญัติแหงชาติ เพื่อใหกำลังใจ
คณะกรรมาธิการสังคมที่ขับเคลื่อนกฎหมาย
เพื่อเด็กและเยาวชน
แถลงขาววันเยาวชนแหงชาติ
เพื่อประชาสัมพันธและเชิญชวนมา
รวมงานวันเยาวชนแหงชาติ
อนุสมัชชาการพัฒนาเด็กและเยาวชน
เพื่ออนุมัติเเละเตรียมการจัดงาน
ประชุมหารือเรื่องการปกปองคุมครองเด็ก
จาก E-Sport
ถอดบทเรียนและสรุปการดำเนินงาน
เรื่องพนัน
�ิถุนายน 61
สิงหาคม 61
กรกฎาคม  61
14
มาเรียนรูแตละบทบาทหนาที่
เทคนิคการทำงาน
และวิธีการกาวผานปญหาอุปสรรค
ของงานในสภาเด็กฯ กัน !!
15
บทบาทหนาที่
การเตรียมตัว
ความทาทาย
ในการทำงาน
ประธานสภาเด็กและเยาวชน
แหงประเทศไทย
ตำแหนง
บริหารงานโดยภาพรวมของสภาเด็กและเยาวชน
เปนประธานในที่ประชุม
ตัวแทนเขารวมประชุมทั้งในและตางประเทศ เกี่ยวกับ
การพัฒนาเด็กและเยาวชนทั้งหมด
กำหนดยุทธศาสตรและกรอบแนวทางการดำเนินงาน
ในแตละปงบประมาณ
ตั้งคณะกรรมการชุดตาง ๆ ในเรื่องเด็กและเยาวชนที่ไมมี
บุคลากรที่มีความรูเฉพาะดาน ตามมติที่ประชุม
ประสานงานระหวางองคกรเพื่อใหเกิดการทำงานรวมกัน
วางโครงสรางการบริหารงานของสภาเด็กและเยาวชน
แหงประเทศไทย
ความหลากหลายของคนในการทำงาน
คณะทำงานที่อยูในพื้นที่กรุงเทพมีจำนวนนอยทำใหตอง
หาคนทำงานเพิ่ม
การบริหารจัดการเวลาของคนในทีม
การบริหารจัดการอารมณจากภาวะความกดดัน
และความคาดหวังจากสวนตาง ๆ ที่เขามา
การจัดอารมณ พรอมรับฟงทุกคน ทุกปญหา
ความรูเกี่ยวกับกฎหมาย, ของสภาเด็กและเยาวชน,
แนวนโยบายตาง ๆ ของรัฐบาลที่ออกมาในยุคนั้น ๆ
ทักษะการคิด วิเคราะห สังเคราะหขอมูล และการจับประเด็น
ทักษะการเขาสังคม การสื่อสาร ประสานงาน
ไหวพริบ การแกไขปญหาเฉพาะหนา
ทักษะการแสวงหาความรู และการเรียนรูตลอดเวลา
การประชุมในประเทศไทย : กดยช.,
อนุกรรมการสมัชชา, อนุกรรมการ
เกี่ยวกับนโยบายตาง ๆ เปนตน
การประชุมระดับประเทศ : ผูนำ
เด็กและเยาวชน อาเซียน, SDGs,
youth forum เปนตน ชี้แจง
ตอบขอสงสัยเกี่ยวกับเรื่องสภาเด็ก
16
“ เด็กคิด
เด็กทำ
เด็กนำ
ผูใหญหนุน ”
มี 3 ฝาย ตอไปนี้
1. รองประธานฝายสงเสริมการพัฒนาและสวัสดิการ
2. รองประธานฝายคุมครองเด็กและเยาวชน
3. รองประธานฝายยุทธศาสตรและแผนงาน
17
รองประธานสภาเด็กและเยาวชน
แหงประเทศไทย
(สวนกลาง)
ตำแหนง
18
รองประธานฝายสงเสริม
การพัฒนาและสวัสดิการ
ภาระงานที่ตองรับผิดชอบ มีทั้งหมด 4 ดาน ไดเเก
2. สวัสดิการเด็กและเยาวชน
รวบรวม วิเคราะหขอมูล รวมถึงขอเสนอตอการจัดสวัสดิการเด็กและเยาวชน
ประสานใหความชวยเหลือสถานการณฉุกเฉิน สถานการณภัยพิบัติ
ดานเงินสนับสนุนชวยเหลือในพื้นที่ เชน น้ำทวม
1. กิจการสภาเด็กฯ และงานพัฒนาเด็กและเยาวชน
สงเสริมสนับสนุนการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนทุกระดับตาม พรบ.
สงเสริมพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน และเปนวิทยากรกระบวนการการพัฒนา
ศักยภาพเด็กและเยาวชนตามการรองขอของหนวยงานตาง ๆ
สงเสริมพัฒนาความเขมแข็งของเครือขายเด็กและเยาวชน
จัดสมัชชาเด็กและเยาวชน ตั้งแตกระบวนการรวบรวมประเด็น สถานการณ
ในระดับพื้นที่ ระดับภูมิภาค และระดับชาติ จัดใหมีการรับฟงความคิดเห็น
รับรองมติที่ประชุมและจัดทำเปนขอเสนอ กดยช. เพื่อขับเคลื่อนตอไป
3. ความรวมมือระหวางประเทศ
สรรหาและจัดสรรบุคคลเขารวมงานระหวางประเทศ ติดตาม และรายงานประเมิน
ผลการแลกเปลี่ยนระหวางประเทศ
ศึกษาขอมูล วิเคราะหสถานการณ ผลกระทบการพัฒนาเด็กและเยาวชน
ระดับนานาชาติ
4. สื่อสารองคกร/ประชาสัมพันธ
ชี้แจงรายละเอียด ใหขอมูลองคกร การดำเนินงานแกหนวยงานที่เกี่ยวของ
จัดงาน เขารวมงานที่ไดรับเชิญหรือรองขอ
สื่อสารขอมูลใหกับคณะทำงาน เด็กและเยาวชนทั่วไป
เขียนขาว หมายขาว ขอความประชาสัมพันธสื่อออนไลน
ออกบูธประชาสัมพันธองคกรหรือประเด็นเฉพาะ
19
ความรู ความพรอมที่จะเรียนรูเรื่องสวัสดิการเด็ก และการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชน
ตาม พรบ.
ความสามารถในการสืบคนขอมูล และการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนที่เนน
การมีสวนรวมของเด็กและเยาวชน
ทัศนคติที่ดีในการทำงานรวมกับเด็กเเละเยาวชน
ความชอบในการประสานงานรวมกับหนวยงานตาง ๆ
ไมหยุดในการเรียนรู และพัฒนาตัวเอง
การสื่อสารภาษาอังกฤษ
การเตรียมตัวในการทำงานตำแหนงนี้ ตองมี
1. ในการประสานงานระหวางองคกร ถาขอมูลไมชัดเจน จะทำใหการสงตอขอมูล
ไมมีประสิทธิภาพและเกิดความเขาใจผิด
2. เด็กและเยาวชนสวนใหญขาดทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษทำใหเสียโอกาส
การเขารวมแลกเปลี่ยนเวทีนานาชาติ
3. ปญหาการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนระดับตำบล อำเภอ เจาหนาที่ขาดความรู
ความเขาใจ มีระยะเวลากระชั้นชิด และงบประมาณไมเอื้อตอการทำงานบางพื้นที่
4. คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนไมมีอยูจริง มีชื่อแตไมไดทำงาน หรือเปลี่ยน
ที่อยูทำใหไมมีคนทำงานในพื้นที่
ปญหาอุปสรรคและความทาทายในการทำงาน
รองประธานฝายคุมครอง
เด็กและเยาวชน
2 สวน ไดเเก�ีงานที่ตองรับผิดชอบ
1. งานดานการคุมครองและพิทักษสิทธิ
เก็บขอมูลและใหขอมูล สถิติที่เกี่ยวของเรื่องการคุมครองและพิทักษสิทธิเด็กและ
เยาวชน ประสานสงตอขอมูลใหหนวยงานที่เกี่ยวของ
ประสานสงตอผูใชบริการ (Case) ปองกัน แกไขปญหาปจจัยเสี่ยง
จัดงานและเขารวมงานรณรงคการคุมครองเด็ก และการพนัน
2. งานดานบริหารงานกองทุนคุมครองเด็ก
บริหารจัดการโครงการ เขียนโครงการ พิจารณาโครงการ และประสานงานกองทุน
ตองเขาใจความหลากหลายของเด็กในมิติตาง ๆ เชน ชาติพันธุ ศาสนา
และขอจำกัด เปนตน
มีความรูความเขาใจและพรอมที่จะเรียนรูเรื่องอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก
เชน พรบ.คุมครองเด็กฯ พรบ.สงเสริมฯ พรบ.ตั้งครรภฯ พรบ.สื่อออนไลนฯ เปนตน
ชอบทำงานดานการเก็บขอมูล และงานดานขอมูลตาง ๆ
มีใจที่อยากพัฒนาเด็กและเยาวชนใหมีชีวิตที่ดีขึ้น ตามที่เขาตองการ
มีทักษะในการประนีประนอมและสามารถจัดการความขัดแยงได
ระวังเรื่องการละเมิดสิทธิเด็ก เชน การถายรูป การเผยเเพรรูปภาพ
และการเขียนขาวที่เกี่ยวของกับเด็ก การทำงานอยูบนความหลากหลาย
ของกลุมเปาหมาย ที่มีความตองการพิเศษ มีความขัดแยง จึงตองใชทักษะ
การประนีประนอมและการจัดการความขัดแยง
การเตรียมตัว สำหรับคนที่สนใจทำงา�นี้ คือ
ประเด็นพึงระวังในการทำงานดา�นี้ !!
20
รองประธานฝายยุทธศาสตร
และแผนงาน
การเตรียมตัว
ความทาทายในการทำงาน
บทบาทหนาที่
ดูแลแผนสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย
ดูแลเรื่องการเงินในเฉพาะสวนของโครงการเทานั้น ไมเกี่ยวของกับการบริหารจัดการ
ทางการเงินในภาพรวมของฝายการเงิน
ดูแลยุทธศาสตร และโครงการ สดย.ท. มีความสอดคลองกับยุทธศาสตรใดบาง
ตามแผนของกรมกิจการเด็กและเยาวชน แผนการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ
เขาไปรวมรับฟงแผนยุทธศาสตรจากหนวยงานภายนอก เชน ยุทธศาสตรชาติ 20 ป
ดูเกี่ยวกับวิชาการ
นิเทศติดตามงาน วางแผนการลงพื้นที่ของสภาเด็กและเยาวชนทั่วประเทศ
คูมือการนิเทศ การดำเนินงาน ที่สอดคลองกับมาตรฐานสภาเด็กฯ
โครงการเมล็ดพันธุแหงความดี
การทำงานที่เเขงกับเวลา เพราะถาทำงานลาชาจะมีผลตอการอนุมัติงบประมาณ
หรือการดำเนินงานตาง ๆ
การติดตอประสานงานที่ตองชัดเจน แมนยำ
ความไมเขาใจในบทบาทหนาที่ ที่จะทำใหเราทำงานไมมีประสิทธิภาพ
ความไมชัดเจนเรื่องการบริหารงบประมาณ และเเผนงาน ทำใหไดงบประมาณลาชา
และไมสามารถดำเนินงานตามเเผน
เรียนรูงานจากคนที่เคยทำในบทบาทนี้มากอน จะทำใหเห็นภาพการทำงานที่ชัดเจน
การรับฟงใหมาก ๆ
ชอบเรียนรูและอานใหเยอะ ๆ
ตองเปนคนชางสังเกต และรูจักการประยุกต
เปนคนมีความคิดสรางสรรคตลอดเวลาวาตองทำอยางไรดี ใหมันออกมาเปนในแบบ
ของสภาเด็กฯ
ฝกความเปนผูนำ
มีความเขมแข็ง
มีความพรอมทั้งดานกายและจิตใจ
เรียนรูในงานทำงานหลาย ๆ บทบาทหนาที่ ไมใชทำเฉพาะที่เราทำอยูในอยาง ๆ เดียว
21
22
ตำแหนง
เลขาธิการสภาเด็กและเยาวชน
งานที่ตองดูแล
งานสารบรรณ
รับ สงเอกสาร และหนังสือราชการ
ศูนยบริการขอมูล ขาวสาร
ดูแลความเปนระเบียบเรียบรอยของสำนักงาน
งานสื่อสารองคกร/ประชาสัมพันธ
จัดเก็บฐานขอมูลที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน
การประสานงาน
ประสานงานกับหนวยงานภายในและภายนอก
งานประชุม
ประสานงานผูเขารวม
จัดหาสถานที่
เตรียมและผลิตวาระ
เตรียมอุปกรณ
เตรียมอาหาร
จัดประชุม
สรุปประเด็น และจัดทำรายงานการประชุม
23
ความทาทายในการทำงานตำแหนงนี้
มีภาระงานที่ตองรับผิดชอบมาก จึงตองมีความละเอียดรอบคอบ และความสามารถ
ในการจัดการใหดี
การทำงานมักมีปญหาเฉพาะหนาเกิดขึ้นและใหแกไข ดังนั้นตองมีสติ และจัดการ
กับปญหา
ตองมีความคิดสรางสรรค
เปนการทำงานภายใตแรงกดดัน และความเห็นตาง ฉะนั้นจะตองบริหารจัดการ
ความขัดแยง ใจเย็นและเด็ดขาด
ตองมีความรูความเขาใจเรื่องอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก พรบ.คุมครองเด็ก
พรบ.สงเสริมฯ พรบ.ตั้งครรภฯ พรบ.สื่อออนไลนฯ เปนตน
สถานการณของเยาวชนมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ฉะนั้น !!! จำเปนตองมี
การติดตามขาวสาร และสถานการณของเด็กและเยาวชนในปจจุบัน
ภาพลักษณมีความนาเชื่อถือ
