SlideShare a Scribd company logo
1 of 132
Download to read offline
ค�ำน�ำ
	 จากเวทีเสวนาประเด็น “เด็กและเยาวชน: การพัฒนาสภาเด็กและเยาวชนและ
เด็กเล็กในท้องถิ่น” ภายในงานฟื้นฟูพลังชุมชนท้องถิ่นสู่การอภิวัฒน์ประเทศไทย
ครั้งที่ 2 ประจ�ำปี 2555 ที่จัดขึ้นที่ศูนย์การประชุมนานาชาติ ไบเทค บางนา โดย
ส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการ
สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) นพ.สุวทย์ วิบลผลประเสริฐ ประธานกรรมการบริหารแผน
ิ
ุ
คณะที่ 4 สสส. กล่าวว่า “ภาพอนาคตและทิศทางการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชน
ผูใหญ่จะต้องเปิดพืนที่ เปิดโอกาสทางสังคมให้แก่เขาเหล่านีได้แสดงความสามารถ
้
้
้
ของตนเองให้มาก..........................ณ ขณะนี้ เราต้องทุมทุนสนับสนุนเด็กทุกช่วงวัย
่
โดยเริ่มตั้งแต่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นส่วน
ส�ำคัญทีสด เราต้องสนับสนุนพัฒนาตังแต่ศนย์เด็กเล็กขึนมา ทังนีผมเชือว่าเด็กและ
่ ุ
้
ู
้
้ ้ ่
เยาวชนรุ่นใหม่จะเป็นผู้พาเราไปได้ในอนาคต ดังนั้น ผู้ใหญ่โปรดช่วยกันเปิดพื้นที่
ทางสังคม เปิดพื้นที่ทางปัญญา ให้แก่เด็กและเยาวชน”  ข้อความข้างต้นได้สื่อให้
เห็นว่าผู้ใหญ่มีภาระหน้าที่อันส�ำคัญที่ต้องช่วยกันพัฒนาการเด็กและเยาวชนด้วย
การให้โอกาส ให้พนที/่ เวทีทเี่ ด็กจะเสนอความคิดและแสดงความสามารถต่างๆ ออก
ื้
มา
	 แต่ประเด็นที่น่าสนใจอีกมุมหนึ่งคือจากผลการวิจัย “รูปแบบสภาเด็กเยาวชน:
ถอดองค์ความรู้ 1ปี” หลังมีพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่ง
ชาติ พ.ศ.2550 ของรศ.ดร.สมพงษ์ จิตระดับ อาจารย์คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ที่พบว่า “ผู้ใหญ่เป็นผู้สร้างภาวะ “ผู้ใหญ่คิด...เด็กท�ำ” ซึ่งท�ำให้เด็กมี
ส่วนร่วมเพียงระดับ 6/10 ส่งผลให้เด็กเกิดภาระในการท�ำงานตามที่ผู้ใหญ่ก�ำหนด
ก่อนที่จะถูกผู้ใหญ่แย่งเป็นผลงานตนเอง” ผลการวิจัยเรื่องนี้ก็จะเป็นประเด็นความ
พยายามสื่อให้ผู้ใหญ่ใจดี มีความตั้งใจดี ต้องระมัดระวังในการด�ำเนินกิจกรรมตาม
ความปรารถนาดีนั้นเช่นกัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี โดยส�ำนักบริการวิชาการชุมชน ได้ด�ำเนิน
โครงการขับเคลือนงานด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังหวัดอุบลราชธานี
่
พ.ศ. 2555 – 2558 ภายใต้การสนับสนุนของส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง
เสริมสุขภาพ (สสส.) เมื่อด�ำเนินการมาระยะหนึ่งแล้วก็จ�ำเป็นต้องท�ำการประเมิน
การด�ำเนินงานที่ผ่านมาเพื่อที่จะรวบรวมความส�ำเร็จและความล้มเหลวที่อาจมีไป
ใช้พฒนารูปแบบการด�ำเนินงานในช่วงเวลาทีคงเหลือให้มผลงานดีขนเรือยๆ วิธการ
ั
่
ี
ึ้ ่
ี
สัมภาษณ์ผดำเนินงานถือเป็นวิธหนึงทีสามารถถอดบทเรียนประสบการณ์ของผูทได้
ู้ �
ี ่ ่
้ ี่
ปฏิบตงานมาแล้ว ซึงสิงทีทานจะได้พบในเอกสารนีจะเป็นข้อสรุปประสบการณ์ชอง
ั ิ
่ ่ ่ ่
้
ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่พี่เลี้ยง และผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับโครงการ เชื่อว่าท่านผู้อ่านจะได้
รับทราบประสบการณ์ สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้กบการท�ำงานร่วมกับสภาเด็ก หรือ
ั
กลุ่มเด็กที่อาจได้พบในโอกาสต่อๆ ไป
	

ขวัญสุปาณัฏฐ์ พันธ์เกษม
สารบัญ
นายวิโรฒ มีแก้ว
	 ประธานคณะกรรมการด� ำ เนิ น งาน
โครงการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชน
แบบบูรณาการระดับจังหวัดอุบลราชธานี
6
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประชุม ผงผ่าน
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
8
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สนธยา เกาะสมบัติ
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริการวิชาการชุมชน
10
องค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน
นางชิสาพัชรี พิมพ์พรหม นักพัฒนาชุมชน
สร้างความคุ้นเคยกับเด็กๆ ให้เหมือนการ
ท�ำงานร่วมกับลูกหลาน
12
องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดยาลวน
นางนุ ช ลั ก ษณ์ รุ ่ ง เรื อ ง นั ก วิ ช าการศึ ก ษา
สร้างกิจกรรมให้เกิดขึ้นภายในชุมชนให้เป็น
รู ป ธรรมที่ ยั่ ง ยื น เทศบาลต� ำ บลขามใหญ่
18

นางสุกฤตา ปากหวาน หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการ
สังคม รูจกแยกแยะสิงดีและไม่ดี ก็พอใจแล้ว
้ั
่
22
องค์การบริหารส่วนต�ำบลคอนสาย
นางสาวนงลักษณ์ วันหลัง หัวหน้าส�ำนักงานปลัด
เด็กท�ำผู้ใหญ่หนุน
32
เทศบาลต�ำบลค�ำน�้ำแซบ
นางพิศมัย มีชย ต�ำแหน่งหัวหน้ากองการศึกษา
ั
สร้างความเป็นกันอง ไม่ถอยศ ถือเกียรติ ถือตัว
ื
38
องค์การบริหารส่วนต�ำบลคูเมือง
นางสาวธัญญารัตน์ เลขาวนิช เจ้าหน้าทีสนทนาการ
่ั
เราได้รับมอบหมายอะไรเราก็ตั้งใจท�ำ  ท�ำให้
เต็มที่ ดูแลให้ได้ดีที่สุด
44
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกสว่าง
นายปรีชา วันแก้ว ผูชวยนักพัฒนากองการศึกษา
้่
อยากเห็นน้องในชุมชนห่างไกลยาเสพติด
มีความคิดสร้างสรรค์ มีเวทีในการแสดงความ
คิดของเด็กๆ แต่ละคน
50
สารบัญ
เทศบาลเมืองเดชอุดม
นายอนุรกษ์ พวงแก้ว เจ้าหน้าทีกองการศึกษา
ั
่
สภาเด็กจะช่วยแก้ปัญหาสังคมได้แน่นอน
55
เทศบาลต�ำบลท่าช้าง
นางสาวปิยานัน อินทรา
เจ้าหน้าทีนกวิเคราะห์นโยบายและแผนงาน
่ั
อยากจะขยายเครือข่ายแกนน�ำให้มีเพิ่มขึ้น
ด้วยรูปแบบของการที่เพื่อนชวนเพื่อน
57
เทศบาลต�ำบลนาเยีย
นายถวิล ประทุมมา เจ้าหน้าที่สันทนาการ
การทุ่มเททั้งแรงกาย แรงใจ ให้กับงานทุก
อย่างที่ได้รับมอบหมาย และจงท�ำมันอย่าง
มีความสุข งานทุกอย่างก็จะประสบความ
ส�ำเร็จได้
63
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบัวงาม
นายไตรภพ พันธ์บุปผา
อยากเห็นเด็กและเยาวชนในต�ำบลบัวงามมี
การด�ำเนินชีวิตที่ดี และเติบโตไปเป็นผู้ใหญ่
ที่ดีในสังคมต่อไป
75

องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าโมง
นางปัทมาภา พิมพันธ์ นักพัฒนาชุมชน
เรียนรู้ไปพร้อมกับเด็ก
78
เทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร
นายราชันย์ รักผลดี
จิตอาสาเราสามารถเป็นได้ทุกอย่าง
85
เทศบาลต�ำบลโพธิ์ไทร
นายโอริส โพธิ์พิมพ์ นักพัฒนาชุมชน
ปัญหา คือ ความท้าทายของคนท�ำงานด้าน
เด็กและเยาวชน
90
เทศบาลต�ำบลม่วงสามสิบ
อาจารย์ประจักษ์ สีแสด ข้าราชการบ�ำนาญ
ความรูเ้ รือง และ ทักษะในการปฏิบตงาน เป็น
่
ัิ
ปัจจัยที่ส่งเสริมบทบาทพี่เลี้ยงสภาเด็ก
98
เทศบาลต�ำบลนิคมล�ำโดมน้อย
นางสาวพัชรี บุญกอง หัวหน้าส�ำนักปลัด
เด็กอยากแสดงออกแต่ว่าไม่มีเวทีที่จะแสดง
105
เทศบาลวารินช�ำราบ  
นางไพศรี ธานิสาพล
นักวิชาการศึกษาประจ�ำกองการศึกษา
112
องค์การบริหารส่วนต�ำบลส�ำโรง
นายสามารถ เจริญชาติ รองนายก
เราต้องให้โอกาส และเปิดโอกาสให้แก่เด็ก
117
เทศบาลต�ำบลหนองผือ
นางสาววันทนา กุลสังข์
กิจกรรม ไม่วาของเด็กหรือผูใหญ่ตองมีเครือข่าย
่
้
้
124
องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองเหล่า
นางกษัตนภา แฝดศรีทน นักพัฒนาชุมชน
เด็กทุกคนมีความสามารถในการพัฒนา
ตนเองและชุมชน
128
6 นายวิโรฒ มีแก้ว

นายวิโรฒ มีแก้ว
	 โครงการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังหวัด : อุบลราชธานี
เป็นโครงการทีเ่ ป็นมิตใหม่ของการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนทีจะน�ำไปสูมตความ
ิ
่
่ ิ ิ
ยั่งยืน ของการพัฒนาเด็กและเยาวชน เนื่องจากโครงการนี้ได้เปลี่ยนแปลงรูปแบบ
การท�ำงานจากเดิมจะเป็นการท�ำงานโดยรัฐเป็นผู้สั่งการที่เห็นได้จากการด�ำเนิน
โครงการในช่วงแรกๆ ตังแต่ปี 2553 มีความคาดหวังความส�ำเร็จการด�ำเนินงานสภา
้
เด็กจะต้องขยายจากระดับจังหวัด ไปสูระดับอ�ำเภอ และระดับต�ำบล โดยลึกๆ ในวิธี
่
ด�ำเนินการยังคงติดอยูกบวิธคดแบบราชการ การด�ำเนินยังติดอยูในกรอบเดิมๆ ไม่มี
่ั ี ิ
่
ความคิดใหม่ เดินเองไม่ได้ เช่น ในโรงเรียนก็มีสภาเด็กที่ถูกคาดหมายให้มีความ
ส�ำเร็จแบบเดิมๆ ต้องมีใครต่อใครเข้ามาจัดการท�ำโน่นนะ ท�ำนี่นะ ไม่ได้สร้างวิธีคิด
วิธทำงานให้กบเด็ก ไม่ได้กอพลังให้เกิดการขับเคลือน ซึงอาจสรุปได้วาเมือสิงทีตอง
ี �
ั
่
่ ่
่ ่ ่ ่ ้
ด�ำเนินการอยูในระบบราชการทีเ่ หมือนกับว่าสภาเด็กเป็นประชากรเป็นมวลชนของ
่
หน่วยงาน ของจังหวัดด้วยซ�ำ ต้องมีประธาน รองประธานระดับจังหวัด ระดับอ�ำเภอ
้
มีขั้นตอนมาจากอ�ำเภอ จังหวัด เมื่อถึงเวลาท�ำงานซึ่งยังคงมีการท�ำงานแบบระบบ
ราชการ พอเด็กเขามีความคิดดีๆ ใหม่ๆ ก็เป็นสิ่งที่ดี แต่การใช้จ่ายงบประมาณก็ยัง
เป็นข้อจ�ำกัด ต้องเขียนโครงการของบประมาณโดยงบประมาณยังไม่กระจายมา
สู่จังหวัด โดยสรุปการอนุมัติการ ให้งบประมาณยังคงอยู่ในลักษณะที่ผู้ใหญ่คิด ท�ำ 
และจัดการให้เด็ก พองบประมาณหมด กิจกรรมก็หมด การพัฒนาขีดความสามารถ
นายวิโรฒ มีแก้ว 7