การบริหารจัดการเรื่องงาน เวลา และคน
ความคิดสรางสรรคในการสรรสรางงานที่แตกตาง และทันสมัย
ความละเอียดรอบครอบ
การสื่อสารใหเขาถึงกลุมเปาหมาย
การใชภาษาในการติดตอสื่อสาร
การกรองขอมูลเบื้องตน
การจัดการและควบคุมอารมณ
การแกไขปญหาเฉพาะหนา
ความอดทน
ทักษะสำคัญที่ตองมี
การเตรียมตัว
มีความรูความเขาใจหรือพรอมที่จะเรียนรูทักษะการทำหนังสือราชการ
24
ฝายตางๆ ในการทำงาน
ฝายบริหาร
ฝายนโยบายและแผนงาน
ฝาย Event
ฝายประสานงาน
ฝายการประชุม
ฝายการบริหารงบประมาณ
สภาเด็กและเยาวชน
25
2. กำหนดโครงสรางการบริหาร
ประธานในที่ประชุม
ประชุมคณะบริหาร
ประชุมสมาชิก/ประชุมคณะทำงาน/
ประชุมคณะกรรมการตาง ๆ
ผูแทนองคกรในการเขารวมประชุม
สรางความสัมพันธระหวางองคกร
ใหคำปรึกษา คำแนะนำ ใหกับคณะบริหารและสมาชิก
การบริหารงานสภาเด็ก ฯ ระดับประเทศ
การบริหารงานสภาเด็ก ฯ ระดับภาค
การติดตามผลการดำเนินงาน
กระจายอำนาจลงสูทองถิ่นและผูปฏิบัติ
26
บทบาทหนาที่
Step ในการทำงาน
ความทาทายของงาน
1. การบริหารจัดการ
บุคคล
โครงการ
งบประมาณ
แตงตั้งคณะกรรมการ คณะทำงาน คณะอนุกรรมการ
ฝายบริหาร
1. วางแผนการดำเนินงานรวมกันกับทีม
2. แบงบทบาทหนาที่ในการดำเนินงานอยางชัดเจน
3. ปฏิบัติงานตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมายอยางเครงครัด
(ดำเนินโครงการ)
4. ถอดบทเรียน สรุปผลการดำเนินงาน
5. จัดทำรายงาน
1. มีคนทำงานสวนกลางนอย คณะบริหารอยูตางจังหวัด และระบบ
การคัดเลือกคณะบริหาร ไมตอบโจทยการดำเนินงานในสวนกลาง
2. เวลาในการทำงานไมตรงกัน และมีเวลาการทำงานไมชัดเจน
3. รูปแบบการจัดการไมสอดคลองกับบริบท และไมชัดเจน
4. วิสัยทัศนที่ไมชัดเจน ทำใหไมสามารถนำมาบริหารงานไดจริง
5. ผูบริหารตองรูบทบาท หนาที่ของตนเองโดยไมคำนึงถึงความใกล
ไกลของ กทม.
ขอ
2
ขอ
3
1
ขอ
27
ในการทำงานเทคนิค3 RIGHT PEOPLE
การสื่อสาร
ที่ชัดเจน
AT THE
RIGHT POSITION.การมอบหมายงานใหสอดคลองกับ
ความถนัดของบุคคล ถือเปนความทาทาย
ของคนที่ทำงานบริหารที่จะตองทำความเขาใจ
อยางรอบดาน พิจารณาทักษะ ความถนัด
วามีใครมีทักษะที่ตรงกับงานอะไรบาง
เปนทักษะสำคัญที่จะสงเสริมใหคุณเปนผูนำ
ที่ดีขึ้น ชวยพัฒนาความสัมพันธในองคกร และสามารถ
ใหกำลังใจคนในทีมได
ลองมาดูวาคุณเปนนักสื่อสารที่ดีหรือยัง ?
รูจักตัวเอง เปนสิ่งสำคัญที่ตองรูจักและสามารถจัดการกับอารมณความรูสึก
ของตัวเองใหได ไมเอาอารมณแย ๆ ของตัวเองไปใชกับผูอื่น
รูจักและเขาใจผูฟง การสื่อสารที่ดีเกิดขึ้นไดจากการรูจักและเขาใจผูฟง รูวิธีในการ
ทำใหผูฟงสนใจในสิ่งที่เราพูด รวมทั้งการดูแลเอาใจใสและการสรางความไววางใจ
ใหกับผูฟงดวย
พูดใหตรงประเด็น ชัดเจน และเจาะจง อยางตรงไปตรงมา
ใหความสำคัญกับภาษากาย และสีหนาหนาทาทาง
ฟงมากกวาพูด ตั้งใจฟงในสิ่งที่เขาพูด และถามคำถามไปบางเพื่อแสดงใหเห็น
ถึงความสนใจ
การลำดับความสำคัญ
ในการทำงานที่ประสบความสำเร็จ
กุญแจสำคัญที่สุดคือการจัดสรรเวลาใหกับ
สิ่งที่สำคัญ !!!
เทคนิคแบงงาน 4 ประเภท
สำคัญ และเรงดวน: ฝากใครทำไมได ตองทำเอง ทันที เรงดวน รอชาไมได
และตองสำเร็จดวย
สำคัญ แตไมเรงดวน: ฝากใครทำไมได ตองทำเอง แตไมดวนมาก ตองจัดสรร
เวลามาทำ และตองสำเร็จดวย
ไมสำคัญ แตเรงดวน: ฝากคนอื่นทำได แตตองทำทันที ไมควรชา
ไมสำคัญ และไมเรงดวน: ฝากใครทำก็ได และสามารถผลัดไปได
28
ฝายนโยบายและแผนงาน
บทบาทหนาที่
ขั้นตอนในการทำงาน
1. เลือกประเด็น ศึกษาขอมูลและรวบรวมสถานการณที่เกี่ยวของกับเด็กและเยาวชน
2. ประสานเครือขาย หนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อแลกเปลี่ยนและรวบรวมขอมูลที่ดีที่สุด
สูการนำเสนอ
3. นำเสนอขอมูลโดยอางอิงจากฐานขอมูลที่เชื่อถือไดตอคณะรัฐมนตรี
4. ติดตามผลการเสนอนโยบายและดำเนินงาน
รวบรวมและศึกษาสถานการณที่เกี่ยวของกับเด็กและเยาวชน เชน การตั้งครรภ
ไมพรอม ฯลฯ
ใหขอเสนอในการรางแผนที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน
เสนอนโยบายและยุทธศาสตร
เสนอแนวทางการปรับปรุงกฎหมาย
ประเมินผลและเสนอรายงานตอคณะรัฐมนตรี
กำหนดแนวทางการปฏิบัติงานใหกับหนวยงานที่เกี่ยวของตามพระราชบัญญัติ
ที่กฎหมายกำหนด
ปฏิบัติหนาที่อื่น ๆ ตามที่กฎหมายกำหนด
29
ปจจัยในการทำงาน
ดา�นโยบายให
ประสบความสำเร็จ !!
1. การพูดคุยและประสานงานกับเครือขายที่ขับเคลื่อนเรื่องเดียวกัน
2. การศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ
3. มีผูเชี่ยวชาญในแตละดาน สาขา ประกอบกับการพิจารณา กำหนดยกราง
ในดานนั้น ๆ เพื่อไวตอบคำถาม หรือใหคำแนะนำ
4. การเขาถึงระบบฐานขอมูลของเด็กและเยาวชน
5. การประสานงานและแลกเปลี่ยนขอมูลกับเครือขายที่หลากหลาย
6. มีผูแทนเด็กและเยาวชนเพิ่มขึ้น เชน มีผูแทนจากทุกภาค
7. ควรมีการวางแผนและแบงงานใหชัดเจน
8. การประสานงานที่ชัดเจน
9. การกำหนดกรอบ ขอบเขตเนื้องานใหชัดเจน
1. ไมมีการรวบรวมและอัปเดตงานเปนระยะ ๆ
2. ระบบการจัดเก็บผลการดำเนินงานที่ไมเปนรูปธรรม
3. การประสานงานที่ไมชัดเจน และลาชา
4. การแบงบทบาทหนาที่ไมชัดเจน
5. ควรใหสภาเด็กฯ จัดทำรายงานวิจัยดวยตนเอง
ขอควรระวัง !!
30
THINGS TO DO LIST
ในการจัดมหกรรมหรือบูธ
นิทรรศการตองเตรียมอะไรบาง?
ฝายงาน Event
กระบวนการ/Workshop Organizer
STEP
ในการจัดกระบวนการ
และ Workshop
มหกรรม
บูธนิทรรศการ
PLAN
1. ประชุมเตรียมกระบวนการ
2. ทำรายละเอียดโครงการ
3. เตรียมวัสดุ อุปกรณ
4. ทำกำหนดการ
5. ทำความเขาใจกลุมเปาหมาย
6. นัด workshop คณะทำงาน
DO
1. กิจกรรมละลายพฤติกรรม
(Ice breaking, กิจกรรมกลุม)
2. กิจกรรมกระบวนการที่ตอง
เกี่ยวกับเนื้องานที่ไดรับ
3. สรุปกิจกรรม
CHECK
1. ประชุมสรุปงานกลุมกระบวนการ
ACT
1. ถอดบทเรียน
1. กำหนดการมีการเปลี่ยนแปลงแตแจงไมทั่วถึง
2. จำนวนผูจัดกับจำนวนผูเขารวมไมเหมาะสมกัน
3. คณะทำงานรูไมเทากัน
4. ไมทำงานที่ไดรับมอบหมายใหเต็มที่
5. ไมมีการแบงหนาที่ใหชัดเจน
ขอควรระวัง !!
EVENT
1. สถานที่
รูสถานที่และทำแผนผัง
สวัสดิการ (อาหาร อาหารวาง)
พยาบาล
ประสานงานยานพาหนะ
2.ประสานงาน
ประสานงานกับผูเขารวม
ประสานงานกับฝายตาง ๆ หนวยงาน สื่อ
ออกหนังสือเชิญ
3.แสงและเสียง
รูคิว/ลำดับเสียงและไฟที่ตองใช/
สื่อที่ตองใช
รันคิวลำดับเวที
4.อำนวยการ
ตัดสินใจและแกไขปญหาเฉพาะหนา
ทบทวนความถูกตองของภาพรวม
ประเมินผล
5.ออกแบบ
ออกแบบธีมงาน/รูปแบบสื่อ
จัดทำกราฟก
มี teamwork
ที่ดี
แบงบทบาทหนาที่
ชัดเจน และทำหนาที่
ที่ไดรับมอบหมายให
ดีที่สุด
31
เทคนิควิธีการ
ที่ชวยในการทำงาน
1 2
5
3
6
10
7
11 12
13
4
มีความอดทน
ขยันหมั่นเพียร มีทักษะการแกไข
ปญหาเฉพาะหนา
ใชเทคนิค
“เรียนและเลน”
ในการทำ
กระบวนการ
RCA : Reflect
(สะทอน)
/Connect
(เชื่อมโยง)
/Apply
(ประยุกต)
ถอดบทเรียน
และนำมาปรับใช
กระชับ
ละเอียด
ไมยืดเยื้อ
มีการจัดทำคูมือ
แนวทางการจัดงาน
รูปแบบ/กระบวนการ
ที่ชวยใน
การจัดงานครั้งตอไป
8
9
มีหัวหนางาน
ในการตัดสินใจงาน
แคคนเดียว
พัฒนาทักษะความสามารถ
ของทีมงาน
มีการสื่อสาร
ในทีมที่ชัดเจน
Action plan
(รูบทบาทหนาที่ในการทำงาน
อยางชัดเจน)
เตรียมวิธีการ
จัดการกับ
คนจำนวนมาก
14
16
มีกำหนดการ
ที่ชัดเจน
15 จำนวน
คณะทำงาน
กับจำนวน
ผูเขารวม
เหมาะสมกัน
17
ทำงานแบบ
ไมกระจุกตัว
18
ทุกคนสามารถทำงานวิชาการได
32
Kahoot (สำหรับกิจกรรมที่ตองการวัด
ระดับความรู) ผูจัดตองตั้งคำถามในเว็บไซต
https://kahoot.com จากนั้นใหผูเขารวมเขามา
รวมแขงกันตอบคำถามในเว็บไซต https://kahoot.it
เพื่อหาคนชนะ อาจมีรางวัลใหเพื่อเปนกำลังใจ
Reflection
Evaluation
(สำหรับผูเขารวม)
ตัวอยางกิจกรรมสำหรับการ
SHARING
Kahoot!
ใหผูเขารวมทุกคนนั่งลอมวง ถามความรูสึก
และสิ่งที่ไดเรียนรู จากนั้นใหผูเขารวมทุกคนบอก
ความรูสึกและสิ่งที่ตัวเองไดเรียนรู วนจนครบทุกคน
ผูจัดเตรียมกระดานวัดระดับ
ความพึงพอใจ แจก Stickers
ใหผูเขารวม รวมประเมิน
ตามหัวขอตาง ๆ
กระดานความพอใจ
1
2
3
33
Reflection(สำหรับคณะทำงาน)
ตัวอยางวิธีการใน
ใหคณะทำงานทุกฝายนั่งรวมวงกัน จากนั้นใหรวมกันสะทอนปญหา อุปสรรค
และแนวทางในการทำงานใหดียิ่งขึ้น
วิธีที่ 1
วิธีที่ 2
ใหแตละฝายแยกคุยและสรุปงาน
ภายในฝายของตัวเองกอน
จากนั้นใหทุกฝายมารวมกัน
และใหฝายที่เกี่ยวของชวยกัน
สะทอนการทำงานซึ่งกันและกัน
ฝายประสานงาน
บทบาทหนาที่
1. รับขอมูลจากสวนกลาง สดย.ท.
กลุมเปาหมาย/จำนวน
วัตถุประสงคโครงการ
รายละเอียดงาน
2. ติดตอกลุมเปาหมาย/ชี้แจงรายละเอียด
3. รวบรวมขอมูลจากภูมิภาค
แผนการดำเนินงาน
ขอมูลที่ตองใชในแตละงาน/ขอมูลพื้นฐาน
รวบรวมเปนฐานขอมูลภูมิภาค
4. สงตอขอมูลใหสวนกลาง
5. จัดทำฐานขอมูลเครือขาย สภาเด็กและเยาวชน/สภานักเรียน/สภานักศึกษา เปนตน
6. ประสานงานคณะบริหาร ที่ปรึกษา คณะทำงาน เครือขาย
7. ประชาสัมพันธกิจกรรม โครงการของสภาเด็กและเยาวชนและเครือขาย
ขั้นตอนในการทำงาน
1. ประชุมชี้แจงรายละเอียด/แบงหนาที่ในการทำงาน
2. รับขอมูลที่ครบถวนพรอมสงตอ
3. สงตอขอมูลไปยังกลุมเปาหมาย (ออนไลนและสงหนังสือ)
4. ติดตามงาน/สอบถาม/กำหนดวันรับขอมูลกลับ
5. รับขอมูลจากกลุมเปาหมาย
6. วิเคราะหขอมูล/ตรวจสอบความถูกตองและครบถวนของขอมูล
7. สงตอขอมูลใหสวนกลาง
8. กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงขอมูลตองรีบแจงไปยังกลุมเปาหมาย
ขอควรระวัง !!
1. สภาเด็กฯ ไมไดจัดทำเอกสารดวยตนเอง เจาหนาที่เปนคนทำขอมูลตองขอขอมูล
จากคนอื่น
2. ภาคไมไดเปนคนประสานงานเอง
3. การชี้แจงวัตถุประสงคงานไมชัดเจน
4. รูปแบบการจัดงานไมแนนอน/ขอมูลไมตรงกัน
5. การติดตอประสานงานเรงดวนเกินไป
6. กระจายขอมูลไมทั่วถึง หนังสือชา สงหนังสือออนไลนแลวไมมีการพิมพออกมา
34
35
วิธีการประสานงานแบบ
EFFECTIVE
ลองมา CHECK ดู
มีเวลาในการจัดเตรียมงาน
มีขอมูลและวัตถุประสงคงานชัดเจนและครบถวน
กำหนดวันจัดงานที่ชัดเจน
มีการประชุมติดตามงานอยางตอเนื่อง
ระบุกลุมเปาหมายชัดเจน ไมคลาดเคลื่อน
มีการรวบรวม/สงตอขอมูลผานระบบสื่อสารออนไลน
มีระบบรับ – สงเอกสาร/จดหมายอิเล็กทรอนิกส
มีการประชุมเตรียมการมากกวา 2 ครั้ง/งาน
มีการสะทอนผลการทำงานในแตละตัวบุคคล
มีการแบงสัดสวนคณะทำงาน และกำหนดหนาที่/สัดสวนการทำงาน
ของแตละบุคคลอยางชัดเจน
มีการ check วาคณะทำงานรูหนาที่ของตัวเองชัดเจน
มีการวางแผนงานที่รอบคอบ
การกำหนดหนาที่การทำงานใหเขากับตัวบุคคล
เพิ่มชองทางในการติดตอสื่อสารใหสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น
สภาเด็กฯ ควรรับผิดชอบงานดวยตัวเองมากขึ้นและมีอำนาจในการตัดสินใจ
คณะทำงานรับขอมูลขาวสารที่ตรงกัน
36
ฝายการจัดประชุม
Things to do list.
ในการจัดการประชุมแตละครั้ง
จัดทำวาระการประชุม/จัดเตรียมอุปกรณในการประชุม
ประสานผูเขารวมประชุมใหเขารวมประชุมตามวัน เวลา
สถานที่ที่กำหนด
ประสานงานใหผูบริหาร สมาชิก คณะทำงานเขารวม
ประชุมตามที่ประธานมอบหมาย
แจงรายละเอียดวาระการประชุมกับประธานในการประชุม
บันทึกการประชุม
สรุปและจัดทำรายงานการประชุม
37
แบงงานตามฝายอยางชัดเจนเพื่อจัดทำวาระการประชุมตามฝายงาน
ประสานงานผูเขารวมการประชุม/สถานที่ลวงหนา
ควรมีการลงชื่อเขารวมงานลวงหนาเพื่อการจัดการที่งายขึ้น
ผูนำการประชุมและผูเขารวมรับฟงขอเสนอซึ่งกันและกัน
ผูนำการประชุมมีความเด็ดขาดและสามารถควบคุมการประชุมได
มีเปาหมายการประชุมที่ชัดเจน
ออกแบบการประชุม conference ผาน application ตาง ๆ เชน Line
ในกรณีที่กลุมเปาหมายอยูคนละที่
นัดหมายการประชุมลวงหนา
ผูเขารวมประชุมสนใจเนื้อหาและเขาใจประเด็นรวมกัน
สมาชิกเห็นความสำคัญของหนาที่ตนเอง
ปรับการบริหารจัดการใหกระชับและชัดเจน
ลดจำนวนกลุมเปาหมายใหพอดี
มีกระบวนการบริหารที่ดี
การเลือกกลุมเปาหมายในการประชุมแตละครั้ง ตองไดกลุมเปาหมาย
จากพื้นที่และประสบปญหาจริง
มีการตั้งแนวทางที่ชัดเจนกับการประชุมนั้น ๆ
มีการแจงเตือนในการเขารวมลวงหนา
เทคนิคในการทำงาน
ขอควรระวัง !!
1. ผูเขารวมประชุมเยอะเกิน ทำใหการประชุมไมมีประสิทธิภาพ
2. สถานที่เปนแบบเปด อาจทำใหเกิดสถานการณที่ไมสามารถควบคุมได
3. การชี้แจงวัตถุประสงคไมชัดเจน ทำใหไดกลุมเปาหมายไมตรง
4. ผูเขารวมประชุมพูดไมตรงประเด็น
38
ฝายการบริหารงบประมาณ
บทบาทหนาที่ความรับผิดชอบ
จัดทำบัญชีรายวัน (บันทึกรายรับ รายจาย)
ทำธุรกรรมการเงิน (ฝาก ถอน เช็ค เอกสารประกอบ)
ดูแลการเงินโครงการ เตรียมเอกสารการเงิน จัดทำ (ใบเสร็จ ใบสำคัญรับเงิน)
ตรวจสอบความถูกตองของเอกสาร และปดงบโครงการ (คืนเงิน)
จายเงินโครงการ
เครื่องมือ
เทคนิควิธีการ
ที่ชวยในการทำงาน
1. มีการวางแผนการเงินการบริหารจัดการโครงการวาโครงการใชเงินกี่บาทใชอะไรบาง
2. มีการแบงหมวดหมูเงินเพื่อสะดวกในการใชและกระจายความเสี่ยง (ปองกันการสูญหาย)
เวลานับเงินใสซองมีพยานบุคคลในการนับเงิน
3. ควรจัดทำใบสำคัญรับเงินอยางงาย จายเงินแบบเหมาจาย
4. ควรมีผูรับผิดชอบการเงินโดยตรง 2-3 คน
5. ทำบัญชีรายวัน (บันทึกรายรับ รายจาย) ระบบอิเล็กทรอนิกส
6. มีการบันทึกบัญชีดวยโปรแกรม Excel
7. มีระบบติดตามโครงการ
ขอควรระวัง !!
1. ตองจัดการเอกสารที่ซ้ำซอน ซึ่งมีจำนวนมาก
2. ผูรับผิดชอบจัดทำเอกสารการเงินไมดี
39
ขั้นตอนในการทำงาน
6. ดำเนินกิจกรรมตามระเบียบ
การเบิกจาย อาจมีแผนหลัก
และแผนสำรอง
5. กำหนด timeline ของแตละ
กิจกรรมและระบุงบประมาณ
ที่ตองใชแตละกิจกรรม/ชวง
(อาจมีการกำหนดแผน A
แผน B ไวสำรอง)
4. กำหนดผูรับผิดชอบ
โครงการ/กิจกรรมนั้น ๆ
3. วางแผนยอยโครงการ
เชน โครงการ ก ใชเงิน x บาท
โครงการ ข ใชเงิน X บาท
2. วางแผนจำนวนโครงการ
ปงบประมาณที่ไดทั้งหมด
และแบงตามสัดสวน
งบประมาณแตละโครงการ
1. วางแผนการดำเนินงาน
รวมกัน (แผนใหญ)
งบประมาณประจำปนั้น ๆ
งบภายใน + =งบภายนอก งบประจำป
40
41
NGOsกลุมเด็กและเยาวชน
�าทำความรูจักกับ
42
NGOsกลุมเด็กและเยาวชน
แมวา NGOs แตละกลุมจะมีจุดมุงหมายตางกัน
แตก็ยังมีบางโครงการที่ NGOs เหลานี้
ก็มารวมมือกับสภาเด็กและเยาวชน
เชน โครงการเยาวชนไทยหัวใจใสสะอาด
ที่มีสวนชวยสภาเด็กและเยาวชน
พัฒนาสังคมดวยพลังของเด็กไปพรอม ๆ กัน
มีหลากหลายดาน ดังนี้
ดานเอดส เพศศึกษา
ดานการปองกันและแกไขปญหาสิ่งเสพติด
ดานสุขภาพกาย สุขภาพจิต
ดานการศึกษา
ดานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น
ดานสิทธิเด็กและสิทธิมนุษยชน
ดานการเมืองและประชาธิปไตย
ดานสื่อ และดานการคุมครองผูบริโภค
ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และพลังงาน
ดานการทองเที่ยว กีฬาและนันทนาการ
ดานชนเผาและชาติพันธุ
ดานคนพิการ ดานผูดอยโอกาสและผูสูงอายุในสภาวะยากลำบาก
ดานการทำงานกับเด็กและเยาวชนในกระบวนการยุติธรรม
ดานการลดความรุนแรงและการใชสันติวิธี
ดานเกษตรกรรมและพัฒนาอาชีพ
ดานชุมชนและชุมชนแออัด
ดานเครือขายสภานักเรียน องคการนิสิต นักศึกษา
ดานเพศวิถี และดานอื่น ๆ
43
ชมรมนี้มุงเผยแพรพระพุทธศาสนาผานกิจกรรม “ธรรมสัญจร” ที่นำพระธรรม คำสอน
ทางพระพุทธศาสนาไปพัฒนาชุมชน กิจกรรม “ธรรมอาสา” ที่เขาไปชวยเหลือคนที่ขาดแคลน
คนชายขอบ หรือผูประสบภัยพิบัติตาง ๆ ที่ตองการความชวยเหลือ นอกจากนี้ชมรมยัง
ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาและอนุรักษวัฒนธรรมประเพณีใหอยูคูชุมชนตอไป เชน ทอดเทียนพรรษา
ทอดกฐิน ทอดเทียนโฮม ที่จัดทุก ๆ ป
มาทำความรูจักกับกลุม NGOs ของเด็กและเยาวชนบางสวน
วามีใคร ทำอะไรกันอยูบาง ?
ใหความรูรัฐศาสตรและรัฐศาสนศาสตร x เวทีแลกเปลี่ยนทางการเมือง
สงเสริมคุณธรรม x ปลูกฝงจิตอาสา x รักษาวัฒนธรรม
สานสัมพันธระหวางเด็กและผูสูงอายุที่อยูตามลำพัง
กลุมภูมิฝน | NGO ดานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น
ชมรมวาทศิลป มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน
| NGO ดานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น
ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา x รักษาวัฒนธรรมทองถิ่น
กลุมรัฐประสาน | NGO ดานการเมืองและประชาธิปไตย
กลุมพุทธรักษา | NGO ดานคนพิการ ดานผูดอยโอกาสและผูสูงอายุ
ในสภาวะยากลำบาก
กลุมพุทธรักษาพบวายังมีผูสูงอายุอีกมากที่ตองอยูบานคนเดียว ดูแลตนเอง
ตามลำพัง บางก็เกิดความเหงาจนเปนโรคซึมเศรา กลุมพุทธรักษาจึงเขามาเปนผูเขามา
ชวยเหลือผูสูงอายุกลุมนี้ ดวยกิจกรรมจิตอาสานำพาชุมชนและกิจกรรมสรางความสุขสันต
ผูกพันผูสูงอายุที่นำเด็กและเยาวชนไปรวมทำกิจกรรมกับผูสูงอายุสรางความสุข
ความผูกพันระหวางกัน และแกไขปญหาผูสูงอายุที่ถูกทอดทิ้งใหอยูตามลำพัง
กลุมรัฐประสานเปนกลุมที่มุงเนนเรื่องการเพิ่มความรูทางรัฐศาสตร รัฐประศาสนศาสตร
ใหแกเด็กและเยาวชน ผานคายตาง ๆ เชน คายคิดเองทำเอง คายผูนำธรรมาภิบาล
ซึ่งนอกจากจะไดความรูจากวิทยากรแลว เด็กและเยาวชนสามารถแลกเปลี่ยนความรูกันใน
คายไดอีกดวย และยังมีการแขงขันที่ใหเด็กและเยาวชนไดฝกฝนความรูเกี่ยวกับรัฐศาสตร
และรัฐประศาสนศาสตร นอกจากมุงเนนเรื่องความรูแลว กลุมรัฐประสานยังเปนเวที
แลกเปลี่ยนทางการเมืองใหผูเขารวมแลกเปลี่ยนมุมมองกันไดเต็มที่
กลุมภูมิฝนมุงเนนพัฒนาเด็กและเยาวชนหลากหลายดาน ทั้งสงเสริมเรื่องคุณธรรม
จริยธรรมผานโครงการสามเณรภาคฤดูรอนที่ทำใหเด็ก ๆ ที่เขารวมเกิดความตระหนักและ
นำขอคิดดี ๆ ไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ยังสงเสริมการรักษาวัฒนธรรมทองถิ่นและ
ภูมิปญญาทองถิ่นผานโครงการพลังเยาวชนภาคตะวันออก จ.สมุทรสงคราม ที่ทำใหเด็ก ๆ
รูจักภูมิปญญานาเกลือของจังหวัดสมุทรสงคราม อีกทั้งกลุมภูมิฝนยังปลูกฝงจิตอาสาใหเด็ก
และเยาวชนดวยการชวนไปชวยงานโครงการตาง ๆ เชน โครงการสงเสริมความสำคัญใน
ดานพระพุทธศาสนา โครงการสังคมศึกษาวิชาการ ครั้งที่ 2 เปนตน
ที่ปรึกษา
44
ที่ปรึกษาเปนกลไกสงเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน
แหงประเทศไทย รวมถึงสภาเด็กและเยาวชนในทุก ๆ ระดับโดย ทำหนาที่ติดตาม กำกับดูแล
สรุปผลเปนขอเสนอแนะตอการทำงาน รวมถึงใหคำปรึกษาและขอเสนอแนะเมื่อมีปญหาอุปสรรค
หรืองานที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน ถายทอดองคความรูและแนวทางการทำงาน
ของสภาเด็กและเยาวชน และประสานทรัพยากรใหการทำงานของสภาเด็กและเยาวชนบรรลุ
เปาหมาย
ผูชวยที่คอย...
ใหคำปรึกษา
เสนอเเนะการดำเนินงาน
และสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
คณะบริหารสภาเด็กที่ปรึกษาเปนผูชวยสำคัญในการทำงาน
45
โครงการจากสภาเด็กฯ
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย

More Related Content

What's hot

การตั้งค่า การตรวจสอบคำผิดใน Word
การตั้งค่า การตรวจสอบคำผิดใน Wordการตั้งค่า การตรวจสอบคำผิดใน Word
การตั้งค่า การตรวจสอบคำผิดใน Wordnirachazaza
 
แบบ ขย11 พิมพ์เอง
แบบ ขย11 พิมพ์เองแบบ ขย11 พิมพ์เอง
แบบ ขย11 พิมพ์เองTanita
 
หนังสือขอเขียนแบบโดม
หนังสือขอเขียนแบบโดมหนังสือขอเขียนแบบโดม
หนังสือขอเขียนแบบโดมprakasit srisaard
 
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6jupjeep
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์kanjana2536
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
ตัวอย่างหนังสือคำสั่ง
ตัวอย่างหนังสือคำสั่งตัวอย่างหนังสือคำสั่ง
ตัวอย่างหนังสือคำสั่งWoodyThailand
 
ใบผ่านงาน(certify)
ใบผ่านงาน(certify)ใบผ่านงาน(certify)
ใบผ่านงาน(certify)jiradech Pornnikom
 
แบบเที่ยว
แบบเที่ยวแบบเที่ยว
แบบเที่ยวNit Noi
 
ตัวอย่างหนังสือภายนอก
ตัวอย่างหนังสือภายนอกตัวอย่างหนังสือภายนอก
ตัวอย่างหนังสือภายนอกWoodyThailand
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldPa'rig Prig
 
เครื่องมือเกษตร
เครื่องมือเกษตรเครื่องมือเกษตร
เครื่องมือเกษตรBenjapron Seesukong
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Khwanruthai Kongpol
 
แผนที่ 8 local food (kaeng kae kai)
แผนที่ 8 local food (kaeng kae kai)แผนที่ 8 local food (kaeng kae kai)
แผนที่ 8 local food (kaeng kae kai)Teacher Sophonnawit
 

What's hot (20)

การตั้งค่า การตรวจสอบคำผิดใน Word
การตั้งค่า การตรวจสอบคำผิดใน Wordการตั้งค่า การตรวจสอบคำผิดใน Word
การตั้งค่า การตรวจสอบคำผิดใน Word
 
แบบ ขย11 พิมพ์เอง
แบบ ขย11 พิมพ์เองแบบ ขย11 พิมพ์เอง
แบบ ขย11 พิมพ์เอง
 
หนังสือขอเขียนแบบโดม
หนังสือขอเขียนแบบโดมหนังสือขอเขียนแบบโดม
หนังสือขอเขียนแบบโดม
 
สูตรปริมาตรทรงกลม
สูตรปริมาตรทรงกลมสูตรปริมาตรทรงกลม
สูตรปริมาตรทรงกลม
 
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
ตัวอย่างหนังสือคำสั่ง
ตัวอย่างหนังสือคำสั่งตัวอย่างหนังสือคำสั่ง
ตัวอย่างหนังสือคำสั่ง
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แนวข้อสอบ Pisa
แนวข้อสอบ Pisaแนวข้อสอบ Pisa
แนวข้อสอบ Pisa
 
ใบผ่านงาน(certify)
ใบผ่านงาน(certify)ใบผ่านงาน(certify)
ใบผ่านงาน(certify)
 
แบบเที่ยว
แบบเที่ยวแบบเที่ยว
แบบเที่ยว
 
P29496652011
P29496652011P29496652011
P29496652011
 
Drospirenone
Drospirenone Drospirenone
Drospirenone
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
ตัวอย่างหนังสือภายนอก
ตัวอย่างหนังสือภายนอกตัวอย่างหนังสือภายนอก
ตัวอย่างหนังสือภายนอก
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
 
เครื่องมือเกษตร
เครื่องมือเกษตรเครื่องมือเกษตร
เครื่องมือเกษตร
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
แผนที่ 8 local food (kaeng kae kai)
แผนที่ 8 local food (kaeng kae kai)แผนที่ 8 local food (kaeng kae kai)
แผนที่ 8 local food (kaeng kae kai)
 

Similar to คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย

Youth project documents
Youth project documentsYouth project documents
Youth project documentsworachak11
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑Kruthai Kidsdee
 
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารมุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารMr-Dusit Kreachai
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนsompriaw aums
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนNatda Wanatda
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี กรมกิจการเด็กและเยาวชน
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี กรมกิจการเด็กและเยาวชนLoadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี กรมกิจการเด็กและเยาวชน
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี กรมกิจการเด็กและเยาวชนนวพร คำแสนวงษ์
 
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยงมุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยงMr-Dusit Kreachai
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนjulee2506
 
พรบ.สภาเด็กและเยาวชน
พรบ.สภาเด็กและเยาวชนพรบ.สภาเด็กและเยาวชน
พรบ.สภาเด็กและเยาวชนatchariya kerdnongsang
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingWareerut Hunter
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียนtomodachi7016
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1tongsuchart
 

Similar to คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย (20)

ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]
 
ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]
 
Youth council
Youth councilYouth council
Youth council
 
Youth project documents
Youth project documentsYouth project documents
Youth project documents
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
 
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
 
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารมุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
Asean 007
Asean 007Asean 007
Asean 007
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี กรมกิจการเด็กและเยาวชน
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี กรมกิจการเด็กและเยาวชนLoadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี กรมกิจการเด็กและเยาวชน
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี กรมกิจการเด็กและเยาวชน
 
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยงมุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
 
บทที่ 17
บทที่ 17บทที่ 17
บทที่ 17
 
พรบ.สภาเด็กและเยาวชน
พรบ.สภาเด็กและเยาวชนพรบ.สภาเด็กและเยาวชน
พรบ.สภาเด็กและเยาวชน
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1
 

More from Influencer TH

Digital Resilience Workshop วิธีอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย
Digital Resilience Workshop วิธีอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยDigital Resilience Workshop วิธีอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย
Digital Resilience Workshop วิธีอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยInfluencer TH
 
โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshop
โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshopโลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshop
โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE WorkshopInfluencer TH
 
HROD Turnaround Visual Note
HROD Turnaround Visual NoteHROD Turnaround Visual Note
HROD Turnaround Visual NoteInfluencer TH
 
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILM
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILMSTORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILM
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILMInfluencer TH
 
HROD Turnaround Corporate Identity Guideline
HROD Turnaround Corporate Identity GuidelineHROD Turnaround Corporate Identity Guideline
HROD Turnaround Corporate Identity GuidelineInfluencer TH
 
Color Palettes HROD Turnaround
Color Palettes HROD TurnaroundColor Palettes HROD Turnaround
Color Palettes HROD TurnaroundInfluencer TH
 
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshop
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshopอบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshop
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning WorkshopInfluencer TH
 
Creative Active Learning Workshop Visual Note
Creative Active Learning Workshop Visual NoteCreative Active Learning Workshop Visual Note
Creative Active Learning Workshop Visual NoteInfluencer TH
 
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืนพัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืนInfluencer TH
 
A new you is coming! ตอน การสื่อสารเพื่อความสัมพันธ์ในครอบครัว
A new you is coming! ตอน การสื่อสารเพื่อความสัมพันธ์ในครอบครัวA new you is coming! ตอน การสื่อสารเพื่อความสัมพันธ์ในครอบครัว
A new you is coming! ตอน การสื่อสารเพื่อความสัมพันธ์ในครอบครัวInfluencer TH
 
A new you is coming! ตอน Social Life Balance
A new you is coming! ตอน Social Life BalanceA new you is coming! ตอน Social Life Balance
A new you is coming! ตอน Social Life BalanceInfluencer TH
 
A new you is coming! ตอน Game Detox
A new you is coming! ตอน Game DetoxA new you is coming! ตอน Game Detox
A new you is coming! ตอน Game DetoxInfluencer TH
 
A new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้า
A new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้าA new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้า
A new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้าInfluencer TH
 
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4n
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4nCreating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4n
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4nInfluencer TH
 
งานอาสาสมัครคืออะไร ?
งานอาสาสมัครคืออะไร ?งานอาสาสมัครคืออะไร ?
งานอาสาสมัครคืออะไร ?Influencer TH
 
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)Influencer TH
 
Pathum Youth against Drugs
Pathum Youth against DrugsPathum Youth against Drugs
Pathum Youth against DrugsInfluencer TH
 
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)Influencer TH
 
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชน
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชนVisual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชน
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชนInfluencer TH
 
Youth Camp UNICEF CI
Youth Camp UNICEF CIYouth Camp UNICEF CI
Youth Camp UNICEF CIInfluencer TH
 

More from Influencer TH (20)

Digital Resilience Workshop วิธีอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย
Digital Resilience Workshop วิธีอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยDigital Resilience Workshop วิธีอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย
Digital Resilience Workshop วิธีอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย
 
โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshop
โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshopโลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshop
โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshop
 
HROD Turnaround Visual Note
HROD Turnaround Visual NoteHROD Turnaround Visual Note
HROD Turnaround Visual Note
 
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILM
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILMSTORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILM
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILM
 
HROD Turnaround Corporate Identity Guideline
HROD Turnaround Corporate Identity GuidelineHROD Turnaround Corporate Identity Guideline
HROD Turnaround Corporate Identity Guideline
 
Color Palettes HROD Turnaround
Color Palettes HROD TurnaroundColor Palettes HROD Turnaround
Color Palettes HROD Turnaround
 
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshop
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshopอบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshop
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshop
 
Creative Active Learning Workshop Visual Note
Creative Active Learning Workshop Visual NoteCreative Active Learning Workshop Visual Note
Creative Active Learning Workshop Visual Note
 
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืนพัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
 
A new you is coming! ตอน การสื่อสารเพื่อความสัมพันธ์ในครอบครัว
A new you is coming! ตอน การสื่อสารเพื่อความสัมพันธ์ในครอบครัวA new you is coming! ตอน การสื่อสารเพื่อความสัมพันธ์ในครอบครัว
A new you is coming! ตอน การสื่อสารเพื่อความสัมพันธ์ในครอบครัว
 
A new you is coming! ตอน Social Life Balance
A new you is coming! ตอน Social Life BalanceA new you is coming! ตอน Social Life Balance
A new you is coming! ตอน Social Life Balance
 
A new you is coming! ตอน Game Detox
A new you is coming! ตอน Game DetoxA new you is coming! ตอน Game Detox
A new you is coming! ตอน Game Detox
 
A new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้า
A new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้าA new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้า
A new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้า
 
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4n
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4nCreating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4n
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4n
 
งานอาสาสมัครคืออะไร ?
งานอาสาสมัครคืออะไร ?งานอาสาสมัครคืออะไร ?
งานอาสาสมัครคืออะไร ?
 
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)
 
Pathum Youth against Drugs
Pathum Youth against DrugsPathum Youth against Drugs
Pathum Youth against Drugs
 
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)
 
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชน
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชนVisual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชน
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชน
 
Youth Camp UNICEF CI
Youth Camp UNICEF CIYouth Camp UNICEF CI
Youth Camp UNICEF CI
 

คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย

  • 2.
  • 3. สภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทยรวมกับกรมกิจการเด็กและเยาวชน ไดจัดทำ คูมือการทำงานของสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย เพื่อใหการดำเนินงาน ของสภาเด็กและเยาวชน เปนไปในทิศทางเดียวกัน เนื้อหาในคูมือฉบับนี้นับเปนสวนสำคัญ ของการบอกเลาสภาพขอเท็จจริงพรอมทั้งแนวทางและขอเสนอแนะตาง ๆ ที่หลายฝาย ควรนำไปศึกษาแกไขและปรับปรุงการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน สภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย ตองขอขอบคุณผูบริหารและเจาหนาที่ กรมกิจการเด็กและเยาวชน ที่ปรึกษาสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย คณะบริหาร สภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย สมาชิกสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย คณะทำงานสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย วาระ 2561-2563 และที่ขาดไมได คือองคกร Influence TH ที่มีสวนสำคัญอยางยิ่งในการจัดทำคูมือฉบับนี้ สภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทยหวังเปนอยางยิ่งวา คูมือการทำงาน ของสภาเด็กและเยาวชน ฉบับนี้จะชวยใหการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนในทุก ๆ ระดับดำเนินการไดเขมแข็งและเปนระบบ สงเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนในสังคมไทยสืบไป คำนำ สภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย
  • 4. สารบัญ (TIMELINE) ประวัติสภาเด็กและเยาวชน โครงสรางการบริหารงานสภาเด็กและเยาวชน กิจกรรมที่เกิดขึ้นระหวาง เดือนตุลาคม 2560 - เดือนกันยายน 2561 8 หนา ABOUT US 8 10 12 หนา 22 หนา 15 2. ตำแหนงรองประธานสภาเด็กและเยาวชน 1. ตำแหนงประธานสภาเด็กและเยาวชน 3. ตำแหนงเลขาธิการสภาเด็กและเยาวชน หน า 17 มาเรียนรูแตละบทบาทหนาที่ เทคนิคการทำงานและวิธีการกาวผาน ปญหา อุปสรรคของงานในสภาเด็กฯ กัน หนา 6 การทำงานสภาเด็กและเยาวชน บันทึกกอนเริ่มงาน... ตอนรับเขาสู...
  • 5. ที่ปรึกษาเปนผูชวยสำคัญในการทำงาน ที่ปรึกษา44 หนา การทำงานสภาเด็กและเยาวชน ฝายตางๆ ใน ฝายบริหาร ฝายนโยบายและเเผนงาน ฝายงาน EVENT ฝายประสานงาน ฝายการจัดประชุม ฝายการบริหารงบประมาณ หนา 24 26 28 30 34 38 36 NGOsมาทำความรูจักกับกลุม NGOs 40 หนา โครงการจากสภาเด็กฯ 45 หนา โครงการ “เมล็ดพันธุแหงความดี” โครงการ “ผลิตสื่อรณรงคประเด็นการพนัน ในชวงการแขงขันฟุตบอลโลก 2018” เวทีสิทธิเด็ก
  • 8. 8 พ.ศ. 2547 เยาวชนเสนอใหมีการจัดตั้ง สภาเด็กและเยาวชนแหงชาติ จัดตั้งสภาเด็กฯ 4 จังหวัด นำรอง เเตงตั้งสภาเด็กฯ ระดับจังหวัดครบ 75 จังหวัด แตงตั้งคณะกรรมการสภาเด็กฯ แหงประเทศไทยชุดเเรก กยช. ใหมีการจัดตั้ง สภาเด็กฯ ระดับจังหวัด ครบ 76 จังหวัด ผลักดัน รางพรบ. สงเสริมการพัฒนา เด็กและเยาวชน แหงชาติ พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2550 พ.ศ.2547 จากการสัมมนาวันเยาวชนแหงชาติ ประจำป 2547 เยาวชนไดเสนอความตองการ ใหมีการจัดตั้งสภาเด็กแหงชาติขึ้น เนื่องในวันเยาวชนแหงชาติ คณะกรรมการจัดงานวันเยาวชน แหงชาติ จึงมีมติใหสำนักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการและ ผูสูงอายุ (สท.) ปจจุบันเปลี่ยนเปนกรมกิจการเด็กและเยาวชน ดำเนินโครงการจัดใหมีสภาเด็กเเละ เยาวชนจังหวัดนำรอง ในป 2547 รวม 4 จังหวัด คือ จังหวัดเชียงราย สุรินทร ปราจีนบุรี และสตูล พ.ศ.2551 เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2551 ไดประกาศใชพระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาเด็ก และเยาวชนแหงชาติ พ.ศ.2550 โดยใหสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ของทุกจังหวัด จัดใหมีสภาเด็กและเยาวชนระดับอำเภอ จำนวน 878 อำเภอ และระดับจังหวัด 76 จังหวัด และใหสำนักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการและผูสูงอายุ (สท.) จัดใหมีสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร และสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย ภายใตหลักการ “เด็กนำ ผูใหญหนุน” โดยคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนไดดำเนินการตาม บทบาทหนาที่อยางตอเนื่อง พ.ศ.2550 มีการผลักดัน รางพระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ พ.ศ. .... และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2550 พ.ศ.2549 มีนาคม 2549 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยไดเเตงตั้ง สภาเด็กและเยาวชนระดับจังหวัดครบทั้ง 75 จังหวัด ยกเวนกรุงเทพมหานคร ที่ไดมีการแตงตั้ง แลวตามระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยสภาเยาวชนกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 เพื่อใหมี การเชื่อมโยงเครือขายเยาวชนสูระดับชาติ จนกระทั่งวันที่ 27 ตุลาคม 2549 ไดมีการแตงตั้ง คณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย พ.ศ.2548 ตอมาคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานเยาวชนแหงชาติ ไดสานตอนโยบาย โดยมอบใหกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยขยายผลการจัดใหมีสภาเด็กและ เยาวชนครบทั้ง 76 จังหวัด ภายในป 2549 ในหลักการ “เด็กนำ ผูใหญหนุน” พรอมจัดสรร งบประมาณใหทุกจังหวัดดำเนินการ ABOUT US
  • 9. ที่มา : แนวทางการจัดใหมีสภาเด็กและเยาวชน ตามพระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนา เด็กและเยาวชนแหงชาติ พ.ศ. 2550 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 9 ประวัติสภาเด็กฯ ป 2547 - ป 2560 TIMELINE พ.ศ. 2560 ประกาศใชพรบ.สงเสริมการ พัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ แตงตั้งสภาเด็กฯ ระดับอำเภอ แตงตั้งสภาเด็กฯ ระดับตำบล ประกาศใชพรบ.สงเสริมการ พัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 เสนอปรับแกไข พรบ. สงเสริมการพัฒนาเด็ก และเยาวชนแหงชาติ พ.ศ.2550 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2559พ.ศ. 2551 พ.ศ.2553 คณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ มีมติใหองคกรปกครอง สวนทองถิ่นสนับสนุนใหมีการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนในระดับตำบล เพื่อสงเสริมและสนับสนุน ใหเด็กและเยาวชนของทองถิ่นไดมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมที่เปนประโยชนตอสังคม และเปนแกนนำในการทำกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนรวมทั้งใหขอเสนอเเนะ แสดงความคิดเห็นในการพัฒนาเด็กและเยาวชนในทองถิ่น ซึ่งพบวามีการจัดใหมีสภาเด็ก และเยาวชนตำบลกวา 5,000 แหง พ.ศ.2559 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย และคณะอนุกรรมาธิการ กิจการเด็กและเยาวชน ในคณะกรรมาธิการสังคม กิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอายุ คนพิการ และผูดอยโอกาส สภานิติบัญญัติแหงชาติ ไดเสนอปรับแกไขพระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนา เด็กและเยาวชนแหงชาติ พ.ศ. 2550 มีการเพิ่มเติมองคประกอบของคณะกรรมการสงเสริม การพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ (กดยช.) และการกำหนดใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น สงเสริมและสนับสนุนใหมีสภาเด็กและเยาวชนตำบล สภาเด็กและเยาวชนเทศบาล รวมทั้งให กรุงเทพมหานครสงเสริม สนับสนุน และประสานงานการจัดใหมีและดำเนินกิจการของสภาเด็ก และเยาวชนเขต และสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ตลอดจนใหกรมกิจการเด็กและ เยาวชนสงเสริม สนับสนุน และประสานงานการจัดตั้งและการดำเนินกิจการของสภาเด็กและ เยาวชนทุกระดับ พ.ศ.2560 พระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2560 และหลังจากพระราชบัญญัติ ฉบับดังกลาวมีผลบังคับใช กรมกิจการเด็กและเยาวชนจึงไดกำหนดใหวันที่ 9 กันยายน 2560 เปนวันที่ใหมีการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนตำบล สภาเด็กและเยาวชนเทศบาล ขึ้นพรอมกัน ทั่วประเทศ จากความเปนมาดังกลาวขางตน สภาเด็กและเยาวชนเปนกลไกของเด็กและเยาวชน ตามกฏหมายที่มีโครงสรางเชื่อมโยงกันทั่วประเทศอยางเปนระบบ เพื่อสงเสริมการมีสวนรวมใน การพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมตลอดจนรวมปองกันแกไขปญหาที่มีผลกระทบตอเด็กและเยาวชน
  • 10. 10 ABOUT USโครงสรางการบริหารงานสภาเด็ก และเยาวชนแหงประเทศไทย รองประธานสภาฯ ฝายยุทธศาสตร และแผนงาน รองประธานสภาฯ ฝายสงเสริม การพัฒนา และสวัสดิการ รองประธานสภาฯ ฝายคุมครองเด็ก และเยาวชน รองประธานสภาฯ สวนภูมิภาค ผูชวย ประธานสภา รองเลขาธิการ 1 รองเลขาธิการ 2 รองเลขาธิการ 3 โฆษกรองโฆษก เลขาธิการเหนือใตกลางตะวันออกเฉียงเหนือกลุมเด็กและเยาวชนเลขานุการ ประธานสภาฯ สำนัก เลขาธิการ กลุมยุทธศาสตร และแผนงาน กลุมสงเสริม การพัฒนา และสวัสดิการ กลุมคุมครอง เด็กและเยาวชน กลุมตรวจการ และ การประเมินผล กลุมสารสนเทศ และ การประชาสัมพันธ กลุมประสานงาน และเลขานุการ ระดับชาติ ประธานสภาเด็กและเยาวชน แหงประเทศไทย ที่ปรึกษาสภาเด็ก และเยาวชน ควบคุมดูแลการบริหารงาน กำกับดูแลการบริหารงาน
  • 11. โดยใหประธานสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดในภาคนั้น ๆ คัดเลือกกันเอง แลวเสนอชื่อตอที่ประชุมสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย ประธานสภาเด็ก และเยาวชนภาค กลุมเด็กและเยาวชน ประธานกลุมเด็กและเยาวชนคัดเลือกกันเองจากกลุมเด็กและเยาวชน แลวเสนอชื่อตอที่ประชุมสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย รองประธานสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย มาจากผูบริหารที่ ประธานสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทยคัดเลือก จำนวน 3 คน 11 การเลือกคณะบริหาร แหงประเทศไทย สภาเด็กและเยาวชน คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน แหงประเทศไทย 26 คน มาจาก การคัดเลือกกันเองในสัดสวนของภูมิภาค ตามขอ 27 ของขอบังคับสภาเด็กและ เยาวชนแหงประเทศไทย พ.ศ. 2560 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 ดังนี้ ประธานสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย 1 คน ผูบริหารจากสัดสวนสภาเด็กและเยาวชนภาคเหนือ 4 คน ผูบริหารจากสัดสวนสภาเด็กและเยาวชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4 คน ผูบริหารจากสัดสวนสภาเด็กและเยาวชนภาคกลาง 6 คน ผูบริหารจากสัดสวนสภาเด็กและเยาวชนภาคใต 3 คน ผูบริหารจากสัดสวนกลุมเด็กและเยาวชน 8 คน การคัดเลือกรองประธานสภาเด็ก และเยาวชนแหงประเทศไทย รองประธานสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย เปนไปตามขอ 28 ของ ขอบังคับสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย พ.ศ. 2560 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 จำนวน 8 คน ประธานสภาเด็กและเยาวชนภาคเหนือ ประธานสภาเด็กและเยาวชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประธานสภาเด็กและเยาวชนภาคกลาง ประธานสภาเด็กและเยาวชนภาคใต ประธานสภาเด็กและเยาวชนภาคกลุมเด็กและเยาวชน
  • 12. 12 ระหวางเดือน ตุลาคม 2560 - กันยายน 2561 พฤศจิกายน 60 ตุลาคม 60 เมษายน 61 เปดพื้นที่สรางสรรค “Youth of the king“ เสนอปญหาของเด็กและเยาวชน สูการทำแผนนโยบาย “เวทีสิทธิเด็ก” สมัชชาการมีสวนรวม เพื่อใหสภาเด็กฯ และเครือขายไดแลกเปลี่ยนประสบการณ ในการทำงานและหาเเนวทางใน การทำงานรวมกัน ประชุมรับฟงแลกเปลี่ยนปญหาการตั้งครรภ ในวัยรุน ประชุมติดตามการจัดทำเลม CRC Report สรางแกนนำ Gen Z Strong เพื่อขับเคลื่อนงานดานการปองกันบุหรี่ เลือกตั้งประธานและคณะบริหารสภาเด็กฯ กำหนดแผนการดำเนินงาน และการขับเคลื่อนงานตาง ๆ ของสภาเด็กฯ เลือกตั้งคณะกรรมการสงเสริมการพัฒนา เด็กและเยาวชนแหงชาติ เลือกตั้งผูแทนในการทำงาน ดานการตั้งครรภ สมัชชาการศึกษา เพื่อรับฟงปญหา และรวบรวมขอคิดเห็นตาง ๆ ของเด็ก เเละเยาวชนดานการศึกษาทั่วประเทศ ประชุมหารือเรื่องการพนันออนไลน จัดกิจกรรมวันเด็กแหงชาติ ธันวาคม 60 �กราคม 61 กุมภาพันธ  61 คัดเลือกคณะทำงาน ประชุมสมาชิกสภาเด็กและเยาวชน เเหงประเทศไทย เพื่อแจงการปฎิบัติงาน และรับฟงปญหาในการทำงาน งานมหกรรมเสริมสรางสุขภาพ เพื่อเพิ่ม ทักษะทางสุขภาพใหกับเด็กและเยาวชน วางแผนขับเคลื่อนกลไกการใชสื่อ ปลอดภัยและสรางสรรค ประชุมเรื่องตั้งครรภ เพื่อหาแนวทาง การปองกันและเเกไขการตั้งครรภ ไมพรอมในวัยรุน ประชุมเรื่องวันเยาวชนแหงชาติ เพื่อกำหนด แนวทางรูปแบบการจัดงาน เพื่อประสาน ความรวมมือจากทุกภาคสวน ประชุมจัดทำแผนการดำเนินงานดาน SDGs เพื่อใหเด็กและเยาวชนรวมกันขับเคลื่อน การพัฒนาที่ยั่งยืนทั้ง 17 เปาหมาย ผานสภาฯ จังหวัด นิทรรศการเรียนรูเด็กประถม สมัชชาการศึกษาภาคเหนือ ทำ MOU เรื่องการพนันออนไลน ยื่นหนังสือเรื่องการพนันใหรองนายกรัฐมนตรี @ทำเนียบรัฐบาล ประชุมเรื่องงาน SIY เพื่อรวมกันหารูปแบบ การทำงานหรือการมีสวนรวมระหวางอปท. และเด็กและเยาวชน เตรียมความพรอมการทำหนังสั้นการพนัน ประชุมกำหนดแนวทางการจัดงาน วันเยาวชนแหงชาติ �ีนาคม  61 ABOUT US กิจกรรมที่เกิดขึ้น
  • 13. 13 กันยายน 61 พฤษภาคม 61 ประชุมคณะบริหารฯ เพื่อทำแผนการทำงาน และมอบหมายงานใหประธานภูมิภาค ทำขอมูลการทำงานและแนวทางการทำงาน รวมงานปดเทอมสรางสรรค (สสส.) ทำขอตกลง และขอการสนับสนุน จากหนวยงานรัฐเพื่อปองกันเรื่องการพนัน ออนไลนตอนบอลโลก ประชุม Unicef และการคัดกรองการตั้งครรภ ประชุมสภาเด็ก 4.0 หารือรวมกับสสส. เพื่อใหเกิด Platform online คาย SIY เพื่อหานวัตกรรมใหชุมชนไดมี สวนรวมในการพัฒนาสภาเด็กและเยาวชน ในชุมชน งานแถลงขาวเปดตัวหนังสั้นเรื่องการพนัน รวมงานไทยนิยมยั่งยืน @ทำเนียบรัฐบาล เวทีฟงเสียงประชาชนเพื่อรางพรบ.จราจร สรางเครื่องมือในการทำงานใหความเขาใจ เรื่องเพศศึกษาและอนามัยการเจริญพันธุ ประชุมติดตามการขับเคลื่อนงาน ดานการตั้งครรภ หนังสั้น “ขาวพนัน” เปดตัวหนังสั้นรณรงค และสรางความตระหนักถึงภัยของการพนัน นิเทศการดำเนินงานสภาเด็กฯ จังหวัดเชียงราย แมฮองสอน จันทบุรี ภาคอีสาน ภาคเหนือ กทม. สตูล ยะลา ปตตานี นราธิวาส เพื่อทราบถึงปญหาการทำงานของสดย. ทุกจังหวัด และเเนะนำการทำงานใหกับนอง ๆ ประชุม ICE สรางสังคมการเรียนรูของสังคม พหุวัฒนธรรมใหสามารถอยูรวมกันไดอยาง สงบสุข ลงพื้นที่ SIY ภาคกลาง และภาคเหนือ เผยเเพรสื่อรณรงคเรื่องการพนัน 5 จังหวัด เผยเเพรผลงานของเด็กและเยาวชนในงาน Thailand Social Expo สมัชชาการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ เพื่อเก็บประเด็นปญหาดานเด็กและเยาวชน มาวิเคราะหเพื่อหาแนวทางการแกไขปญหา เเละเสนอเปนนโยบายตอไป สมัชชาเด็กและเยาวชนแหงชาติ เพื่อเก็บ ประเด็นปญหาดานเด็กและเยาวชน เพื่อวิเคราะหและผลักดันเสนอเปนนโยบาย Expo พม. จัดแสดงผลงานและศักยภาพ ของสภาเด็กและเยาวชนใหสาธารณะชน ไดรับรู งาน SIY (Social Innovation and Youth) ASEAN Youth Forum งานเเลกเปลี่ยน และสรางนวัตกรรมทางสังคมรวมกัน ของเยาวชนอาเซียน สมัชชาภาคเหนือ สมัชชาชนเผา เพื่อเก็บประเด็นปญหา ของชนเผาทั่วประเทศ หาขอเสนอเพื่อกำหนด แนวทางนโยบายในการแกไขปญหา ประชาสัมพันธงานเยาวชนแหงชาติ สมัชชาเด็กและเยาวชนอีสาน วันเยาวชนแหงชาติ เปนพื้นที่สรางสรรค ใหเด็กและเยาวชนรูจักการทำงาน ถอดบทเรียนการทำงานของสภาเด็ก เพื่อสรางแบบแผนคูมือการทำงานในวาระตอไป พบสภานิติบัญญัติแหงชาติ เพื่อใหกำลังใจ คณะกรรมาธิการสังคมที่ขับเคลื่อนกฎหมาย เพื่อเด็กและเยาวชน แถลงขาววันเยาวชนแหงชาติ เพื่อประชาสัมพันธและเชิญชวนมา รวมงานวันเยาวชนแหงชาติ อนุสมัชชาการพัฒนาเด็กและเยาวชน เพื่ออนุมัติเเละเตรียมการจัดงาน ประชุมหารือเรื่องการปกปองคุมครองเด็ก จาก E-Sport ถอดบทเรียนและสรุปการดำเนินงาน เรื่องพนัน �ิถุนายน 61 สิงหาคม 61 กรกฎาคม  61
  • 15. 15 บทบาทหนาที่ การเตรียมตัว ความทาทาย ในการทำงาน ประธานสภาเด็กและเยาวชน แหงประเทศไทย ตำแหนง บริหารงานโดยภาพรวมของสภาเด็กและเยาวชน เปนประธานในที่ประชุม ตัวแทนเขารวมประชุมทั้งในและตางประเทศ เกี่ยวกับ การพัฒนาเด็กและเยาวชนทั้งหมด กำหนดยุทธศาสตรและกรอบแนวทางการดำเนินงาน ในแตละปงบประมาณ ตั้งคณะกรรมการชุดตาง ๆ ในเรื่องเด็กและเยาวชนที่ไมมี บุคลากรที่มีความรูเฉพาะดาน ตามมติที่ประชุม ประสานงานระหวางองคกรเพื่อใหเกิดการทำงานรวมกัน วางโครงสรางการบริหารงานของสภาเด็กและเยาวชน แหงประเทศไทย ความหลากหลายของคนในการทำงาน คณะทำงานที่อยูในพื้นที่กรุงเทพมีจำนวนนอยทำใหตอง หาคนทำงานเพิ่ม การบริหารจัดการเวลาของคนในทีม การบริหารจัดการอารมณจากภาวะความกดดัน และความคาดหวังจากสวนตาง ๆ ที่เขามา การจัดอารมณ พรอมรับฟงทุกคน ทุกปญหา ความรูเกี่ยวกับกฎหมาย, ของสภาเด็กและเยาวชน, แนวนโยบายตาง ๆ ของรัฐบาลที่ออกมาในยุคนั้น ๆ ทักษะการคิด วิเคราะห สังเคราะหขอมูล และการจับประเด็น ทักษะการเขาสังคม การสื่อสาร ประสานงาน ไหวพริบ การแกไขปญหาเฉพาะหนา ทักษะการแสวงหาความรู และการเรียนรูตลอดเวลา การประชุมในประเทศไทย : กดยช., อนุกรรมการสมัชชา, อนุกรรมการ เกี่ยวกับนโยบายตาง ๆ เปนตน การประชุมระดับประเทศ : ผูนำ เด็กและเยาวชน อาเซียน, SDGs, youth forum เปนตน ชี้แจง ตอบขอสงสัยเกี่ยวกับเรื่องสภาเด็ก
  • 17. มี 3 ฝาย ตอไปนี้ 1. รองประธานฝายสงเสริมการพัฒนาและสวัสดิการ 2. รองประธานฝายคุมครองเด็กและเยาวชน 3. รองประธานฝายยุทธศาสตรและแผนงาน 17 รองประธานสภาเด็กและเยาวชน แหงประเทศไทย (สวนกลาง) ตำแหนง
  • 18. 18 รองประธานฝายสงเสริม การพัฒนาและสวัสดิการ ภาระงานที่ตองรับผิดชอบ มีทั้งหมด 4 ดาน ไดเเก 2. สวัสดิการเด็กและเยาวชน รวบรวม วิเคราะหขอมูล รวมถึงขอเสนอตอการจัดสวัสดิการเด็กและเยาวชน ประสานใหความชวยเหลือสถานการณฉุกเฉิน สถานการณภัยพิบัติ ดานเงินสนับสนุนชวยเหลือในพื้นที่ เชน น้ำทวม 1. กิจการสภาเด็กฯ และงานพัฒนาเด็กและเยาวชน สงเสริมสนับสนุนการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนทุกระดับตาม พรบ. สงเสริมพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน และเปนวิทยากรกระบวนการการพัฒนา ศักยภาพเด็กและเยาวชนตามการรองขอของหนวยงานตาง ๆ สงเสริมพัฒนาความเขมแข็งของเครือขายเด็กและเยาวชน จัดสมัชชาเด็กและเยาวชน ตั้งแตกระบวนการรวบรวมประเด็น สถานการณ ในระดับพื้นที่ ระดับภูมิภาค และระดับชาติ จัดใหมีการรับฟงความคิดเห็น รับรองมติที่ประชุมและจัดทำเปนขอเสนอ กดยช. เพื่อขับเคลื่อนตอไป 3. ความรวมมือระหวางประเทศ สรรหาและจัดสรรบุคคลเขารวมงานระหวางประเทศ ติดตาม และรายงานประเมิน ผลการแลกเปลี่ยนระหวางประเทศ ศึกษาขอมูล วิเคราะหสถานการณ ผลกระทบการพัฒนาเด็กและเยาวชน ระดับนานาชาติ 4. สื่อสารองคกร/ประชาสัมพันธ ชี้แจงรายละเอียด ใหขอมูลองคกร การดำเนินงานแกหนวยงานที่เกี่ยวของ จัดงาน เขารวมงานที่ไดรับเชิญหรือรองขอ สื่อสารขอมูลใหกับคณะทำงาน เด็กและเยาวชนทั่วไป เขียนขาว หมายขาว ขอความประชาสัมพันธสื่อออนไลน ออกบูธประชาสัมพันธองคกรหรือประเด็นเฉพาะ
  • 19. 19 ความรู ความพรอมที่จะเรียนรูเรื่องสวัสดิการเด็ก และการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชน ตาม พรบ. ความสามารถในการสืบคนขอมูล และการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนที่เนน การมีสวนรวมของเด็กและเยาวชน ทัศนคติที่ดีในการทำงานรวมกับเด็กเเละเยาวชน ความชอบในการประสานงานรวมกับหนวยงานตาง ๆ ไมหยุดในการเรียนรู และพัฒนาตัวเอง การสื่อสารภาษาอังกฤษ การเตรียมตัวในการทำงานตำแหนงนี้ ตองมี 1. ในการประสานงานระหวางองคกร ถาขอมูลไมชัดเจน จะทำใหการสงตอขอมูล ไมมีประสิทธิภาพและเกิดความเขาใจผิด 2. เด็กและเยาวชนสวนใหญขาดทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษทำใหเสียโอกาส การเขารวมแลกเปลี่ยนเวทีนานาชาติ 3. ปญหาการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนระดับตำบล อำเภอ เจาหนาที่ขาดความรู ความเขาใจ มีระยะเวลากระชั้นชิด และงบประมาณไมเอื้อตอการทำงานบางพื้นที่ 4. คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนไมมีอยูจริง มีชื่อแตไมไดทำงาน หรือเปลี่ยน ที่อยูทำใหไมมีคนทำงานในพื้นที่ ปญหาอุปสรรคและความทาทายในการทำงาน
  • 20. รองประธานฝายคุมครอง เด็กและเยาวชน 2 สวน ไดเเก�ีงานที่ตองรับผิดชอบ 1. งานดานการคุมครองและพิทักษสิทธิ เก็บขอมูลและใหขอมูล สถิติที่เกี่ยวของเรื่องการคุมครองและพิทักษสิทธิเด็กและ เยาวชน ประสานสงตอขอมูลใหหนวยงานที่เกี่ยวของ ประสานสงตอผูใชบริการ (Case) ปองกัน แกไขปญหาปจจัยเสี่ยง จัดงานและเขารวมงานรณรงคการคุมครองเด็ก และการพนัน 2. งานดานบริหารงานกองทุนคุมครองเด็ก บริหารจัดการโครงการ เขียนโครงการ พิจารณาโครงการ และประสานงานกองทุน ตองเขาใจความหลากหลายของเด็กในมิติตาง ๆ เชน ชาติพันธุ ศาสนา และขอจำกัด เปนตน มีความรูความเขาใจและพรอมที่จะเรียนรูเรื่องอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก เชน พรบ.คุมครองเด็กฯ พรบ.สงเสริมฯ พรบ.ตั้งครรภฯ พรบ.สื่อออนไลนฯ เปนตน ชอบทำงานดานการเก็บขอมูล และงานดานขอมูลตาง ๆ มีใจที่อยากพัฒนาเด็กและเยาวชนใหมีชีวิตที่ดีขึ้น ตามที่เขาตองการ มีทักษะในการประนีประนอมและสามารถจัดการความขัดแยงได ระวังเรื่องการละเมิดสิทธิเด็ก เชน การถายรูป การเผยเเพรรูปภาพ และการเขียนขาวที่เกี่ยวของกับเด็ก การทำงานอยูบนความหลากหลาย ของกลุมเปาหมาย ที่มีความตองการพิเศษ มีความขัดแยง จึงตองใชทักษะ การประนีประนอมและการจัดการความขัดแยง การเตรียมตัว สำหรับคนที่สนใจทำงา�นี้ คือ ประเด็นพึงระวังในการทำงานดา�นี้ !! 20