และศักยภาพขององค์กรก็หมด
	 การความคิด ไปสู่รูปแบบของการท�ำงานที่เชิญภาคีเครือข่ายให้เข้ามามีส่วน
เกียวข้องในการท�ำงาน กิจกรรมก็เป็นส่วนหนึงทีสามารถน�ำมาใช้ในการแก้ไขปัญหา
่
่ ่
ด้านเด็กและเยาวชนได้
	 เนืองจากในอดีตรูปแบบของการท�ำงานจะเป็นการท�ำงานทีอยูภายใต้ระบบราชการ
่
่ ่
มากจนเกินไปจึงท�ำให้การท�ำงานทางด้านเด็กและเยาวชนไม่สามารถโตไปมากกว่า
นี้ได้ หากจะพูดถึงวิธีคิด การลงมือท�ำตามรูปแบบของราชการจะเป็นการมองกลุ่ม
เด็กและเยาวชนอยู่ในรูปแบบของประชากร เมื่อท�ำกิจกรรม 1 โครงการ ก็จะมองที่
จ�ำนวนของผูเข้าร่วมโครงการเป็นทีตง แต่เมือเราจะท�ำงานในมิตการบูรณาการการ
้
่ ั้
่
ิ
ท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนเสียใหม่ ตัวผู้ใหญ่เองก็จะต้องเปลี่ยนวิธีคิดที่ตัวเองให้
ได้เสียก่อนไม่อย่างนั้น เราก็จะกลับไปท�ำงานในรูปแบบเดิมๆ เมื่อระบบราชการยัง
ไม่สามารถที่จะกระจายไปสู่รูปแบบการท�ำงานแบบการกระจายอ�ำนาจ หรือแก้ไข
ปัญหาเรื่องอ�ำนาจ การตัดสินใจยังคงจะอยู่ในระดับจังหวัด งบประมาณที่ส่งมาแต่
ยังกระจุกตัวอยูทจงหวัดเท่านัน และเมือส่งเงินลงมาให้แล้ว หมดเมือไหร่งานก็จบลง
่ ี่ ั
้
่
่
ทันที การพัฒนาขีดความสามารถมันก็จะหมดไป
	 บนความโชคดี หรือนี่เรียกว่าความบังเอิญ ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
มีทีมงานยุคบุกเบิกด้านเด็กและเยาวชน เข้ามาท�ำงานในมหาวิทยาลัย วิธีคิดของ
คนกลุ่มนี้คือพลังในการคิดใหม่ท�ำใหม่ คิดจากประสบการณ์ คิดจากมุมมองของ
คนท�ำงานด้านเด็กและเยาวชน เพื่อให้เกิดการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน เกิดการ
เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้นในลักษณะที่สุดๆ  
	 หากจะพูดถึงประเด็นการพัฒนาเด็กมันควรทีจะเกิดขึนจากการเรียนรู้ เพราะการ
่
้
เรียนรูจะท�ำให้เขาได้ลงมือปฏิบตได้ดวยตัวเอง มันเป็นการแสดงออกทางด้านทักษะ
้
ั ิ ้
วิธคด การเห็นทางคุณค่าในตัวเอง เมือเด็กได้ลงมือท�ำในสิงเหล่านัน เราจะเรียกมันว่า พลัง
ีิ
่
่
้
	 พลังสามารถเกิดขึ้นได้ ถ้าเขาได้รับโอกาส พลังสามารถที่จะเปลี่ยนได้ ถ้าเขา
ได้เห็นคุณค่า พลังสามารถท�ำให้ท�ำให้เรื่องดีๆ เกิดขึ้นได้ ถ้าเขาได้รับความส�ำคัญ
ดังนั้นเรามาช่วยกันสร้างพลังให้กับเด็กและเยาวชน ร่วมกันภายใต้ความคิดที่ว่า
พลังเด็กเปลี่ยนโลก
8 นายวิโรฒ มีแก้ว

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประชุม ผงผ่าน
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
	 การเข้ามารูจกกับโครงการขับเคลือนงานด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังหวัด
้ั
่
: อุบลราชธานี ครั้งแรกเริ่มรู้จักก่อนที่จะเข้ามารับต�ำแหน่งอธิการบดี ซึ่ง ณ เวลานั้น
ได้รับเชิญให้เข้าร่วมเป็นคณะที่ปรึกษา เพื่อให้ค�ำแนะน�ำข้อเสนอแนะในเรื่องของ
การเขียนโครงการ และรูปแบบกิจกรรมที่มีความเหมาะสมกับการพัฒนาศักยภาพ
ให้กบเด็กและเยาวชน เพือน�ำไปสูการปรับปรุงโครงการ และขอรับการสนับสนุนงบ
ั
่
่
ประมาณ จาก สสส.
	 กิจกรรมทางด้านสภาเด็กและเยาวชน ถือว่าได้ว่าเป็นกิจกรรมที่ดีที่จังหวัด
อุบลราชธานี ได้มีโครงการเกี่ยวกับสภาเด็กและเยาวชนขึ้นมาก่อน ก่อนที่จะมี
โครงการขับเคลื่อนขึ้นมาในระยะที่ 2 ซึ่งโครงการนี้เป็นโครงการของภาคเอกชนที่
อยู่นอกรัวมหาวิทยาลัย เป็นกลุมของท่านผูใหญ่ใจดีทได้ชวยกันสร้างโครงการดีๆนี้
้
่
้
ี่ ่
ขึ้นมา เป็นโชคดีของมหาวิทยาลัยประการหนึ่งที่ในช่วงเวลาก่อนหน้าที่ต้องเข้าร่วม
กับโครงการนี้อย่างจริงจัง  มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ได้รับบุคลากรที่เคย
ด�ำรงต�ำแหน่งประธานสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานีเข้ามาท�ำงานใน
รั้วมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จ�ำนวน 2 คน ทั้ง 2 คนมีประสบการณ์ท�ำงาน
ด้านนี้มาก่อนแล้ว 6-7 ปี มีผลงานที่ส่งผลลัพธ์ที่ดีให้กับการพัฒนาของจังหวัด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประชุม ผงผ่าน 9
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

อุบลาชธานี เมือบุคลากร 2 คนนี้ ได้เข้ามาท�ำงานภายในรัวมหาวิทยาลัย ท�ำให้ความ
่
้
เชือถือของมุมมองจากภายนอกมีตอมหาวิทยาลัยดีขน แต่อาจจะเลยเถิดไปบ้างว่า
่
่
ึ้
โครงการด้านสภาเด็กและเยาวชนเป็นโครงการของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
แต่จริงๆแล้วจะยอมให้เข้าใจแบบนี้เลยเถิดไปเลยคงจะไม่ได้ เนื่องจากการท�ำงาน
ด้านเด็กและเยาวชนไม่ควรที่จะมีเจ้าภาพเพียงคนเดียว หน่วยเดียว เราจะต้องเน้น
การท�ำงานในลักษณะภาคีเครือข่าย ร่วมกันกับจังหวัดอุบลราชธานี องค์การปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ศาลเด็กและเยาวชน หน่วยราชการ สถานศึกษา ผู้ใหญ่ใจดี ฯลฯ โดย
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จะร่วมก�ำกับและดูแลในเรื่องของศูนย์ประสาน
งาน ทรัพยากร สถานที่ประชุม คณะท�ำงาน และที่วิทยากรกระบวนการ หน่วย
สนับสนุนและส่งเสริมข้อมูลทางด้านวิชาการ ซึงสิงเหล่านีจะเกิดขึนก่อนทีจะเข้ามา
่ ่
้
้
่
รับต�ำแหน่งอธิการบดี แต่ ณ วันนี้คงจะกล่าวได้ว่าเราได้รับเอาภารกิจนี้เข้ามาเป็น
ภารกิจของมหาวิทยาลัยได้อย่างเต็มตัว
	 ในฐานะทีเ่ ป็นอธิการบดี โครงการนีผมถือเป็นโครงการทีดี ถือได้วาเป็นโครงการที่
้
่
่
ให้ความส�ำคัญกับเด็กและเยาวชนโดยไม่เลือกประเภท ไม่เลือกคุณลักษณะ ว่าเด็ก
เหล่านีจะอยูในระบบหรือนอกระบบ เพียงแต่เราต้องการให้เขาได้มโอกาสแสดงออก
้
่
ี
ทางความคิด ได้ลงมีท�ำ  และได้รับการยอมรับในสังคม ให้เขาเป็นส่วนส�ำคัญของ
สังคม ส่วนส�ำคัญของพื้นที่การศึกษา ส่วนส�ำคัญของพื้นที่ในชุมชน มีการมองเห็น/
ยอมรับการมีตวตน ไม่โยนปัญหาเหล่านีไปให้ใครคนใดหนึงเป็นผูรบผิดชอบแต่เพียง
ั
้
่
้ั
ผู้เดียว ดังนั้นในส่วนของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จึงเข้ามามีส่วนร่วมเป็น
เครือข่ายในการท�ำงานเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการท�ำงานทางด้านสภาเด็กและ
เยาวชน และผมเองก็ขอชื่นชมกับโครงการดีๆ โครงการนี้ ว่ามีความจริงใจ สนใจที่
จะแก้ไขปัญหาให้กับเด็กๆ เข้าใจในตัวตนของเด็กๆ เพื่อให้เขาเหล่านี้มีแนวทางที่
พัฒนาตนเองไปสูความเป็นพลเมืองและพลโลกทีมความสมบูรณ์เป็นทียอมรับและ
่
่ ี
่
มีช่องทางที่สามารถประสบผลส�ำเร็จด้วยตนเองในอนาคต
10 นายวิโรฒ มีแก้ว

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สนธยา เกาะสมบัติ
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริการวิชาการชุมชน
	 การท�ำงานทางด้านสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานี ถือได้วาเป็นงานทีมความท้าทาย
่
่ี
ดังนั้นเมื่อเข้ามารับต�ำแหน่งผมเองก็จะเริ่มท�ำการศึกษาหาข้อมูล รูปแบบการท�ำงาน
ฯลฯ ทีเ่ กียวข้องด้วยตัวเอง พร้อมทังได้เข้าร่วมงานกับทาง สสส. ทีได้จดขึน เพือเป็นการ
่
้
่ ั ้ ่
ศึกษาข้อมูลต่างๆ และน�ำเอาความรูทได้นำมาใช้ประกอบร่วมกับการท�ำงาน ยกตัวอย่าง
้ ี่ �
เช่น เมื่อเข้ามารับต�ำแหน่ง ก็ได้ท�ำการบูรณาการให้คณะต่างๆ ในมหาวิทยาลัยได้เข้า
มามีสวนร่วมกับส�ำนักบริการวิชาการชุมชน เพือท�ำการศึกษาศักยภาพของสภาเด็กและ
่
่
เยาวชนใน 25 ต�ำบล จากการขยายผลในครั้งที่ 1 ท�ำให้ทราบได้ว่าแต่ละพื้นที่มีปัญหา
การท�ำงานทางด้านสภาเด็กทีแตกต่างกัน เช่น บางพืนทีมงบประมาณแต่ไม่มคนท�ำงาน
่
้ ่ ี
ี
บางพื้นที่มีคนท�ำงานแต่ไม่มีกิจกรรม ฯลฯ จึงท�ำให้การท�ำงานทางด้านสภาเด็กไม่เกิด
ความต่อเนื่อง ดังนั้นส�ำนักบริการวิชาการชุมชนจึงต้องเข้ามาร่วมกันหาวิธีการแก้ไข
ปัญหาเหล่านี้ร่วมกันกับทางพื้นที่ 25 ต�ำบล (ระยะที่ 1) ด้วยวิธีการฝึกอบรมให้ความรู้
เกียวกับการเป็นวิทยากรกระบวนการ การสร้างแนวคิดในการท�ำงาน การเขียนโครงการ
่
เพื่อขอรับการสนับสนุน และลงพื้นที่เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสภาเด็ก
และเยาวชนโดยเริ่มจากการให้ความรู้กับบุคลกร 2 กลุ่มแรก คือ
	 1) ผูนำชุมชน เพราะการท�ำงานทางด้านเด็กและเยาวชนจะต้องอาศัยผูใหญ่มาเป็นผู้
้�
้
ก�ำหนนโยบายทั้งเรื่องของการเขียนโครงการ และการสนับสนุนในด้านอื่น ๆ ถ้าหากจะ
มองในมุมของงบประมาณอาจจะไม่ใช่เรืองใหญ่ เนืองจากในหลากหลายกิจกรรมทีเ่ ด็ก
่
่
และเยาวชนสามารถที่จะท�ำได้โดยไม่ต้องใช้งบประมาณก็มี ยกตัวอย่างเช่น งานทาง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สนธยา เกาะสมบัติ 11
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริการวิชาการชุมชน

ประเพณี(ช่วยบุญงานศพ) การท�ำความสะอาดหมู่บ้าน อบรมคุณธรรมและจริยธรรม
ฯลฯ ก็เป็นการขับเคลื่อนโครงการได้โดยไม่ต้องใช้งบประมาณ
	 2) ผู้ปกครอง บางท่านเห็นเด็กมาอยู่รวมกลุ่มกันท�ำกิจกรรมผู้ปกครองบางท่านอาจ
จะมองเป็นเรืองของการมังสุม ดังนันเพือให้เกิดความสบายใน เราจึงได้จดท�ำประชาคม
่
่
้ ่
ั
เพื่อเชิญทางผู้ปกครองและกลุ่มเด็กให้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับโครงการนี้ร่วมกัน
	 หากจะมองเรื่องของความส�ำเร็จกับการท�ำงานทางด้านสภาเด็กให้ส�ำคัญลงไปใน
พื้นที่ทั้งหมด จาก 25 ต�ำบล อย่างน้อยเราก็ได้ มา 21 ต�ำบล ที่ได้ก�ำหนดโครงการต่างๆ
ทีเ่ กียวข้องกับทีมสภาเด็กและเยาวชน ลงไว้ในเทศบัญญัตของเขาเอง ทังมีการก�ำหนด
่
ิ
้
เป็นงบประมาณและก�ำหนดโครงการอย่างน้อง 2-3 โครงการต่อปี เพียงเท่านี้ก็ถือว่า
ประสบความส�ำเร็จในระยะที่ 1 แต่ถ้าต้องการพูดถึงเรื่องของความส�ำเร็จได้เราคงต้อง
พูดลึกลงไปในทุกพืนที่ ทุกอ�ำเภอโดยการก�ำหนดให้เป็นภารกิจขององค์การปกครองส่วน
้
ท้องถินในทุกพืนทีของจังหวัดอุบลราชธานี ซึงในขณะนีเ้ องทางจังหวัดได้เชิญผูทมสวน
่
้ ่
่
้ ี่ ี ่
เกี่ยวข้องให้เข้าร่วมประชุมเพื่อท�ำความเข้าใจให้ไปในทิศทางเดียวกันได้ และให้ความ
ส�ำคัญทั้งเด็กในระบบและนอกระบบให้เกิดทักษะได้รับการดูและและใจใส่ร่วมกัน
	 หากจะถามว่าปัจจัยที่จะท�ำให้การท�ำงานทางด้านเด็กและเยาวชนประสบความ
ส�ำเร็จเราคงต้องมองที่ปัจจัยหนุนเสริมดังต่อไปนี้ คือ
	 1) การปกครอง ตั้งแต่ผู้ว่าราชการจังหวัดลงมาสู่ นายอ�ำเภอ นายกเทศมนตรี จะ
ต้องให้ความส�ำคัญ และจริงใจในการท�ำงานเพื่อพัฒนาเด็กร่วมกัน
	 2) ผู้น�ำชุมชน ต้องให้ความส�ำคัญ ทั้งสนใจและใส่ใจอย่างจริงจัง
	 3) เด็กและเยาวชน จะต้องให้ความส�ำคัญเอาจริงเอาจัง พร้อมทังสิงไม้ตอไปยังกลุม
้ ่ ่
่
ต่างๆ เพื่อให้งานเดินต่อได้
	 4) งบประมาณ พื้นที่ควรจะตั้งงบประมาณเพื่อให้การสนับสนุนส่งเสริมการท�ำงาน
ทั้งดานเด็กและเยาวชนอย่างแท้จริง
	 5) สถานศึกษา จะต้องบูรณาการทางด้านการศึกษา วิชาการ เพื่อส่งเสริมความรู้ให้
กับเด็กๆ ในพื้นที่
	 6) ภาคีเครือข่าย จังหวัด อปท. สถาบันการศึกษา NGO. และเด็กและเยาวชน
จะต้องมาร่วมกันท�ำงาน เพื่อให้เกิดการพัฒนาไปข้างหน้าร่วมกัน
	 การท�ำงานทางด้านเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานีคงจะไม่หยุดคิด หยุดท�ำ 
หยุดพัฒนาอย่างแน่นอน เพือให้การท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนเกิดความยังยืนและเกิด
่
่
ความต่อเนืองเราก็จะต้องอาศัยภาคีทกภาคส่วนให้เข้ามาช่วยในการขับเคลือนโครงการ
่
ุ
่
สภาเด็กและเยาวชนไปพร้อมๆ กัน
ส รี พิ พ์พรหม
12 นางชิฒาพัชมชนมองค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน
นักพั นาชุ

นางชิสาพัชรี พิมพ์พรหม
นักพัฒนาชุมชน
องค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน

สร้างความคุ้นเคยกับเด็กๆ
	

ให้เหมือนการท�ำงานร่วมกับลูกหลาน
นางชิสาพัชรี พิมพ์พรหม 13
นักพัฒนาชุมชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน

	 การเข้ามารับผิดชอบในส่วนของสภาเด็กในปี 2553 นันเริมเกิดขึนตามบทบาท
้ ่
้
หน้าที่ของนักพัฒนาชุมชน แต่เมื่อเข้ามาร่วมบริหารจัดการแล้ว ท�ำให้ทราบได้ว่า
ต�ำบลกาบิน ที่เป็นต�ำบลขนาดใหญ่ มีด้วยกันทั้งหมด 14 หมู่บ้าน มีปัญหาหลักๆ
ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจากการที่เด็กๆ ไม่ได้ใช้เวลาว่างให้เกิด
ประโยชน์อย่างสูงสุด เช่น การทีเ่ ขาไม่ไปช่วยพ่อแม่ทำนา แต่กลับขอเงินเพือมาเติม
�
่
น�้ำมันรถจักรยานยนต์ ขับรถเล่น ภายในหมู่บ้าน จึงท�ำให้ได้ย้อนกลับมาคุยร่วมกับ
ผูบริหารภายในองค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน ดังนันทางผูบริหารจึงได้เริมให้ความ
้
้
้
่
ส�ำคัญในโครงการและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชน ดั้งนั้น ท่านผู้บริหาร
จึงได้มอบหมายให้หัวหน้าส่วนกองการศึกษา คุณสุจินตนา ป้องไพสิฐศักดิ์ เข้ามา
ร่วมรับผิดชอบร่วมด้วย
	 เมือเข้ามาร่วมรับผิดชอบโครงการทีเกียวกับสภาเด็กฯ ได้ตงความคาดหวัง
่
่ ่
ั้
ว่าในการท�ำงานครั้งนี้ ต้องการให้กิจกรรมที่เกี่ยวกับเด็กและเยาวชน สามารถที่
จะน�ำไปสู่การแก้ปัญหาให้กับต�ำบลได้ หรือต้องการให้มีการสนับสนุนและหนุนเส
ริมเด็กๆ ที่เขามีพรสวรรค์ในการคิดและท�ำในสิ่งที่สร้างสรรค์ หรือจะพูดอีกนัยหนึ่ง
ก็คือ อยากให้เด็กๆ ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และต้องการให้เด็กๆ ขยายผล
ลงสูเพือนๆ ในบ้านเดียวกันให้สามารถทีเ่ ข้ามาท�ำงานร่วมกันได้ เพราะ พีเลียงเองมี
่ ่
่ ้
ความเชื่อที่ว่า การจัดตั้งกลุ่มสภาเด็กจะช่วยแก้ไขปัญหาสังคมได้แน่นอน เช่น การ
ใช้เวลาว่างของเด็ก จากทีตางคนต่างใช้เวลาว่างไม่เกิดประโยชน์ อย่างน้อยๆ ให้เด็ก
่ ่
ส รี พิ พ์พรหม
14 นางชิฒาพัชมชนมองค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน
นักพั นาชุ
ได้มาร่วมกันท�ำกิจกรรม ร่วมกันคิด ร่วมกันท�ำ  ร่วมกันสร้างสรรค์และแก้ไขปัญหา
ในกิจกรรม ท�ำให้เด็กรู้ปัญหาของชุมชนตัวเอง ไม่ว่าจะเป็นปัญหาของเด็กเองและ
ปัญหาในชุมชนด้วย ซึ่งขอยกตัวอย่าง โครงการอาสาพัฒนาชุมชน มีการประสาน
กับคณะกรรมการ คือ ประธานของแต่ละหมู่บ้าน 14 หมู่บ้าน มาร่วมประชุมว่าจะ
ท�ำกิจกรรมอะไรที่สามารถท�ำให้เด็กได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แล้วก็ได้เรียนรู้
ปัญหาในชุมชนตนเองด้วย จึงเกิดโครงการนีขนมา แล้วให้เด็ก 14 คนจาก 14 หมูบาน
้ ึ้
่ ้
ไปหาเครือข่ายมา เด็กก็จะไปหาเพื่อนมาคนละ 10 คน มีกิจกรรมการพัฒนาชุมชน
ขึ้นมา ออกไปท�ำความสะอาดหมู่บ้านและไปเยี่ยมผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส
เพื่อไปพูดคุยรวมถึงไปสร้างเครือข่ายให้กับเด็กและเยาวชนในหมู่บ้านที่ยังไม่ได้	
	 เข้าร่วมโครงการ ส่วนการท�ำงานของ  พเี่ ลียงจะมีหน้าทีเ่ กียวกับการประสานงาน
้
่

เป็นส่วนใหญ่ และให้ค�ำปรึกษากับเด็กๆ คือ ถ้าเขาติดกับกิจกรรมตัวไหน ถ้าจะท�ำ
กิจกรรมตัวนี้แต่มันยาก เด็กก็จะเข้ามาปรึกษาเพื่อหาวิธีการแก้ไขปัญหานั้นๆ  จาก
การท�ำงานทีผานมากิจกรรมทีเ่ กียวข้องกับสภาเด็ก จะได้รบการสนับสนุนจากทางผู้
่่
่
ั
บริหารทั้งการให้ความร่วมมือ แล้วก็ยังสนับสนุนด้านงบประมาณและสนับสนุนให้
ไปร่วมกิจกรรมสภาเด็กของจังหวัดอีกด้วย หากงบประมาณของเทศบาลมีจ�ำนวน
จ�ำกัดไม่เพียงพอต่อการด�ำเนินงาน พีเลียงจะด�ำเนินการประสานความร่วมมือ ช่วย
่ ้
นางชิสาพัชรี พิมพ์พรหม 15
นักพัฒนาชุมชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน

เด็กในการเขียนโครงการเพือจะเสนอหน่วยงานทีสามารถช่วยเหลือเรืองงบประมาณ
่
่
่
ได้
	 การติดต่อประสานงานกับเด็กๆ ในการด�ำเนินโครงการสามารถท�ำได้หลายวิธี
เนื่องจากพี่เป็นคนในพื้นที่อยู่แล้ว รู้จักเด็ก และมีความคุ้นเคย เหมือนกับการเป็น
ลูกเป็นหลาน ลูกหลานเราที่อยู่ในชุมชน หรือเด็กๆ ก็จะมีเพื่อนในหมู่บ้านต่างๆ เช่น
โรงเรียนบ้านกาบิน เป็นโรงเรียนที่หลายชุมชนเข้ามาเรียน ดังนั้นเราจะให้เด็กๆของ
เราเขาไปขยายผลเพือหากลุมตัวอย่างด้วยวิธการชักชวนเพือนๆ ให้เข้ามาร่วมกันท�ำ
่
่
ี
่
กิจกรรม เริ่มแรกเอาคนใกล้ตัวก่อนแล้วค่อยให้เพื่อนชวนเพื่อน จาก 2 เป็น 4 จาก
4 เป็น 8 เมื่อสภาเด็กและเยาวชนของเราได้เริ่มมีบทบาทมากยิ่งขึ้น พี่เลี้ยงก็จะขอ
เชิญประชุมแบบเป็นทางการ จะประชุมสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง ถ้าช่วงไหนที่เด็กไม่ติด

เรียน พี่เลี้ยงจะใช้การประสานงานผ่านโทรศัพท์เพื่อไม่ให้การท�ำเกิดปัญหาล่าช้า
ซึ่งในการประชุม พี่เลี้ยงจะมีการพูดคุยเกี่ยวกับกิจกรรมที่เด็กๆ อยากที่จะท�ำ  และ
รูปแบบของโครงการที่จะด�ำเนินงาน การท�ำงานทางด้านเด็กและเยาวชน จะต้องมี
แผนเพือรองรับซึงในส่วนนีเ้ อง กองการศึกษาจะเป็นรับผิดชอบกับตัวโครงการนี้ และ
่
่
ได้มการก�ำหนดกิจกรรมเกียวกับเด็กเอาไปไว้ในส่วนของกองการศึกษาหากจะพูดถึง
ี
่
กิจกรรมทีทำ จะมีการติดตามและประเมินผลอย่างไร ถ้าจัดเป็นรูปแบบของโครงการ
่ �
ก็จะติดตามประเมินผลเป็นแบบสอบถาม แต่ทกกิจกรรมจะประเมินด้วยการสังเกต
ุ
และประเมินความร่วมมือของเด็กด้วย เพือให้จะได้ทราบว่าเด็กให้ความส�ำคัญมาก
่
น้อยแค่ไหน ถ้ามีขอบกพร่องเราก็จะร่วมพูดคุยกับเด็ก  เมือท�ำกิจกรรมในแต่ละครัง
้
่
้
แล้วเสร็จพี่เลี้ยงจะต้องรายงานผลการด�ำเนินงาน กิจกรรมทุกกิจกรรมต้องรายงาน
ผู้บริหาร และท�ำการสรุปเป็นรูปเล่ม เพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐานในการด�ำเนินงาน
ส รี พิ พ์พรหม
16 นางชิฒาพัชมชนมองค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน
นักพั นาชุ
	 จากการสรุปผลการด�ำเนินโครงการที่ผ่านมา ท�ำให้ทราบได้ว่า กิจกรรมหรือ
โครงการทีภมใจมาก ก็คอ โครงการการฝึกเด็กให้รจกการสร้างอาชีพ หารายได้ดวย
่ ู ิ
ื
ู้ ั
้
ตนเอง ไม่ต้องแบมือขอเงินพ่อแม่ ลองให้เด็กไปหัดขายของดู เด็กก็ชอบ สนุกและ
ได้รจกวิธการหาเงิน และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ไม่ไปกวนพ่อแม่ ไม่ได้อยูเ่ ฉยๆ
ู้ ั ี
เพราะเด็กหารายได้ใช้เองได้ การด�ำเนินกิจกรรมดังกล่าวได้รบความสนใจจากเด็กๆ
ั
เป็นจ�ำนวนมาก เพราะตัวพี่เลี้ยงได้พูดคุยกับเด็กๆ อยู่ตลอดว่าเด็กอยากท�ำอะไร

และพวกเราจะต้องมาช่วยกันวางแผนการท�ำงานร่วมกัน  หากในกรณีมีปัญหา
ระหว่างการประชุมมีปญหาความคิดเห็นไม่ตรงกัน แต่กถอว่าเป็นการดี เพราะการที่
ั
็ื
แต่ละคนได้เข้ามาร่วมแลกเปลียนเรียนรูรวมกัน มันจะท�ำให้แต่ละคนได้แสดงความ
่
้่
คิดที่มีความหลากหลาย ถ้ามีความคิดที่แตกต่างกัน เราก็มาร่วมพูดคุยกัน ก็จะท�ำ
ให้เด็กๆ ได้มานั่งคุยกัน  ว่าอันไหนมันดีอันไหนไม่ดี  และอันไหนที่ดีที่สุดค่อยมาท�ำ
สิงนันก่อนเป็นอันดับแรก แล้วค่อยเรียงล�ำดับความส�ำคัญมากไปหาน้อย คือ จะไม่
่ ้
ทิงทุกปัญหาทีมการแสดงความคิดเห็น เพือน�ำไปสูการปรับปรุงงานใหม่ในรอบหน้า
้
่ ี
่
่
	 จากการท�ำงานทีผานมาทังหมดสามารถทีจะท�ำให้ทราบได้วาการประเมินตัวเอง
่่
้
่
่
ว่าตัวเองมีขอดีหรือข้อเสียอะไรบ้าง เพืออย่างน้อยเราจะได้นำมาสูการแก้ไขปรับปรุง
้
่
� ่
หากมองที่จุดแข็ง จุดอ่อนในบทบาทของพี่เลี้ยง สามารถท�ำให้เข้าใจได้ว่าความ
นางนุชลักษณ์ รุ่งเรือง 17
นักวิชาการศึกษา องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดยาลวน

ส�ำเร็จหรือจุดแข็งจะอยู่ที่การท�ำงานด้วยใจมากกว่า การท�ำงานกับเด็กในชุมชนก็
เปรียบเสมือนการท�ำงานให้ลูกให้หลาน อย่างน้อยเราอยู่ในชุมชนเราก็อยากให้เด็ก
ในชุมชนของตัวเองประสบผลส�ำเร็จ อยากให้เด็กเป็นคนดี แต่การท�ำงานก็จะต้อง
พบและประสบเจอกับ ปัญหาและอุปสรรคในการท�ำโครงการหรือกิจกรรม เหมือน
กัน ถ้ามีปัญหาอุปสรรคเกิดขึ้น พี่เลี้ยงจะไม่คิดคนเดียวหรือแก้ไขปัญหานั้นด้วยตัว
คนเดียว เพราะมันอาจจะท�ำให้การท�ำงานนั้นมีความแคบและแก้ไขไม่ครอบคลุม
กับปัจจัยทั้งหมด ดังนั้นเราไม่คิดคนเดียว แต่ก็ต้องประสานคนให้มาร่วมด้วย ก็ทั้ง
เพือนร่วมงานและผูบริหาร ถ้าปัญหาใหญ่มากๆ ก็ตองประสานหน่วยงานภายนอกที่
่
้
้
สามารถจะช่วยได้ เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีได้ชวยให้การสนับสนุนทาง
่
ด้านการพูดคุยกับเด็กๆ เมือเวลาเราพูดแล้วอยากให้เด็กฟังแบบไม่เบือ ดังนันอยาก
่
่
้
ให้ทางมหาวิทยาลัยเข้าช่วยให้ความรูทางด้านเทคนิค และช่วยให้การสนับสนุน ทัง
้
้
ทางด้านข้อมูลข่าวสาร วารสารเกียวกับสภาเด็ก เพราะอยากให้เด็กๆ ได้อานเพิมเติม
่
่ ่
ความรู้ในด้านต่างๆ เพิ่มขึ้น
นต�ำบลกุดยาลวน

สร้างกิจกรรมให้เกิดขึ้น
ภายในชุมชน
ให้เป็นรูปธรรมที่ยั่งยืน
นางนุชลักษณ์ รุ่งเรือง
นักวิชาการศึกษา องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดยาลวน
นางนุชลักษณ์ รุ่งเรือง 19
นักวิชาการศึกษา องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดยาลวน

	 เป็นพีเ่ ลียงหน้าใหม่ เพราะเข้ามารับงานนีได้ประมาณ 1 ปี (พ.ศ. 2555)  เนืองจาก
้
้
่
พี่เพิ่งได้ย้ายเข้ามาท�ำงานอยู่ที่นี่ ดังนั้นบทบาทหน้าที่ของนักวิชาการศึกษา กองส่ง
เสริมการศึกษา จะต้องเข้ามาร่วมรับผิดชอบในหน้าที่พี่เลี้ยงสภาเด็กเพิ่มขึ้นด้วย
โดยหน้าที่หลักๆ จะต้องรับผิดชอบในส่วนของการดูแลและให้ค�ำปรึกษาให้กับทีม
สภาเด็กและเยาวชน และช่วยสนับสนุนการท�ำกิจกรรมโครงการตามทีหน่วยงานได้
่
มอบหมายไว้ให้แล้ว ในทีมพี่เลี้ยงสภาเด็กจะมีทีมงานอยู่อีกหลายท่าน  คุณครูสม
จิตร กิ่งแดง ฝ่ายการศึกษานอกระบบ และ ค�ำภา บุญวัง ครูช�ำนาญการบ้านคลึง
ฝ่ายการประถมศึกษา และคณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนต�ำบล        กุดยาลวน  
เจ้าหน้าที่ และพนักงานทุกคน ดังนันการท�ำกิจกรรมของสภาเด็กและเยาวชนจะมีผู้
้
ร่วมรับผิดชอบอยูหลายคน ปัญหาเรืองของพีเ่ ลียงมีไม่เพียงพอก็ไม่ใช่ปญหาส�ำหรับ
่
่
้
ั
ที่กุดยาลวน
	 การท�ำงานในส่วนของการศึกษาและวัฒนธรรมตรงนี้เป็นหน้าที่หลักในการส่ง
เสริมทางการศึกษา จึงท�ำให้เราจะต้องมาให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาเด็กและ
เยาวชนในต�ำบล ต้องเปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนได้แสดงออกถึงศักยภาพ ความ
สามารถทีตนมี ให้เด็กได้ทำกิจกรรมเพือสังคม ให้เป็นประโยชน์ให้แก่ชมชน และยัง
่
�
่
ุ
คาดหวังว่า อยากให้เด็กได้ท�ำกิจกรรม และสร้างกิจกรรมให้เกิดขึ้นภายในชุมชนให้
เป็นรูปธรรมทียงยืน เพือน�ำไปสูการแก้ไขปัญหาสังคมให้ได้ อย่างเช่นปัญหายาเสพ
่ ั่
่
่
ติด โดยการใช้กจกรรมเข้ามาบ�ำบัด และสนับสนุนให้กจกรรมสามารถดึงเด็กให้หาง
ิ
ิ
่
ไกลจากปัญหายาเสพติด  ในครังแรกพีเ่ ลียงได้ดำเนินการจัดโครงการปันปูนปันเด็ก
้
้
�
้
้
(ปูนปาสเตอร์)  เพือเป็นการส่งเสริมให้เด็กมีความรูมทกษะในการท�ำงานศิลปะ และ
่
้ ี ั
สามารถทีจะฝึกสมาธิและความอดทนให้กบเด็กๆ ในชุมชนได้อกด้วย กิจกรรมนีกได้
่
ั
ี
้็
รับความสนใจจากเด็กๆ ในพื้นที่เป็นจ�ำนวนมาก
	 ในปัจจุบนนี้ งานด้านสภาเด็กถือได้วาเป็นงานทีพเี่ พิงเข้ามารับผิดชอบ เนืองจาก
ั
่
่ ่
่
สมัยก่อน อบต. จะเข้ามาก�ำกับดูแลในภาพรวม และในส่วนของคณะผูบริหารจะช่วย
้
ดูแลในส่วนของโครงการทีทำในครังแรก ซึงท่านผูบริหารเองก็เล็งเห็นถึงความส�ำคัญ
่ �
้
่
้
ของการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับเด็กๆ เพราะท่านมองเด็กในต�ำบลว่าเป็นเหมือน
รุ
20 นางนุชลักษณ์ษา่งเรือง การบริหารส่วนต�ำบลกุดยาลวน
นักวิชาการศึก องค์