  • 21. รองประธานฝายยุทธศาสตร และแผนงาน การเตรียมตัว ความทาทายในการทำงาน บทบาทหนาที่ ดูแลแผนสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย ดูแลเรื่องการเงินในเฉพาะสวนของโครงการเทานั้น ไมเกี่ยวของกับการบริหารจัดการ ทางการเงินในภาพรวมของฝายการเงิน ดูแลยุทธศาสตร และโครงการ สดย.ท. มีความสอดคลองกับยุทธศาสตรใดบาง ตามแผนของกรมกิจการเด็กและเยาวชน แผนการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ เขาไปรวมรับฟงแผนยุทธศาสตรจากหนวยงานภายนอก เชน ยุทธศาสตรชาติ 20 ป ดูเกี่ยวกับวิชาการ นิเทศติดตามงาน วางแผนการลงพื้นที่ของสภาเด็กและเยาวชนทั่วประเทศ คูมือการนิเทศ การดำเนินงาน ที่สอดคลองกับมาตรฐานสภาเด็กฯ โครงการเมล็ดพันธุแหงความดี การทำงานที่เเขงกับเวลา เพราะถาทำงานลาชาจะมีผลตอการอนุมัติงบประมาณ หรือการดำเนินงานตาง ๆ การติดตอประสานงานที่ตองชัดเจน แมนยำ ความไมเขาใจในบทบาทหนาที่ ที่จะทำใหเราทำงานไมมีประสิทธิภาพ ความไมชัดเจนเรื่องการบริหารงบประมาณ และเเผนงาน ทำใหไดงบประมาณลาชา และไมสามารถดำเนินงานตามเเผน เรียนรูงานจากคนที่เคยทำในบทบาทนี้มากอน จะทำใหเห็นภาพการทำงานที่ชัดเจน การรับฟงใหมาก ๆ ชอบเรียนรูและอานใหเยอะ ๆ ตองเปนคนชางสังเกต และรูจักการประยุกต เปนคนมีความคิดสรางสรรคตลอดเวลาวาตองทำอยางไรดี ใหมันออกมาเปนในแบบ ของสภาเด็กฯ ฝกความเปนผูนำ มีความเขมแข็ง มีความพรอมทั้งดานกายและจิตใจ เรียนรูในงานทำงานหลาย ๆ บทบาทหนาที่ ไมใชทำเฉพาะที่เราทำอยูในอยาง ๆ เดียว 21
  • 22. 22 ตำแหนง เลขาธิการสภาเด็กและเยาวชน งานที่ตองดูแล งานสารบรรณ รับ สงเอกสาร และหนังสือราชการ ศูนยบริการขอมูล ขาวสาร ดูแลความเปนระเบียบเรียบรอยของสำนักงาน งานสื่อสารองคกร/ประชาสัมพันธ จัดเก็บฐานขอมูลที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน การประสานงาน ประสานงานกับหนวยงานภายในและภายนอก งานประชุม ประสานงานผูเขารวม จัดหาสถานที่ เตรียมและผลิตวาระ เตรียมอุปกรณ เตรียมอาหาร จัดประชุม สรุปประเด็น และจัดทำรายงานการประชุม
  • 23. 23 ความทาทายในการทำงานตำแหนงนี้ มีภาระงานที่ตองรับผิดชอบมาก จึงตองมีความละเอียดรอบคอบ และความสามารถ ในการจัดการใหดี การทำงานมักมีปญหาเฉพาะหนาเกิดขึ้นและใหแกไข ดังนั้นตองมีสติ และจัดการ กับปญหา ตองมีความคิดสรางสรรค เปนการทำงานภายใตแรงกดดัน และความเห็นตาง ฉะนั้นจะตองบริหารจัดการ ความขัดแยง ใจเย็นและเด็ดขาด ตองมีความรูความเขาใจเรื่องอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก พรบ.คุมครองเด็ก พรบ.สงเสริมฯ พรบ.ตั้งครรภฯ พรบ.สื่อออนไลนฯ เปนตน สถานการณของเยาวชนมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ฉะนั้น !!! จำเปนตองมี การติดตามขาวสาร และสถานการณของเด็กและเยาวชนในปจจุบัน ภาพลักษณมีความนาเชื่อถือ การบริหารจัดการเรื่องงาน เวลา และคน ความคิดสรางสรรคในการสรรสรางงานที่แตกตาง และทันสมัย ความละเอียดรอบครอบ การสื่อสารใหเขาถึงกลุมเปาหมาย การใชภาษาในการติดตอสื่อสาร การกรองขอมูลเบื้องตน การจัดการและควบคุมอารมณ การแกไขปญหาเฉพาะหนา ความอดทน ทักษะสำคัญที่ตองมี การเตรียมตัว มีความรูความเขาใจหรือพรอมที่จะเรียนรูทักษะการทำหนังสือราชการ
  • 25. 25
  • 26. 2. กำหนดโครงสรางการบริหาร ประธานในที่ประชุม ประชุมคณะบริหาร ประชุมสมาชิก/ประชุมคณะทำงาน/ ประชุมคณะกรรมการตาง ๆ ผูแทนองคกรในการเขารวมประชุม สรางความสัมพันธระหวางองคกร ใหคำปรึกษา คำแนะนำ ใหกับคณะบริหารและสมาชิก การบริหารงานสภาเด็ก ฯ ระดับประเทศ การบริหารงานสภาเด็ก ฯ ระดับภาค การติดตามผลการดำเนินงาน กระจายอำนาจลงสูทองถิ่นและผูปฏิบัติ 26 บทบาทหนาที่ Step ในการทำงาน ความทาทายของงาน 1. การบริหารจัดการ บุคคล โครงการ งบประมาณ แตงตั้งคณะกรรมการ คณะทำงาน คณะอนุกรรมการ ฝายบริหาร 1. วางแผนการดำเนินงานรวมกันกับทีม 2. แบงบทบาทหนาที่ในการดำเนินงานอยางชัดเจน 3. ปฏิบัติงานตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมายอยางเครงครัด (ดำเนินโครงการ) 4. ถอดบทเรียน สรุปผลการดำเนินงาน 5. จัดทำรายงาน 1. มีคนทำงานสวนกลางนอย คณะบริหารอยูตางจังหวัด และระบบ การคัดเลือกคณะบริหาร ไมตอบโจทยการดำเนินงานในสวนกลาง 2. เวลาในการทำงานไมตรงกัน และมีเวลาการทำงานไมชัดเจน 3. รูปแบบการจัดการไมสอดคลองกับบริบท และไมชัดเจน 4. วิสัยทัศนที่ไมชัดเจน ทำใหไมสามารถนำมาบริหารงานไดจริง 5. ผูบริหารตองรูบทบาท หนาที่ของตนเองโดยไมคำนึงถึงความใกล ไกลของ กทม.
  • 27. ขอ 2 ขอ 3 1 ขอ 27 ในการทำงานเทคนิค3 RIGHT PEOPLE การสื่อสาร ที่ชัดเจน AT THE RIGHT POSITION.การมอบหมายงานใหสอดคลองกับ ความถนัดของบุคคล ถือเปนความทาทาย ของคนที่ทำงานบริหารที่จะตองทำความเขาใจ อยางรอบดาน พิจารณาทักษะ ความถนัด วามีใครมีทักษะที่ตรงกับงานอะไรบาง เปนทักษะสำคัญที่จะสงเสริมใหคุณเปนผูนำ ที่ดีขึ้น ชวยพัฒนาความสัมพันธในองคกร และสามารถ ใหกำลังใจคนในทีมได ลองมาดูวาคุณเปนนักสื่อสารที่ดีหรือยัง ? รูจักตัวเอง เปนสิ่งสำคัญที่ตองรูจักและสามารถจัดการกับอารมณความรูสึก ของตัวเองใหได ไมเอาอารมณแย ๆ ของตัวเองไปใชกับผูอื่น รูจักและเขาใจผูฟง การสื่อสารที่ดีเกิดขึ้นไดจากการรูจักและเขาใจผูฟง รูวิธีในการ ทำใหผูฟงสนใจในสิ่งที่เราพูด รวมทั้งการดูแลเอาใจใสและการสรางความไววางใจ ใหกับผูฟงดวย พูดใหตรงประเด็น ชัดเจน และเจาะจง อยางตรงไปตรงมา ใหความสำคัญกับภาษากาย และสีหนาหนาทาทาง ฟงมากกวาพูด ตั้งใจฟงในสิ่งที่เขาพูด และถามคำถามไปบางเพื่อแสดงใหเห็น ถึงความสนใจ การลำดับความสำคัญ ในการทำงานที่ประสบความสำเร็จ กุญแจสำคัญที่สุดคือการจัดสรรเวลาใหกับ สิ่งที่สำคัญ !!! เทคนิคแบงงาน 4 ประเภท สำคัญ และเรงดวน: ฝากใครทำไมได ตองทำเอง ทันที เรงดวน รอชาไมได และตองสำเร็จดวย สำคัญ แตไมเรงดวน: ฝากใครทำไมได ตองทำเอง แตไมดวนมาก ตองจัดสรร เวลามาทำ และตองสำเร็จดวย ไมสำคัญ แตเรงดวน: ฝากคนอื่นทำได แตตองทำทันที ไมควรชา ไมสำคัญ และไมเรงดวน: ฝากใครทำก็ได และสามารถผลัดไปได
  • 28. 28 ฝายนโยบายและแผนงาน บทบาทหนาที่ ขั้นตอนในการทำงาน 1. เลือกประเด็น ศึกษาขอมูลและรวบรวมสถานการณที่เกี่ยวของกับเด็กและเยาวชน 2. ประสานเครือขาย หนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อแลกเปลี่ยนและรวบรวมขอมูลที่ดีที่สุด สูการนำเสนอ 3. นำเสนอขอมูลโดยอางอิงจากฐานขอมูลที่เชื่อถือไดตอคณะรัฐมนตรี 4. ติดตามผลการเสนอนโยบายและดำเนินงาน รวบรวมและศึกษาสถานการณที่เกี่ยวของกับเด็กและเยาวชน เชน การตั้งครรภ ไมพรอม ฯลฯ ใหขอเสนอในการรางแผนที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน เสนอนโยบายและยุทธศาสตร เสนอแนวทางการปรับปรุงกฎหมาย ประเมินผลและเสนอรายงานตอคณะรัฐมนตรี กำหนดแนวทางการปฏิบัติงานใหกับหนวยงานที่เกี่ยวของตามพระราชบัญญัติ ที่กฎหมายกำหนด ปฏิบัติหนาที่อื่น ๆ ตามที่กฎหมายกำหนด
  • 29. 29 ปจจัยในการทำงาน ดา�นโยบายให ประสบความสำเร็จ !! 1. การพูดคุยและประสานงานกับเครือขายที่ขับเคลื่อนเรื่องเดียวกัน 2. การศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ 3. มีผูเชี่ยวชาญในแตละดาน สาขา ประกอบกับการพิจารณา กำหนดยกราง ในดานนั้น ๆ เพื่อไวตอบคำถาม หรือใหคำแนะนำ 4. การเขาถึงระบบฐานขอมูลของเด็กและเยาวชน 5. การประสานงานและแลกเปลี่ยนขอมูลกับเครือขายที่หลากหลาย 6. มีผูแทนเด็กและเยาวชนเพิ่มขึ้น เชน มีผูแทนจากทุกภาค 7. ควรมีการวางแผนและแบงงานใหชัดเจน 8. การประสานงานที่ชัดเจน 9. การกำหนดกรอบ ขอบเขตเนื้องานใหชัดเจน 1. ไมมีการรวบรวมและอัปเดตงานเปนระยะ ๆ 2. ระบบการจัดเก็บผลการดำเนินงานที่ไมเปนรูปธรรม 3. การประสานงานที่ไมชัดเจน และลาชา 4. การแบงบทบาทหนาที่ไมชัดเจน 5. ควรใหสภาเด็กฯ จัดทำรายงานวิจัยดวยตนเอง ขอควรระวัง !!
  • 30. 30 THINGS TO DO LIST ในการจัดมหกรรมหรือบูธ นิทรรศการตองเตรียมอะไรบาง? ฝายงาน Event กระบวนการ/Workshop Organizer STEP ในการจัดกระบวนการ และ Workshop มหกรรม บูธนิทรรศการ PLAN 1. ประชุมเตรียมกระบวนการ 2. ทำรายละเอียดโครงการ 3. เตรียมวัสดุ อุปกรณ 4. ทำกำหนดการ 5. ทำความเขาใจกลุมเปาหมาย 6. นัด workshop คณะทำงาน DO 1. กิจกรรมละลายพฤติกรรม (Ice breaking, กิจกรรมกลุม) 2. กิจกรรมกระบวนการที่ตอง เกี่ยวกับเนื้องานที่ไดรับ 3. สรุปกิจกรรม CHECK 1. ประชุมสรุปงานกลุมกระบวนการ ACT 1. ถอดบทเรียน 1. กำหนดการมีการเปลี่ยนแปลงแตแจงไมทั่วถึง 2. จำนวนผูจัดกับจำนวนผูเขารวมไมเหมาะสมกัน 3. คณะทำงานรูไมเทากัน 4. ไมทำงานที่ไดรับมอบหมายใหเต็มที่ 5. ไมมีการแบงหนาที่ใหชัดเจน ขอควรระวัง !! EVENT 1. สถานที่ รูสถานที่และทำแผนผัง สวัสดิการ (อาหาร อาหารวาง) พยาบาล ประสานงานยานพาหนะ 2.ประสานงาน ประสานงานกับผูเขารวม ประสานงานกับฝายตาง ๆ หนวยงาน สื่อ ออกหนังสือเชิญ 3.แสงและเสียง รูคิว/ลำดับเสียงและไฟที่ตองใช/ สื่อที่ตองใช รันคิวลำดับเวที 4.อำนวยการ ตัดสินใจและแกไขปญหาเฉพาะหนา ทบทวนความถูกตองของภาพรวม ประเมินผล 5.ออกแบบ ออกแบบธีมงาน/รูปแบบสื่อ จัดทำกราฟก
  • 31. มี teamwork ที่ดี แบงบทบาทหนาที่ ชัดเจน และทำหนาที่ ที่ไดรับมอบหมายให ดีที่สุด 31 เทคนิควิธีการ ที่ชวยในการทำงาน 1 2 5 3 6 10 7 11 12 13 4 มีความอดทน ขยันหมั่นเพียร มีทักษะการแกไข ปญหาเฉพาะหนา ใชเทคนิค “เรียนและเลน” ในการทำ กระบวนการ RCA : Reflect (สะทอน) /Connect (เชื่อมโยง) /Apply (ประยุกต) ถอดบทเรียน และนำมาปรับใช กระชับ ละเอียด ไมยืดเยื้อ มีการจัดทำคูมือ แนวทางการจัดงาน รูปแบบ/กระบวนการ ที่ชวยใน การจัดงานครั้งตอไป 8 9 มีหัวหนางาน ในการตัดสินใจงาน แคคนเดียว พัฒนาทักษะความสามารถ ของทีมงาน มีการสื่อสาร ในทีมที่ชัดเจน Action plan (รูบทบาทหนาที่ในการทำงาน อยางชัดเจน) เตรียมวิธีการ จัดการกับ คนจำนวนมาก 14 16 มีกำหนดการ ที่ชัดเจน 15 จำนวน คณะทำงาน กับจำนวน ผูเขารวม เหมาะสมกัน 17 ทำงานแบบ ไมกระจุกตัว 18 ทุกคนสามารถทำงานวิชาการได