ลูกเหมือนหลาน จึงได้ให้การสนับสนุนงบประมาณในการด�ำเนินโครงการเพิ่มจาก
ที่ได้รับงบประมาณจาก ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ จ�ำนวน
25,000 บาท และทาง อบต. ได้สนับสนุนให้อีก5,000 บาท รวมทั้งสิ้น 30,000 บาท
หากกรณีงบประมาณมีไม่เพียงพอ พี่เลี้ยงจะกระตุ้นให้เด็กๆ ระดมทุน โดยทุน ก็
คือ ทุนทางสมองของตัวเด็กเอง อย่างเช่น การปั้นปูนปาสเตอร์ เด็กจะเป็นคนท�ำเอง
แล้วน�ำไปขาย เพือหารายได้นำมาใช้ในการพัฒนาต่อยอด เพือน�ำมาสูการสร้างทุน
่
�
่
่
เล็กๆ มาเพิ่มรายได้ของเด็กๆ มากกว่า ที่จะบอกว่าในการท�ำกิจกรรมต้องมีเงินทุน
สนับสนุน และอีกอย่างหนึ่งในการสร้างโครงการไม่อยากให้เด็กๆ เห็นแก่เงิน แต่
ต้องการสร้างความกล้า และให้เข้าใจถึงการท�ำงานการหาเงิน และจะเป็นการสร้าง
ความมั่นใจให้ผู้ใหญ่ เพื่อให้เล็งเห็นถึงกิจกรรมที่จัดท�ำขึ้นว่ามีประโยชน์
	 การติดต่อสื่อสารกับกลุ่มเด็กๆ สามารถจะท�ำได้หลายวิธี ต้วอย่างเช่น การติดต่อ
สื่อสารเพื่อเชิญให้เข้าร่วมโครงการกีฬาต้านยาเสพติด บุญประเพณีต่างๆ ประเพณี
ลอยกระทง ในส่วนนี้สามารถสื่อสารกับเด็กได้โดยตรง เมื่อพบหน้ากันบริเวณใดพี่
เลี้ยงก็จะใช้วิธีการพูดเพื่อเชิญชวนให้ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรม ในส่วนของเด็กที่ท�ำ
กิจกรรมในระดับมัธยมศึกษา จะเลือกใช้วธการติดต่อสือสารกันเองภายในกลุมเด็ก  
ิี
่
่
เพื่อจะนัดวันจัดประชุมวางแผนงานในการประชุมว่าจะมีการด�ำเนินกิจกรรมในรูป
แบบใดบ้าง ก่อนด�ำเนินกิจกรรมจะต้องมีการประชุม แต่เด็กๆ เขาจะนัดวันและเวลา
เพือประชุมกันเองภายในกลุมเสียก่อน เมือได้ขอสรุปแล้วจึงจะด�ำเนินการแจ้งพีเ่ ลียง  
่
่
่ ้
้
ในส่วนของพีเ่ ลียงจะคอยดูวาสิงไหนดีหรือไม่ดี คอยกระตุนให้เด็กๆ ได้คดหากวิธการ
้
่ ่
้
ิ
ี
ที่เหมาะสม เช่น เด็กๆ มีความคิดที่อยากจะปั้นตุ๊กตาปูนเพื่อหารายได้ จะได้น�ำเงิน
มาใช้ในการพัฒนากิจกรรมของเด็กๆ ต่อไป เมื่อเด็กขาดการสนับสนุนปูนปาสเตอร์
เด็กๆก็มาปรึกษาว่าอยากจะปันปูนปาสเตอร์ เพือจะน�ำไปสูการรวมกลุม  เมือพีเ่ ลียง
้
่
่
่ ่ ้
ประสานหาปูนปาสเตอร์มาให้ได้  เด็กๆจึงได้ลงมือท�ำกิจกรรม ส่วนพี่เลี้ยงจะมีหน้า
ทีในการสรุปผลการด�ำเนินโดยการประเมินความส�ำเร็จจากชินงาน พร้อมทังท�ำการ
่
้
้
สังเกตการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ของตุ๊กตาว่าตัวตุ๊กตา มีส่วนไหนขาดหายไปหรือเปล่า
เมื่อสรุปผลการด�ำเนินงานเป็นที่เรียบร้อย พี่เลี้ยงจะท�ำการสรุปเป็นรูปเล่มเพื่อน�ำ
นางนุชลักษณ์ รุ่งเรือง 21
นักวิชาการศึกษา องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดยาลวน

เสนอผลการด�ำเนินงานมาสู่การแก้ไขและปรับปรุงในปีถัดไป หากการด�ำเนินงาน
ประสบกับปัญหาคนในชุมชน ผูนำ ผูใหญ่ จะต้องมาช่วยกันก�ำกับดูแลและผลักดัน
้ � ้
กระตุ้นคนในสังคม ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ร่วมกัน
	 ในการท�ำงานทีผานมาของพีเ่ ลียงและสภาเด็ก เราสามารถทีวเิ คราะห์หาจุดแข็ง
่่
้
่
และจุดอ่อนที่เกิดขึ้นจากการท�ำงานได้ดังนี้
	 จุดแข็ง : การรวมกลุ่มของสภาเด็ก เพราะเด็กจะมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ ทั้งที่เรียน
หนังสือ และไม่ได้เรียนหนังสือ แต่เด็กๆ เหล่านีสามารถทีจะมาอยูรวมตัวกันได้ โดย
้
่
่
จะครอบคลุมเด็กทั้ง 7 หมู่บ้าน ในส่วนนี้จะส�ำคัญมากที่สุด เมื่อเด็กๆ ที่เข้ามารวม
กลุมกันจะมีเป้าหมายเดียวกัน เด็กๆต้องการทีจะรวมกลุมกันเพือท�ำให้ความฝันนัน
่
่
่
่
้
ประสบผลส�ำเร็จและเป็นสิ่งที่จะยั่งยืน โดยเฉพาะจุดมุ่งหมายเดียวกัน
	 จุดอ่อน : ด้านของการเสนอแนวคิดของเด็กๆ การเสนอไอเดีย การรวมพลังของเด็ก
ยังไม่ดเท่าทีควร อาจจะเพราะว่าเด็กๆ ให้ความส�ำคัญกับการใช้เทคโนโลยีมากกว่า
ี ่
และมีความสนใจในด้านการสร้างพลังน้อยลง 	
	 สิงทีพเี่ ลียงต้องการได้รบการสนับสนุน/หนุนเสริมเพือให้การด�ำเนินงานในบทบาท
่ ่ ้
ั
่
ของพี่เลี้ยงประสบความส�ำเร็จ ยังมีความต้องการให้มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี
เข้ามาให้ความช่วยเหลือในด้านการเขียนโครงการ การฝึกอบรม ให้ความรู้ หรือเมื่อเรา
ประสบปัญหาในการท�ำงาน เราอยากที่จะประสานขอความร่วมมือไปหาได้โดย
สะดวก
22 นางสุกาฤตา ปากหวาน งคม เทศบาลต�ำบลขามใหญ่
หัวหน้ ฝ่ายสวัสดิการสั

รู้จักแยกแยะสิ่งดีและไม่ดี
ก็พอใจแล้ว
นางสุกฤตา ปากหวาน
หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการสังคม เทศบาลต�ำบลขามใหญ่
นางสุกฤตา ปากหวาน 23
หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการสังคม เทศบาลต�ำบลขามใหญ่

	 จุดเริ่มต้นของการเข้ามาท�ำงานเกี่ยวกับด้านเด็กและเยาวชน : ช่วงปี 2553 จะอยู่ในรูป
ของการเข้าร่วมประชุมกับทีมงานอย่างไม่เป็นทางการ เพราะรูปแบบการท�ำงานใน
ระยะนันยังไม่มทศทาง ความชัดเจนมากนัก จึงท�ำให้เทศบาลต�ำบลขามใหญ่ดำเนิน
้
ี ิ
�
การประชุมเพือหาผูรบผิดชอบดูแลในเรืองกิจกรรมโครงการและกิจกรรมพัฒนาเด็ก
่
้ั
่
และเยาวชน ทั้งในและนอกสถานศึกษาที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาล
ต�ำบลขามใหญ่ พร้อมทั้งการจัดการระบบสวัสดิการให้กับเด็กและเยาวชนด้วย
	 เมื่อมติของที่ประชุมได้สรุปว่า การท�ำงานที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชนนั้นจะ
ต้องท�ำการบูรณาการการท�ำงานร่วมกันในหลายๆ ฝ่าย เข้าไว้ด้วยกันจึงท�ำให้รูป

แบบการท�ำงานของเทศบาลแยกออกเป็น 2 ฝ่ายดังนี้
	 1. ส�ำนักปลัด : โดยฝ่ายสวัสดิการสังคม จะรับผิดชอบเกียวกับการท�ำกิจกรรมร่วม
่
กับเด็กและเยาวชนทังในและนอกเวลาราชการ พร้อมทังก�ำกับดูแล การจัดกิจกรรม
้
้
และการประสานของบประมาณให้แก่เด็กๆ
	 2. กองการศึกษา : จะรับผิดชอบเกี่ยวกับการท�ำกิจกรรมร่วมกับเด็กนักเรียนที่อยู่
ทั้งในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของเทศบาลต�ำบลขามใหญ่เป็นหลัก
	 เมื่อได้รับมอบหมายงานจากนายกเทศมนตรี ฝ่ายสวัสดิการสังคม  ได้ประชุม
ทีมงานเพื่อปรึกษาหารูปแบบและวิธีการการท�ำงานทางด้านเด็กและเยาวชน ที่จะ
24 นางสุกาฤตา ปากหวาน งคม เทศบาลต�ำบลขามใหญ่
หัวหน้ ฝ่ายสวัสดิการสั

สามารถน�ำมาใช้เป็นเทคนิคส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหาให้กับตัวเด็กและเยาวชน
ชุมชน สังคม และประเทศต่อไปได้ ดั้งนั้นแนวคิดที่น�ำมาใช้ในการท�ำงานส่วนหนึ่ง
จะมาจากเรืองของครอบครัวของตนเองและครอบครัวของญาติพนอง ซึงมีบตรหลาน
่
ี่ ้ ่ ุ
ที่ก�ำลังก้าวเข้าสู่วัยรุ่น ซึ่งเริ่มมีพฤติกรรมที่เริ่มเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางของการ
สร้างปัญหามากยิงขึน เช่น เด็กไม่เชือฟังค�ำสอนของผูใหญ่ ผูใหญ่สอนอะไรก็ไม่ฟง
่ ้
่
้
้
ั
บอกอะไรก็ไม่เชือ นอนดึก ตืนสาย ชอบเล่นเกมส์ เล่นโทรศัพท์ เล่นอินเตอร์เน็ต เฟส
่
่
บุ๊ค ประมาณนี้ และก็อีกประการหนึ่งเด็กและเยาวชนในเขตพื้นที่ต�ำบลขามใหญ่ มี
จ�ำนวนมากเนืองจากเป็นต�ำบลทีกว้างใหญ่ ยกตัวอย่างเช่น เด็กทีมอายุระหว่างแรก
่
่
่ ี
เกิดถึง 17 ปี จะมีอยูประมาณเจ็ดพันกว่าคน แต่ถาจะมอง 0-25 ปี ก็จะปริมาณหมืน
่
้
่
กว่าคน เมื่อมีเด็กและเยาวชนอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ปัญหาในพื้นที่ก็จะมีมากตามไป
ด้วย ประกอบกับเทศบาลขามใหญ่จะมีลักษณะพื้นที่เป็นชุมชนเมืองกึ่งชนบท ดัง
นั้นปัญหาที่เกิดขึ้นจะเป็นปัญหาทั้งทางด้านของเทคโนโลยีสารสนเทศ การมีเพศ
สัมพันธ์ก่อนวัยอันควร คุณแม่วัยใส เด็กติดเกมส์ ทะเลาะวิวาทกัน ฯลฯ หากมอง
มาถึงจุดนี้ ทีมงานของเราก็มองย้อนกลับมาคิดว่าเราจะช่วยเด็กกลุ่มนี้ได้อย่างไร
เพราะปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นเกิดขึ้นได้ทั้งภายในชุมชนและภายนอกชุมชน
	 ดังนันทางทีมงานจึงได้เปิดเวทีเพือให้เด็กๆ ในชุมชนได้เข้ามาแสดงออกทางความ
้
่
นางสุกฤตา ปากหวาน 25
หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการสังคม เทศบาลต�ำบลขามใหญ่

คิดร่วมกัน และทุกครั้งที่มีการประชุมสภาเด็กและเยาวชน ตัวพี่เองจะบอกกับลูก
หลานสภาเด็กเสมอว่า
“ในการประชุมหรืออบรมแต่ละครั้ง การตั้งเป้าหมายพี่จะไม่ได้หวังว่าในการอบรมจะ
ต้องได้ 50% เด็กจะรู้เรื่องและเข้าใจในการพัฒนาตนเอง อย่างน้อยได้กลุ่มย่อยๆ 5 คน
10 คน ไปก่อน และก็ขยายไปหาเพื่อน อย่างน้อยในกลุ่มที่เข้ามาร่วมกิจกรรมนี้แค่หวังว่า
ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และให้รู้จักคิดและแยกแยะสิ่งดีและไม่ดี ก็พอใจแล้ว”
นางสุกฤตา ปากหวาน
20 สิงหาคม 2556
	 เมื่อกลุ่มเด็กและเยาวชนของเทศบาลต�ำบลขามใหญ่ ได้เข้าใจรูปแบบของ
กิจกรรม จึงท�ำให้รปแบบของกิจกรรมเริมมีความหลากหลายมากยิงขึน เช่น กิจกรรม
ู
่
่ ้
การเข้าค่าย การศึกษาดูงาน การฝึกอบรม การฝึกอาชีพและส่งเสริมอาชีพ กิจกรรม
ด้านจิตอาสา พาน้องไปพัฒนาวัด พัฒนาชุมชน และพาไปเยี่ยมผู้พิการ ผู้สูงอายุ
ผู้ด้อยโอกาส ฯลฯ ซึ่งรูปแบบของกิจกรรมดังกล่าวจะเน้นการปลูกฝังให้เด็กได้รู้จัก
การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์กับปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสม ดังนั้นการ
สร้างบทบาทหน้าที่ พื้นที่กิจกรรมสร้างสรรค์ให้กับเด็กและเยาวชน จึงเป็นบทบาท
ที่ส�ำคัญของพี่เลี้ยงอย่างเรา ดังตัวอย่างของกิจกรรมดังนี้
	 1. กิจกรรมพัฒนาและอบรมแกนน�ำเด็กและเยาวชนที่อยู่ในพื้นที่ให้เข้ามาร่วม
26 นางสุกาฤตา ปากหวาน งคม เทศบาลต�ำบลขามใหญ่
หัวหน้ ฝ่ายสวัสดิการสั
อบรมเชิงปฏิบัติการกับทางเทศบาล ซึ่งในรูปแบบกิจกรรมนี้จะมีการเชิญวิทยากร
จากภายนอกชุมชนทีมความรูความสามารถมาให้ความรู้ เพือให้เด็กเกิดการพัฒนา
่ ี
้
่
ทักษะตัวเอง ทักษะการเป็นผู้น�ำ ให้กล้าคิด กล้าพูดต่อที่สาธารณะ
	 2. กิจกรรมการเข้าค่ายทั้งในพื้นที่ของเทศบาลและนอกสถานที่(อุทยานแห่งชาติ
ภูจองนายอย) เพื่อให้เด็กๆ ได้รู้จักการคิดวิเคราะห์เหตุผล จากสถานการณ์ปัญหา
สังคมในปัจจุบัน ผ่านการแสดงละครเวที ซึ่งกลุ่มเด็กที่เข้าร่วมกิจกรรม 25 คน ต่าง
ให้การตอบรับรูปแบบการท�ำกิจกรรมเป็นอย่างดี ผ่านการสัมภาษณ์ การสอบถาม
กลุ่มเด็กๆ เริ่มมีการตื่นตัวและเริ่มที่จะแสดงออกในรูปแบบการท�ำงานมากยิ่งขึ้น
ประเด็นการเข้าร่วมสังเกตการณ์การด�ำเนินกิจกรรมของเด็กและเยาวชน หากเป็น
ไปได้จะเข้าร่วมการด�ำเนินงานด้วยทุกครั้ง เพื่อเป็นการติดตามดูพัฒนาการณ์ของ

เด็กๆ ว่ามีพัฒนาการในด้านใดที่เปลี่ยนแปลงไปบ้างหรือไม แม้กระทั้งการไปรับส่ง
เด็กๆ ทีเ่ ข้ารับการอบรม ทางเราเองก็จะใช้เวลาระหว่างการเดินทางเพือสอบถามสาร
่
ทุกข์สุขดิบ และเป็นช่วงเวลาที่ท�ำให้พี่เลี้ยงและเด็กเปิดใจได้มากยิ่งขึ้น
	 การด�ำเนินกิจกรรมที่ผ่านมาของเทศบาลต�ำบลขามใหญ่ จะได้รับการสนับสนุนจาก
ทางผู้บริหารในหลากหลายด้าน เช่น ด้านสนับสนุนงบประมาณ ทรัพยากรเครื่อง
ใช้ไม่สอย และความสะดวกต่างๆ อย่างเต็มที่ เพราะผู้บริหาร ได้เล็งเห็นถึงความ
ส�ำคัญของการเด็กและเยาวชน หากขาดเหลือสิ่งใด ด้านใด ทางพี่เลี้ยงสามารถที่
จะประสานงานและขอรับการสนับสนุนได้ทันที่ ยกตัวอย่างเช่น เทศบาลได้ก�ำหนด
นางสุกฤตา ปากหวาน 27
หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการสังคม เทศบาลต�ำบลขามใหญ่

งบประมาณการด�ำเนินโครงการในด้านต่างๆ ไว้ในเทศบัญญัติของเทศบาล ซึ่งได้
ก�ำหนดไว้ว่าภายใน 1 ปี จะมีการด�ำเนินโครงการอย่างน้อย 7-8 โครงการ เฉพาะ
ในส่วนของฝ่ายสวัสดิการสังคมเป็นผู้รับผิดชอบ โดยมีการก�ำหนดไว้โครงการละ
30,000 -50,000 บาท นอกจากนีกจกรรมของเด็กและเยาวชนของเทศบาลขามใหญ่
้ิ
ไม่ได้มีเฉพาะงบประมาณภายในเท่านั้น แต่ยังได้รับการสนับสนุนจาก ส�ำนักงาน
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี
พัฒนาสังคมและความมังคงจังหวัดอุบลราชธานี ศูนย์พฒนาสังคม 74 อุบลราชธานี
่
ั
และส�ำนักส่งเสริมบทบาทสตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส นักการเมืองท้องถิ่น ฯลฯ เป็น
ผู้ให้การสนับสนุนงบประมาณในการด�ำเนินกิจกรรม ถ้าในการด�ำเนินกิจกรรมงบ
ประมาณไม่เพียงพอทางเราเองก็ยังมีเครือข่าย เพื่อประสานขอรับความช่วยเหลือ

	 การด�ำเนินกิจกรรมและโครงการในแต่ละครั้งพี่เลี้ยงจะเลือกใช้วิธีการติดต่อกับ
เด็ก ผ่านหลายช่องทาง อาทิ การประสานงานทางโทรศัพท์ Fackbook ประสานงาน
ผ่านทางเพื่อน ประสานงานที่บ้าน ที่โรงเรียน และทุกช่องทางที่สะดวก เพื่อเชิญเข้า
ร่วมประชุม เชิญเข้าร่วมกิจกรรม บางครังเราจะต้องประสานผ่านกลุมโรงเรียนขยาย
้
่
โอกาส ทัง 4 โรงเรียนในเขตพืนทีของเรา ได้แก่ โรงเรียนบ้านขามใหญ่ โรงเรียนประชา
้
้ ่
สามัคคี โรงเรียนหัวค�ำ และโรงเรียนด้ามพร้า เพือให้เด็กในกลุมโรงเรียนขยายโอกาส
่
่
นี้ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนากิจกรรมร่วมกัน
28 นางสุกาฤตา ปากหวาน งคม เทศบาลต�ำบลขามใหญ่
หัวหน้ ฝ่ายสวัสดิการสั
	 รูปแบบการประชุมจะมีอยูหลากหลายรูปแบบ ทังแบบทีเ่ ป็นทางการและไม่เป็น
่
้
ทางการบางครังถ้าไม่เป็นทางการเมือท�ำกิจกรรมเสร็จเราก็จะร่วมกันไปทานอาหาร
้
่
และปรึกษาหารือกันว่าจะท�ำกิจกรรมในรูปแบบไหนต่อไป
	 การท�ำกิจกรรมเด็กได้บรรจุเข้าในแผนสามปี และแผนการด�ำเนินงานทุกๆ ปี เพือ
่
เป็นการก�ำหนดทิศทางการพัฒนากลุ่มเด็กและเยาวชนว่าควรจะเป็นไปในทิศทาง
ไหนได้บ้าง เนื่องจากกลุ่มสภาเด็กของทางเทศบาลจะมีการเปลี่ยนแปลงทุกๆ 2 ปี
เนื่องจากเด็กๆบางคนเริ่มโตเป็นผู้ใหญ่ บางคนก็จะต้องไปเรียนหนังสือนอกชุมชน
นอกหมูบาน ดังนันหากไม่มการเขียนแผนไว้กอน อาจจะท�ำให้กจกรรมไม่เกิดความ
่ ้
้
ี
่
ิ
ต่อเนื่อง ซึ่งกลุ่มพี่เลี้ยงจะใช้วิธีการประเมินความส�ำเร็จของงานผ่านการสังเกต ไม่
ได้ใช้แบบสอบถาม ซึ่งการสังเกตสามารถท�ำได้ง่ายกว่ารูปแบบอื่นๆ บางครั้งก็จะ
ใช้วธการสอบถามจากตัวเด็ก ดูปฏิกรยาของการเข้าร่วมกิจกรรมของเด็ก และดูจาก
ิี
ิิ
คณะผูบริหาร ว่าเห็นดีเห็นงามด้วยหรือไม่ ว่าปลืมกับงานทีออกมามากน้อยเพียงใด  
้
้
่
และเมือด�ำเนินกิจกรรมเสร็จจะมีการสรุปกิจกรรมและจัดท�ำเป็นรูปเล่มรายงานทังนี้
่
้
บางทีขนกับว่าได้รบงบประมาณจากหน่วยงานไหน ถ้าจากทางเทศบาลเองพีเ่ ลียงก็
ึ้
ั
้
จะท�ำหนังสือบันทึกเสนอผู้บริหาร ถ้าเป็นส่วนงบประมาณจากภายนอกก็จะด�ำเนิน
การสรุปโครงการแล้วจัดส่งเป็นรูปเล่มเช่นกัน
	 การที่จะท�ำให้งานออกมาส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งเอาไว้ สิ่งที่ไม่ควรจะลืมก็
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง

More Related Content

Viewers also liked

Confused words
Confused wordsConfused words
Confused wordssofijka09
 
вилюйский улус
вилюйский улусвилюйский улус
вилюйский улусmyasko
 
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)aoyama-lab
 
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)aoyama-lab
 
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)aoyama-lab
 
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)aoyama-lab
 

Viewers also liked (7)

Confused words
Confused wordsConfused words
Confused words
 
вилюйский улус
вилюйский улусвилюйский улус
вилюйский улус
 
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)
 
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)
 
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)
 
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)
 
Fts
FtsFts
Fts
 

Similar to มุมมองพี่เลี้ยง

Youth project documents
Youth project documentsYouth project documents
Youth project documentsworachak11
 
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
6.ส่วนที่ 2
6.ส่วนที่ 26.ส่วนที่ 2
6.ส่วนที่ 2Junior Bush
 
4.สรุปรายงานประจำปี ๒๕๕๖
4.สรุปรายงานประจำปี ๒๕๕๖4.สรุปรายงานประจำปี ๒๕๕๖
4.สรุปรายงานประจำปี ๒๕๕๖Junior Bush
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
lub-nong proposal doc
lub-nong proposal doclub-nong proposal doc
lub-nong proposal docletterbox 17
 
Young Influencer Pathumthani
Young Influencer PathumthaniYoung Influencer Pathumthani
Young Influencer PathumthaniInfluencer TH
 
เด็ก
เด็กเด็ก
เด็กyungpuy
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1tongsuchart
 
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2553 ค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นเพื่อน้องกลางไพร มรภ เลย
2553 ค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นเพื่อน้องกลางไพร มรภ เลย2553 ค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นเพื่อน้องกลางไพร มรภ เลย
2553 ค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นเพื่อน้องกลางไพร มรภ เลยmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยคู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยInfluencer TH
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTpatitadarakorn
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 

Similar to มุมมองพี่เลี้ยง (20)

Youth council
Youth councilYouth council
Youth council
 
Youth project documents
Youth project documentsYouth project documents
Youth project documents
 
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
 
6.ส่วนที่ 2
6.ส่วนที่ 26.ส่วนที่ 2
6.ส่วนที่ 2
 
ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]
 
ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]
 
4.สรุปรายงานประจำปี ๒๕๕๖
4.สรุปรายงานประจำปี ๒๕๕๖4.สรุปรายงานประจำปี ๒๕๕๖
4.สรุปรายงานประจำปี ๒๕๕๖
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
 
lub-nong proposal doc
lub-nong proposal doclub-nong proposal doc
lub-nong proposal doc
 
Young Influencer Pathumthani
Young Influencer PathumthaniYoung Influencer Pathumthani
Young Influencer Pathumthani
 
เด็ก
เด็กเด็ก
เด็ก
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1
 
บทบาทหน้าที่กรรมการสงเคราะห์และเครือข่าย
บทบาทหน้าที่กรรมการสงเคราะห์และเครือข่ายบทบาทหน้าที่กรรมการสงเคราะห์และเครือข่าย
บทบาทหน้าที่กรรมการสงเคราะห์และเครือข่าย
 
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
 
2553 ค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นเพื่อน้องกลางไพร มรภ เลย
2553 ค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นเพื่อน้องกลางไพร มรภ เลย2553 ค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นเพื่อน้องกลางไพร มรภ เลย
2553 ค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นเพื่อน้องกลางไพร มรภ เลย
 
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยคู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
 
บทที่ 17
บทที่ 17บทที่ 17
บทที่ 17
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICT
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 