  • 32. 32 Kahoot (สำหรับกิจกรรมที่ตองการวัด ระดับความรู) ผูจัดตองตั้งคำถามในเว็บไซต https://kahoot.com จากนั้นใหผูเขารวมเขามา รวมแขงกันตอบคำถามในเว็บไซต https://kahoot.it เพื่อหาคนชนะ อาจมีรางวัลใหเพื่อเปนกำลังใจ Reflection Evaluation (สำหรับผูเขารวม) ตัวอยางกิจกรรมสำหรับการ SHARING Kahoot! ใหผูเขารวมทุกคนนั่งลอมวง ถามความรูสึก และสิ่งที่ไดเรียนรู จากนั้นใหผูเขารวมทุกคนบอก ความรูสึกและสิ่งที่ตัวเองไดเรียนรู วนจนครบทุกคน ผูจัดเตรียมกระดานวัดระดับ ความพึงพอใจ แจก Stickers ใหผูเขารวม รวมประเมิน ตามหัวขอตาง ๆ กระดานความพอใจ 1 2 3
  • 33. 33 Reflection(สำหรับคณะทำงาน) ตัวอยางวิธีการใน ใหคณะทำงานทุกฝายนั่งรวมวงกัน จากนั้นใหรวมกันสะทอนปญหา อุปสรรค และแนวทางในการทำงานใหดียิ่งขึ้น วิธีที่ 1 วิธีที่ 2 ใหแตละฝายแยกคุยและสรุปงาน ภายในฝายของตัวเองกอน จากนั้นใหทุกฝายมารวมกัน และใหฝายที่เกี่ยวของชวยกัน สะทอนการทำงานซึ่งกันและกัน
  • 34. ฝายประสานงาน บทบาทหนาที่ 1. รับขอมูลจากสวนกลาง สดย.ท. กลุมเปาหมาย/จำนวน วัตถุประสงคโครงการ รายละเอียดงาน 2. ติดตอกลุมเปาหมาย/ชี้แจงรายละเอียด 3. รวบรวมขอมูลจากภูมิภาค แผนการดำเนินงาน ขอมูลที่ตองใชในแตละงาน/ขอมูลพื้นฐาน รวบรวมเปนฐานขอมูลภูมิภาค 4. สงตอขอมูลใหสวนกลาง 5. จัดทำฐานขอมูลเครือขาย สภาเด็กและเยาวชน/สภานักเรียน/สภานักศึกษา เปนตน 6. ประสานงานคณะบริหาร ที่ปรึกษา คณะทำงาน เครือขาย 7. ประชาสัมพันธกิจกรรม โครงการของสภาเด็กและเยาวชนและเครือขาย ขั้นตอนในการทำงาน 1. ประชุมชี้แจงรายละเอียด/แบงหนาที่ในการทำงาน 2. รับขอมูลที่ครบถวนพรอมสงตอ 3. สงตอขอมูลไปยังกลุมเปาหมาย (ออนไลนและสงหนังสือ) 4. ติดตามงาน/สอบถาม/กำหนดวันรับขอมูลกลับ 5. รับขอมูลจากกลุมเปาหมาย 6. วิเคราะหขอมูล/ตรวจสอบความถูกตองและครบถวนของขอมูล 7. สงตอขอมูลใหสวนกลาง 8. กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงขอมูลตองรีบแจงไปยังกลุมเปาหมาย ขอควรระวัง !! 1. สภาเด็กฯ ไมไดจัดทำเอกสารดวยตนเอง เจาหนาที่เปนคนทำขอมูลตองขอขอมูล จากคนอื่น 2. ภาคไมไดเปนคนประสานงานเอง 3. การชี้แจงวัตถุประสงคงานไมชัดเจน 4. รูปแบบการจัดงานไมแนนอน/ขอมูลไมตรงกัน 5. การติดตอประสานงานเรงดวนเกินไป 6. กระจายขอมูลไมทั่วถึง หนังสือชา สงหนังสือออนไลนแลวไมมีการพิมพออกมา 34
  • 35. 35 วิธีการประสานงานแบบ EFFECTIVE ลองมา CHECK ดู มีเวลาในการจัดเตรียมงาน มีขอมูลและวัตถุประสงคงานชัดเจนและครบถวน กำหนดวันจัดงานที่ชัดเจน มีการประชุมติดตามงานอยางตอเนื่อง ระบุกลุมเปาหมายชัดเจน ไมคลาดเคลื่อน มีการรวบรวม/สงตอขอมูลผานระบบสื่อสารออนไลน มีระบบรับ – สงเอกสาร/จดหมายอิเล็กทรอนิกส มีการประชุมเตรียมการมากกวา 2 ครั้ง/งาน มีการสะทอนผลการทำงานในแตละตัวบุคคล มีการแบงสัดสวนคณะทำงาน และกำหนดหนาที่/สัดสวนการทำงาน ของแตละบุคคลอยางชัดเจน มีการ check วาคณะทำงานรูหนาที่ของตัวเองชัดเจน มีการวางแผนงานที่รอบคอบ การกำหนดหนาที่การทำงานใหเขากับตัวบุคคล เพิ่มชองทางในการติดตอสื่อสารใหสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น สภาเด็กฯ ควรรับผิดชอบงานดวยตัวเองมากขึ้นและมีอำนาจในการตัดสินใจ คณะทำงานรับขอมูลขาวสารที่ตรงกัน
  • 36. 36 ฝายการจัดประชุม Things to do list. ในการจัดการประชุมแตละครั้ง จัดทำวาระการประชุม/จัดเตรียมอุปกรณในการประชุม ประสานผูเขารวมประชุมใหเขารวมประชุมตามวัน เวลา สถานที่ที่กำหนด ประสานงานใหผูบริหาร สมาชิก คณะทำงานเขารวม ประชุมตามที่ประธานมอบหมาย แจงรายละเอียดวาระการประชุมกับประธานในการประชุม บันทึกการประชุม สรุปและจัดทำรายงานการประชุม
  • 37. 37 แบงงานตามฝายอยางชัดเจนเพื่อจัดทำวาระการประชุมตามฝายงาน ประสานงานผูเขารวมการประชุม/สถานที่ลวงหนา ควรมีการลงชื่อเขารวมงานลวงหนาเพื่อการจัดการที่งายขึ้น ผูนำการประชุมและผูเขารวมรับฟงขอเสนอซึ่งกันและกัน ผูนำการประชุมมีความเด็ดขาดและสามารถควบคุมการประชุมได มีเปาหมายการประชุมที่ชัดเจน ออกแบบการประชุม conference ผาน application ตาง ๆ เชน Line ในกรณีที่กลุมเปาหมายอยูคนละที่ นัดหมายการประชุมลวงหนา ผูเขารวมประชุมสนใจเนื้อหาและเขาใจประเด็นรวมกัน สมาชิกเห็นความสำคัญของหนาที่ตนเอง ปรับการบริหารจัดการใหกระชับและชัดเจน ลดจำนวนกลุมเปาหมายใหพอดี มีกระบวนการบริหารที่ดี การเลือกกลุมเปาหมายในการประชุมแตละครั้ง ตองไดกลุมเปาหมาย จากพื้นที่และประสบปญหาจริง มีการตั้งแนวทางที่ชัดเจนกับการประชุมนั้น ๆ มีการแจงเตือนในการเขารวมลวงหนา เทคนิคในการทำงาน ขอควรระวัง !! 1. ผูเขารวมประชุมเยอะเกิน ทำใหการประชุมไมมีประสิทธิภาพ 2. สถานที่เปนแบบเปด อาจทำใหเกิดสถานการณที่ไมสามารถควบคุมได 3. การชี้แจงวัตถุประสงคไมชัดเจน ทำใหไดกลุมเปาหมายไมตรง 4. ผูเขารวมประชุมพูดไมตรงประเด็น
  • 38. 38 ฝายการบริหารงบประมาณ บทบาทหนาที่ความรับผิดชอบ จัดทำบัญชีรายวัน (บันทึกรายรับ รายจาย) ทำธุรกรรมการเงิน (ฝาก ถอน เช็ค เอกสารประกอบ) ดูแลการเงินโครงการ เตรียมเอกสารการเงิน จัดทำ (ใบเสร็จ ใบสำคัญรับเงิน) ตรวจสอบความถูกตองของเอกสาร และปดงบโครงการ (คืนเงิน) จายเงินโครงการ เครื่องมือ เทคนิควิธีการ ที่ชวยในการทำงาน 1. มีการวางแผนการเงินการบริหารจัดการโครงการวาโครงการใชเงินกี่บาทใชอะไรบาง 2. มีการแบงหมวดหมูเงินเพื่อสะดวกในการใชและกระจายความเสี่ยง (ปองกันการสูญหาย) เวลานับเงินใสซองมีพยานบุคคลในการนับเงิน 3. ควรจัดทำใบสำคัญรับเงินอยางงาย จายเงินแบบเหมาจาย 4. ควรมีผูรับผิดชอบการเงินโดยตรง 2-3 คน 5. ทำบัญชีรายวัน (บันทึกรายรับ รายจาย) ระบบอิเล็กทรอนิกส 6. มีการบันทึกบัญชีดวยโปรแกรม Excel 7. มีระบบติดตามโครงการ ขอควรระวัง !! 1. ตองจัดการเอกสารที่ซ้ำซอน ซึ่งมีจำนวนมาก 2. ผูรับผิดชอบจัดทำเอกสารการเงินไมดี
  • 39. 39 ขั้นตอนในการทำงาน 6. ดำเนินกิจกรรมตามระเบียบ การเบิกจาย อาจมีแผนหลัก และแผนสำรอง 5. กำหนด timeline ของแตละ กิจกรรมและระบุงบประมาณ ที่ตองใชแตละกิจกรรม/ชวง (อาจมีการกำหนดแผน A แผน B ไวสำรอง) 4. กำหนดผูรับผิดชอบ โครงการ/กิจกรรมนั้น ๆ 3. วางแผนยอยโครงการ เชน โครงการ ก ใชเงิน x บาท โครงการ ข ใชเงิน X บาท 2. วางแผนจำนวนโครงการ ปงบประมาณที่ไดทั้งหมด และแบงตามสัดสวน งบประมาณแตละโครงการ 1. วางแผนการดำเนินงาน รวมกัน (แผนใหญ) งบประมาณประจำปนั้น ๆ งบภายใน + =งบภายนอก งบประจำป
  • 40. 40
  • 42. 42 NGOsกลุมเด็กและเยาวชน แมวา NGOs แตละกลุมจะมีจุดมุงหมายตางกัน แตก็ยังมีบางโครงการที่ NGOs เหลานี้ ก็มารวมมือกับสภาเด็กและเยาวชน เชน โครงการเยาวชนไทยหัวใจใสสะอาด ที่มีสวนชวยสภาเด็กและเยาวชน พัฒนาสังคมดวยพลังของเด็กไปพรอม ๆ กัน มีหลากหลายดาน ดังนี้ ดานเอดส เพศศึกษา ดานการปองกันและแกไขปญหาสิ่งเสพติด ดานสุขภาพกาย สุขภาพจิต ดานการศึกษา ดานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น ดานสิทธิเด็กและสิทธิมนุษยชน ดานการเมืองและประชาธิปไตย ดานสื่อ และดานการคุมครองผูบริโภค ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และพลังงาน ดานการทองเที่ยว กีฬาและนันทนาการ ดานชนเผาและชาติพันธุ ดานคนพิการ ดานผูดอยโอกาสและผูสูงอายุในสภาวะยากลำบาก ดานการทำงานกับเด็กและเยาวชนในกระบวนการยุติธรรม ดานการลดความรุนแรงและการใชสันติวิธี ดานเกษตรกรรมและพัฒนาอาชีพ ดานชุมชนและชุมชนแออัด ดานเครือขายสภานักเรียน องคการนิสิต นักศึกษา ดานเพศวิถี และดานอื่น ๆ
  • 43. 43 ชมรมนี้มุงเผยแพรพระพุทธศาสนาผานกิจกรรม “ธรรมสัญจร” ที่นำพระธรรม คำสอน ทางพระพุทธศาสนาไปพัฒนาชุมชน กิจกรรม “ธรรมอาสา” ที่เขาไปชวยเหลือคนที่ขาดแคลน คนชายขอบ หรือผูประสบภัยพิบัติตาง ๆ ที่ตองการความชวยเหลือ นอกจากนี้ชมรมยัง ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาและอนุรักษวัฒนธรรมประเพณีใหอยูคูชุมชนตอไป เชน ทอดเทียนพรรษา ทอดกฐิน ทอดเทียนโฮม ที่จัดทุก ๆ ป มาทำความรูจักกับกลุม NGOs ของเด็กและเยาวชนบางสวน วามีใคร ทำอะไรกันอยูบาง ? ใหความรูรัฐศาสตรและรัฐศาสนศาสตร x เวทีแลกเปลี่ยนทางการเมือง สงเสริมคุณธรรม x ปลูกฝงจิตอาสา x รักษาวัฒนธรรม สานสัมพันธระหวางเด็กและผูสูงอายุที่อยูตามลำพัง กลุมภูมิฝน | NGO ดานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น ชมรมวาทศิลป มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน | NGO ดานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา x รักษาวัฒนธรรมทองถิ่น กลุมรัฐประสาน | NGO ดานการเมืองและประชาธิปไตย กลุมพุทธรักษา | NGO ดานคนพิการ ดานผูดอยโอกาสและผูสูงอายุ ในสภาวะยากลำบาก กลุมพุทธรักษาพบวายังมีผูสูงอายุอีกมากที่ตองอยูบานคนเดียว ดูแลตนเอง ตามลำพัง บางก็เกิดความเหงาจนเปนโรคซึมเศรา กลุมพุทธรักษาจึงเขามาเปนผูเขามา ชวยเหลือผูสูงอายุกลุมนี้ ดวยกิจกรรมจิตอาสานำพาชุมชนและกิจกรรมสรางความสุขสันต ผูกพันผูสูงอายุที่นำเด็กและเยาวชนไปรวมทำกิจกรรมกับผูสูงอายุสรางความสุข ความผูกพันระหวางกัน และแกไขปญหาผูสูงอายุที่ถูกทอดทิ้งใหอยูตามลำพัง กลุมรัฐประสานเปนกลุมที่มุงเนนเรื่องการเพิ่มความรูทางรัฐศาสตร รัฐประศาสนศาสตร ใหแกเด็กและเยาวชน ผานคายตาง ๆ เชน คายคิดเองทำเอง คายผูนำธรรมาภิบาล ซึ่งนอกจากจะไดความรูจากวิทยากรแลว เด็กและเยาวชนสามารถแลกเปลี่ยนความรูกันใน คายไดอีกดวย และยังมีการแขงขันที่ใหเด็กและเยาวชนไดฝกฝนความรูเกี่ยวกับรัฐศาสตร และรัฐประศาสนศาสตร นอกจากมุงเนนเรื่องความรูแลว กลุมรัฐประสานยังเปนเวที แลกเปลี่ยนทางการเมืองใหผูเขารวมแลกเปลี่ยนมุมมองกันไดเต็มที่ กลุมภูมิฝนมุงเนนพัฒนาเด็กและเยาวชนหลากหลายดาน ทั้งสงเสริมเรื่องคุณธรรม จริยธรรมผานโครงการสามเณรภาคฤดูรอนที่ทำใหเด็ก ๆ ที่เขารวมเกิดความตระหนักและ นำขอคิดดี ๆ ไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ยังสงเสริมการรักษาวัฒนธรรมทองถิ่นและ ภูมิปญญาทองถิ่นผานโครงการพลังเยาวชนภาคตะวันออก จ.สมุทรสงคราม ที่ทำใหเด็ก ๆ รูจักภูมิปญญานาเกลือของจังหวัดสมุทรสงคราม อีกทั้งกลุมภูมิฝนยังปลูกฝงจิตอาสาใหเด็ก และเยาวชนดวยการชวนไปชวยงานโครงการตาง ๆ เชน โครงการสงเสริมความสำคัญใน ดานพระพุทธศาสนา โครงการสังคมศึกษาวิชาการ ครั้งที่ 2 เปนตน
  • 44. ที่ปรึกษา 44 ที่ปรึกษาเปนกลไกสงเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน แหงประเทศไทย รวมถึงสภาเด็กและเยาวชนในทุก ๆ ระดับโดย ทำหนาที่ติดตาม กำกับดูแล สรุปผลเปนขอเสนอแนะตอการทำงาน รวมถึงใหคำปรึกษาและขอเสนอแนะเมื่อมีปญหาอุปสรรค หรืองานที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน ถายทอดองคความรูและแนวทางการทำงาน ของสภาเด็กและเยาวชน และประสานทรัพยากรใหการทำงานของสภาเด็กและเยาวชนบรรลุ เปาหมาย ผูชวยที่คอย... ใหคำปรึกษา เสนอเเนะการดำเนินงาน และสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน คณะบริหารสภาเด็กที่ปรึกษาเปนผูชวยสำคัญในการทำงาน