มุมมองพี่เลี้ยง

  • 1. ค�ำน�ำ จากเวทีเสวนาประเด็น “เด็กและเยาวชน: การพัฒนาสภาเด็กและเยาวชนและ เด็กเล็กในท้องถิ่น” ภายในงานฟื้นฟูพลังชุมชนท้องถิ่นสู่การอภิวัฒน์ประเทศไทย ครั้งที่ 2 ประจ�ำปี 2555 ที่จัดขึ้นที่ศูนย์การประชุมนานาชาติ ไบเทค บางนา โดย ส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) นพ.สุวทย์ วิบลผลประเสริฐ ประธานกรรมการบริหารแผน ิ ุ คณะที่ 4 สสส. กล่าวว่า “ภาพอนาคตและทิศทางการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชน ผูใหญ่จะต้องเปิดพืนที่ เปิดโอกาสทางสังคมให้แก่เขาเหล่านีได้แสดงความสามารถ ้ ้ ้ ของตนเองให้มาก..........................ณ ขณะนี้ เราต้องทุมทุนสนับสนุนเด็กทุกช่วงวัย ่ โดยเริ่มตั้งแต่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นส่วน ส�ำคัญทีสด เราต้องสนับสนุนพัฒนาตังแต่ศนย์เด็กเล็กขึนมา ทังนีผมเชือว่าเด็กและ ่ ุ ้ ู ้ ้ ้ ่ เยาวชนรุ่นใหม่จะเป็นผู้พาเราไปได้ในอนาคต ดังนั้น ผู้ใหญ่โปรดช่วยกันเปิดพื้นที่ ทางสังคม เปิดพื้นที่ทางปัญญา ให้แก่เด็กและเยาวชน” ข้อความข้างต้นได้สื่อให้ เห็นว่าผู้ใหญ่มีภาระหน้าที่อันส�ำคัญที่ต้องช่วยกันพัฒนาการเด็กและเยาวชนด้วย การให้โอกาส ให้พนที/่ เวทีทเี่ ด็กจะเสนอความคิดและแสดงความสามารถต่างๆ ออก ื้ มา แต่ประเด็นที่น่าสนใจอีกมุมหนึ่งคือจากผลการวิจัย “รูปแบบสภาเด็กเยาวชน: ถอดองค์ความรู้ 1ปี” หลังมีพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่ง ชาติ พ.ศ.2550 ของรศ.ดร.สมพงษ์ จิตระดับ อาจารย์คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ที่พบว่า “ผู้ใหญ่เป็นผู้สร้างภาวะ “ผู้ใหญ่คิด...เด็กท�ำ” ซึ่งท�ำให้เด็กมี ส่วนร่วมเพียงระดับ 6/10 ส่งผลให้เด็กเกิดภาระในการท�ำงานตามที่ผู้ใหญ่ก�ำหนด ก่อนที่จะถูกผู้ใหญ่แย่งเป็นผลงานตนเอง” ผลการวิจัยเรื่องนี้ก็จะเป็นประเด็นความ พยายามสื่อให้ผู้ใหญ่ใจดี มีความตั้งใจดี ต้องระมัดระวังในการด�ำเนินกิจกรรมตาม ความปรารถนาดีนั้นเช่นกัน
  • 2. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี โดยส�ำนักบริการวิชาการชุมชน ได้ด�ำเนิน โครงการขับเคลือนงานด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังหวัดอุบลราชธานี ่ พ.ศ. 2555 – 2558 ภายใต้การสนับสนุนของส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) เมื่อด�ำเนินการมาระยะหนึ่งแล้วก็จ�ำเป็นต้องท�ำการประเมิน การด�ำเนินงานที่ผ่านมาเพื่อที่จะรวบรวมความส�ำเร็จและความล้มเหลวที่อาจมีไป ใช้พฒนารูปแบบการด�ำเนินงานในช่วงเวลาทีคงเหลือให้มผลงานดีขนเรือยๆ วิธการ ั ่ ี ึ้ ่ ี สัมภาษณ์ผดำเนินงานถือเป็นวิธหนึงทีสามารถถอดบทเรียนประสบการณ์ของผูทได้ ู้ � ี ่ ่ ้ ี่ ปฏิบตงานมาแล้ว ซึงสิงทีทานจะได้พบในเอกสารนีจะเป็นข้อสรุปประสบการณ์ชอง ั ิ ่ ่ ่ ่ ้ ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่พี่เลี้ยง และผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับโครงการ เชื่อว่าท่านผู้อ่านจะได้ รับทราบประสบการณ์ สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้กบการท�ำงานร่วมกับสภาเด็ก หรือ ั กลุ่มเด็กที่อาจได้พบในโอกาสต่อๆ ไป ขวัญสุปาณัฏฐ์ พันธ์เกษม
  • 3. สารบัญ นายวิโรฒ มีแก้ว ประธานคณะกรรมการด� ำ เนิ น งาน โครงการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชน แบบบูรณาการระดับจังหวัดอุบลราชธานี 6 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประชุม ผงผ่าน อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 8 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สนธยา เกาะสมบัติ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริการวิชาการชุมชน 10 องค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน นางชิสาพัชรี พิมพ์พรหม นักพัฒนาชุมชน สร้างความคุ้นเคยกับเด็กๆ ให้เหมือนการ ท�ำงานร่วมกับลูกหลาน 12 องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดยาลวน นางนุ ช ลั ก ษณ์ รุ ่ ง เรื อ ง นั ก วิ ช าการศึ ก ษา สร้างกิจกรรมให้เกิดขึ้นภายในชุมชนให้เป็น รู ป ธรรมที่ ยั่ ง ยื น เทศบาลต� ำ บลขามใหญ่ 18 นางสุกฤตา ปากหวาน หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการ สังคม รูจกแยกแยะสิงดีและไม่ดี ก็พอใจแล้ว ้ั ่ 22 องค์การบริหารส่วนต�ำบลคอนสาย นางสาวนงลักษณ์ วันหลัง หัวหน้าส�ำนักงานปลัด เด็กท�ำผู้ใหญ่หนุน 32 เทศบาลต�ำบลค�ำน�้ำแซบ นางพิศมัย มีชย ต�ำแหน่งหัวหน้ากองการศึกษา ั สร้างความเป็นกันอง ไม่ถอยศ ถือเกียรติ ถือตัว ื 38 องค์การบริหารส่วนต�ำบลคูเมือง นางสาวธัญญารัตน์ เลขาวนิช เจ้าหน้าทีสนทนาการ ่ั เราได้รับมอบหมายอะไรเราก็ตั้งใจท�ำ ท�ำให้ เต็มที่ ดูแลให้ได้ดีที่สุด 44 องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกสว่าง นายปรีชา วันแก้ว ผูชวยนักพัฒนากองการศึกษา ้่ อยากเห็นน้องในชุมชนห่างไกลยาเสพติด มีความคิดสร้างสรรค์ มีเวทีในการแสดงความ คิดของเด็กๆ แต่ละคน 50
  • 4. สารบัญ เทศบาลเมืองเดชอุดม นายอนุรกษ์ พวงแก้ว เจ้าหน้าทีกองการศึกษา ั ่ สภาเด็กจะช่วยแก้ปัญหาสังคมได้แน่นอน 55 เทศบาลต�ำบลท่าช้าง นางสาวปิยานัน อินทรา เจ้าหน้าทีนกวิเคราะห์นโยบายและแผนงาน ่ั อยากจะขยายเครือข่ายแกนน�ำให้มีเพิ่มขึ้น ด้วยรูปแบบของการที่เพื่อนชวนเพื่อน 57 เทศบาลต�ำบลนาเยีย นายถวิล ประทุมมา เจ้าหน้าที่สันทนาการ การทุ่มเททั้งแรงกาย แรงใจ ให้กับงานทุก อย่างที่ได้รับมอบหมาย และจงท�ำมันอย่าง มีความสุข งานทุกอย่างก็จะประสบความ ส�ำเร็จได้ 63 องค์การบริหารส่วนต�ำบลบัวงาม นายไตรภพ พันธ์บุปผา อยากเห็นเด็กและเยาวชนในต�ำบลบัวงามมี การด�ำเนินชีวิตที่ดี และเติบโตไปเป็นผู้ใหญ่ ที่ดีในสังคมต่อไป 75 องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าโมง นางปัทมาภา พิมพันธ์ นักพัฒนาชุมชน เรียนรู้ไปพร้อมกับเด็ก 78 เทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร นายราชันย์ รักผลดี จิตอาสาเราสามารถเป็นได้ทุกอย่าง 85 เทศบาลต�ำบลโพธิ์ไทร นายโอริส โพธิ์พิมพ์ นักพัฒนาชุมชน ปัญหา คือ ความท้าทายของคนท�ำงานด้าน เด็กและเยาวชน 90 เทศบาลต�ำบลม่วงสามสิบ อาจารย์ประจักษ์ สีแสด ข้าราชการบ�ำนาญ ความรูเ้ รือง และ ทักษะในการปฏิบตงาน เป็น ่ ัิ ปัจจัยที่ส่งเสริมบทบาทพี่เลี้ยงสภาเด็ก 98 เทศบาลต�ำบลนิคมล�ำโดมน้อย นางสาวพัชรี บุญกอง หัวหน้าส�ำนักปลัด เด็กอยากแสดงออกแต่ว่าไม่มีเวทีที่จะแสดง 105 เทศบาลวารินช�ำราบ นางไพศรี ธานิสาพล นักวิชาการศึกษาประจ�ำกองการศึกษา 112
  • 5. องค์การบริหารส่วนต�ำบลส�ำโรง นายสามารถ เจริญชาติ รองนายก เราต้องให้โอกาส และเปิดโอกาสให้แก่เด็ก 117 เทศบาลต�ำบลหนองผือ นางสาววันทนา กุลสังข์ กิจกรรม ไม่วาของเด็กหรือผูใหญ่ตองมีเครือข่าย ่ ้ ้ 124 องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองเหล่า นางกษัตนภา แฝดศรีทน นักพัฒนาชุมชน เด็กทุกคนมีความสามารถในการพัฒนา ตนเองและชุมชน 128
  • 6. 6 นายวิโรฒ มีแก้ว นายวิโรฒ มีแก้ว โครงการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังหวัด : อุบลราชธานี เป็นโครงการทีเ่ ป็นมิตใหม่ของการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนทีจะน�ำไปสูมตความ ิ ่ ่ ิ ิ ยั่งยืน ของการพัฒนาเด็กและเยาวชน เนื่องจากโครงการนี้ได้เปลี่ยนแปลงรูปแบบ การท�ำงานจากเดิมจะเป็นการท�ำงานโดยรัฐเป็นผู้สั่งการที่เห็นได้จากการด�ำเนิน โครงการในช่วงแรกๆ ตังแต่ปี 2553 มีความคาดหวังความส�ำเร็จการด�ำเนินงานสภา ้ เด็กจะต้องขยายจากระดับจังหวัด ไปสูระดับอ�ำเภอ และระดับต�ำบล โดยลึกๆ ในวิธี ่ ด�ำเนินการยังคงติดอยูกบวิธคดแบบราชการ การด�ำเนินยังติดอยูในกรอบเดิมๆ ไม่มี ่ั ี ิ ่ ความคิดใหม่ เดินเองไม่ได้ เช่น ในโรงเรียนก็มีสภาเด็กที่ถูกคาดหมายให้มีความ ส�ำเร็จแบบเดิมๆ ต้องมีใครต่อใครเข้ามาจัดการท�ำโน่นนะ ท�ำนี่นะ ไม่ได้สร้างวิธีคิด วิธทำงานให้กบเด็ก ไม่ได้กอพลังให้เกิดการขับเคลือน ซึงอาจสรุปได้วาเมือสิงทีตอง ี � ั ่ ่ ่ ่ ่ ่ ่ ้ ด�ำเนินการอยูในระบบราชการทีเ่ หมือนกับว่าสภาเด็กเป็นประชากรเป็นมวลชนของ ่ หน่วยงาน ของจังหวัดด้วยซ�ำ ต้องมีประธาน รองประธานระดับจังหวัด ระดับอ�ำเภอ ้ มีขั้นตอนมาจากอ�ำเภอ จังหวัด เมื่อถึงเวลาท�ำงานซึ่งยังคงมีการท�ำงานแบบระบบ ราชการ พอเด็กเขามีความคิดดีๆ ใหม่ๆ ก็เป็นสิ่งที่ดี แต่การใช้จ่ายงบประมาณก็ยัง เป็นข้อจ�ำกัด ต้องเขียนโครงการของบประมาณโดยงบประมาณยังไม่กระจายมา สู่จังหวัด โดยสรุปการอนุมัติการ ให้งบประมาณยังคงอยู่ในลักษณะที่ผู้ใหญ่คิด ท�ำ และจัดการให้เด็ก พองบประมาณหมด กิจกรรมก็หมด การพัฒนาขีดความสามารถ
  • 7. นายวิโรฒ มีแก้ว 7 และศักยภาพขององค์กรก็หมด การความคิด ไปสู่รูปแบบของการท�ำงานที่เชิญภาคีเครือข่ายให้เข้ามามีส่วน เกียวข้องในการท�ำงาน กิจกรรมก็เป็นส่วนหนึงทีสามารถน�ำมาใช้ในการแก้ไขปัญหา ่ ่ ่ ด้านเด็กและเยาวชนได้ เนืองจากในอดีตรูปแบบของการท�ำงานจะเป็นการท�ำงานทีอยูภายใต้ระบบราชการ ่ ่ ่ มากจนเกินไปจึงท�ำให้การท�ำงานทางด้านเด็กและเยาวชนไม่สามารถโตไปมากกว่า นี้ได้ หากจะพูดถึงวิธีคิด การลงมือท�ำตามรูปแบบของราชการจะเป็นการมองกลุ่ม เด็กและเยาวชนอยู่ในรูปแบบของประชากร เมื่อท�ำกิจกรรม 1 โครงการ ก็จะมองที่ จ�ำนวนของผูเข้าร่วมโครงการเป็นทีตง แต่เมือเราจะท�ำงานในมิตการบูรณาการการ ้ ่ ั้ ่ ิ ท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนเสียใหม่ ตัวผู้ใหญ่เองก็จะต้องเปลี่ยนวิธีคิดที่ตัวเองให้ ได้เสียก่อนไม่อย่างนั้น เราก็จะกลับไปท�ำงานในรูปแบบเดิมๆ เมื่อระบบราชการยัง ไม่สามารถที่จะกระจายไปสู่รูปแบบการท�ำงานแบบการกระจายอ�ำนาจ หรือแก้ไข ปัญหาเรื่องอ�ำนาจ การตัดสินใจยังคงจะอยู่ในระดับจังหวัด งบประมาณที่ส่งมาแต่ ยังกระจุกตัวอยูทจงหวัดเท่านัน และเมือส่งเงินลงมาให้แล้ว หมดเมือไหร่งานก็จบลง ่ ี่ ั ้ ่ ่ ทันที การพัฒนาขีดความสามารถมันก็จะหมดไป บนความโชคดี หรือนี่เรียกว่าความบังเอิญ ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มีทีมงานยุคบุกเบิกด้านเด็กและเยาวชน เข้ามาท�ำงานในมหาวิทยาลัย วิธีคิดของ คนกลุ่มนี้คือพลังในการคิดใหม่ท�ำใหม่ คิดจากประสบการณ์ คิดจากมุมมองของ คนท�ำงานด้านเด็กและเยาวชน เพื่อให้เกิดการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน เกิดการ เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้นในลักษณะที่สุดๆ หากจะพูดถึงประเด็นการพัฒนาเด็กมันควรทีจะเกิดขึนจากการเรียนรู้ เพราะการ ่ ้ เรียนรูจะท�ำให้เขาได้ลงมือปฏิบตได้ดวยตัวเอง มันเป็นการแสดงออกทางด้านทักษะ ้ ั ิ ้ วิธคด การเห็นทางคุณค่าในตัวเอง เมือเด็กได้ลงมือท�ำในสิงเหล่านัน เราจะเรียกมันว่า พลัง ีิ ่ ่ ้ พลังสามารถเกิดขึ้นได้ ถ้าเขาได้รับโอกาส พลังสามารถที่จะเปลี่ยนได้ ถ้าเขา ได้เห็นคุณค่า พลังสามารถท�ำให้ท�ำให้เรื่องดีๆ เกิดขึ้นได้ ถ้าเขาได้รับความส�ำคัญ ดังนั้นเรามาช่วยกันสร้างพลังให้กับเด็กและเยาวชน ร่วมกันภายใต้ความคิดที่ว่า พลังเด็กเปลี่ยนโลก
  • 8. 8 นายวิโรฒ มีแก้ว ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประชุม ผงผ่าน อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี การเข้ามารูจกกับโครงการขับเคลือนงานด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังหวัด ้ั ่ : อุบลราชธานี ครั้งแรกเริ่มรู้จักก่อนที่จะเข้ามารับต�ำแหน่งอธิการบดี ซึ่ง ณ เวลานั้น ได้รับเชิญให้เข้าร่วมเป็นคณะที่ปรึกษา เพื่อให้ค�ำแนะน�ำข้อเสนอแนะในเรื่องของ การเขียนโครงการ และรูปแบบกิจกรรมที่มีความเหมาะสมกับการพัฒนาศักยภาพ ให้กบเด็กและเยาวชน เพือน�ำไปสูการปรับปรุงโครงการ และขอรับการสนับสนุนงบ ั ่ ่ ประมาณ จาก สสส. กิจกรรมทางด้านสภาเด็กและเยาวชน ถือว่าได้ว่าเป็นกิจกรรมที่ดีที่จังหวัด อุบลราชธานี ได้มีโครงการเกี่ยวกับสภาเด็กและเยาวชนขึ้นมาก่อน ก่อนที่จะมี โครงการขับเคลื่อนขึ้นมาในระยะที่ 2 ซึ่งโครงการนี้เป็นโครงการของภาคเอกชนที่ อยู่นอกรัวมหาวิทยาลัย เป็นกลุมของท่านผูใหญ่ใจดีทได้ชวยกันสร้างโครงการดีๆนี้ ้ ่ ้ ี่ ่ ขึ้นมา เป็นโชคดีของมหาวิทยาลัยประการหนึ่งที่ในช่วงเวลาก่อนหน้าที่ต้องเข้าร่วม กับโครงการนี้อย่างจริงจัง มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ได้รับบุคลากรที่เคย ด�ำรงต�ำแหน่งประธานสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานีเข้ามาท�ำงานใน รั้วมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จ�ำนวน 2 คน ทั้ง 2 คนมีประสบการณ์ท�ำงาน ด้านนี้มาก่อนแล้ว 6-7 ปี มีผลงานที่ส่งผลลัพธ์ที่ดีให้กับการพัฒนาของจังหวัด
  • 9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประชุม ผงผ่าน 9 อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อุบลาชธานี เมือบุคลากร 2 คนนี้ ได้เข้ามาท�ำงานภายในรัวมหาวิทยาลัย ท�ำให้ความ ่ ้ เชือถือของมุมมองจากภายนอกมีตอมหาวิทยาลัยดีขน แต่อาจจะเลยเถิดไปบ้างว่า ่ ่ ึ้ โครงการด้านสภาเด็กและเยาวชนเป็นโครงการของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี แต่จริงๆแล้วจะยอมให้เข้าใจแบบนี้เลยเถิดไปเลยคงจะไม่ได้ เนื่องจากการท�ำงาน ด้านเด็กและเยาวชนไม่ควรที่จะมีเจ้าภาพเพียงคนเดียว หน่วยเดียว เราจะต้องเน้น การท�ำงานในลักษณะภาคีเครือข่าย ร่วมกันกับจังหวัดอุบลราชธานี องค์การปกครอง ส่วนท้องถิ่น ศาลเด็กและเยาวชน หน่วยราชการ สถานศึกษา ผู้ใหญ่ใจดี ฯลฯ โดย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จะร่วมก�ำกับและดูแลในเรื่องของศูนย์ประสาน งาน ทรัพยากร สถานที่ประชุม คณะท�ำงาน และที่วิทยากรกระบวนการ หน่วย สนับสนุนและส่งเสริมข้อมูลทางด้านวิชาการ ซึงสิงเหล่านีจะเกิดขึนก่อนทีจะเข้ามา ่ ่ ้ ้ ่ รับต�ำแหน่งอธิการบดี แต่ ณ วันนี้คงจะกล่าวได้ว่าเราได้รับเอาภารกิจนี้เข้ามาเป็น ภารกิจของมหาวิทยาลัยได้อย่างเต็มตัว ในฐานะทีเ่ ป็นอธิการบดี โครงการนีผมถือเป็นโครงการทีดี ถือได้วาเป็นโครงการที่ ้ ่ ่ ให้ความส�ำคัญกับเด็กและเยาวชนโดยไม่เลือกประเภท ไม่เลือกคุณลักษณะ ว่าเด็ก เหล่านีจะอยูในระบบหรือนอกระบบ เพียงแต่เราต้องการให้เขาได้มโอกาสแสดงออก ้ ่ ี ทางความคิด ได้ลงมีท�ำ และได้รับการยอมรับในสังคม ให้เขาเป็นส่วนส�ำคัญของ สังคม ส่วนส�ำคัญของพื้นที่การศึกษา ส่วนส�ำคัญของพื้นที่ในชุมชน มีการมองเห็น/ ยอมรับการมีตวตน ไม่โยนปัญหาเหล่านีไปให้ใครคนใดหนึงเป็นผูรบผิดชอบแต่เพียง ั ้ ่ ้ั ผู้เดียว ดังนั้นในส่วนของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จึงเข้ามามีส่วนร่วมเป็น เครือข่ายในการท�ำงานเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการท�ำงานทางด้านสภาเด็กและ เยาวชน และผมเองก็ขอชื่นชมกับโครงการดีๆ โครงการนี้ ว่ามีความจริงใจ สนใจที่ จะแก้ไขปัญหาให้กับเด็กๆ เข้าใจในตัวตนของเด็กๆ เพื่อให้เขาเหล่านี้มีแนวทางที่ พัฒนาตนเองไปสูความเป็นพลเมืองและพลโลกทีมความสมบูรณ์เป็นทียอมรับและ ่ ่ ี ่ มีช่องทางที่สามารถประสบผลส�ำเร็จด้วยตนเองในอนาคต
  • 10. 10 นายวิโรฒ มีแก้ว ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สนธยา เกาะสมบัติ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริการวิชาการชุมชน การท�ำงานทางด้านสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานี ถือได้วาเป็นงานทีมความท้าทาย ่ ่ี ดังนั้นเมื่อเข้ามารับต�ำแหน่งผมเองก็จะเริ่มท�ำการศึกษาหาข้อมูล รูปแบบการท�ำงาน ฯลฯ ทีเ่ กียวข้องด้วยตัวเอง พร้อมทังได้เข้าร่วมงานกับทาง สสส. ทีได้จดขึน เพือเป็นการ ่ ้ ่ ั ้ ่ ศึกษาข้อมูลต่างๆ และน�ำเอาความรูทได้นำมาใช้ประกอบร่วมกับการท�ำงาน ยกตัวอย่าง ้ ี่ � เช่น เมื่อเข้ามารับต�ำแหน่ง ก็ได้ท�ำการบูรณาการให้คณะต่างๆ ในมหาวิทยาลัยได้เข้า มามีสวนร่วมกับส�ำนักบริการวิชาการชุมชน เพือท�ำการศึกษาศักยภาพของสภาเด็กและ ่ ่ เยาวชนใน 25 ต�ำบล จากการขยายผลในครั้งที่ 1 ท�ำให้ทราบได้ว่าแต่ละพื้นที่มีปัญหา การท�ำงานทางด้านสภาเด็กทีแตกต่างกัน เช่น บางพืนทีมงบประมาณแต่ไม่มคนท�ำงาน ่ ้ ่ ี ี บางพื้นที่มีคนท�ำงานแต่ไม่มีกิจกรรม ฯลฯ จึงท�ำให้การท�ำงานทางด้านสภาเด็กไม่เกิด ความต่อเนื่อง ดังนั้นส�ำนักบริการวิชาการชุมชนจึงต้องเข้ามาร่วมกันหาวิธีการแก้ไข ปัญหาเหล่านี้ร่วมกันกับทางพื้นที่ 25 ต�ำบล (ระยะที่ 1) ด้วยวิธีการฝึกอบรมให้ความรู้ เกียวกับการเป็นวิทยากรกระบวนการ การสร้างแนวคิดในการท�ำงาน การเขียนโครงการ ่ เพื่อขอรับการสนับสนุน และลงพื้นที่เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสภาเด็ก และเยาวชนโดยเริ่มจากการให้ความรู้กับบุคลกร 2 กลุ่มแรก คือ 1) ผูนำชุมชน เพราะการท�ำงานทางด้านเด็กและเยาวชนจะต้องอาศัยผูใหญ่มาเป็นผู้ ้� ้ ก�ำหนนโยบายทั้งเรื่องของการเขียนโครงการ และการสนับสนุนในด้านอื่น ๆ ถ้าหากจะ มองในมุมของงบประมาณอาจจะไม่ใช่เรืองใหญ่ เนืองจากในหลากหลายกิจกรรมทีเ่ ด็ก ่ ่ และเยาวชนสามารถที่จะท�ำได้โดยไม่ต้องใช้งบประมาณก็มี ยกตัวอย่างเช่น งานทาง
  • 11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สนธยา เกาะสมบัติ 11 ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริการวิชาการชุมชน ประเพณี(ช่วยบุญงานศพ) การท�ำความสะอาดหมู่บ้าน อบรมคุณธรรมและจริยธรรม ฯลฯ ก็เป็นการขับเคลื่อนโครงการได้โดยไม่ต้องใช้งบประมาณ 2) ผู้ปกครอง บางท่านเห็นเด็กมาอยู่รวมกลุ่มกันท�ำกิจกรรมผู้ปกครองบางท่านอาจ จะมองเป็นเรืองของการมังสุม ดังนันเพือให้เกิดความสบายใน เราจึงได้จดท�ำประชาคม ่ ่ ้ ่ ั เพื่อเชิญทางผู้ปกครองและกลุ่มเด็กให้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับโครงการนี้ร่วมกัน หากจะมองเรื่องของความส�ำเร็จกับการท�ำงานทางด้านสภาเด็กให้ส�ำคัญลงไปใน พื้นที่ทั้งหมด จาก 25 ต�ำบล อย่างน้อยเราก็ได้ มา 21 ต�ำบล ที่ได้ก�ำหนดโครงการต่างๆ ทีเ่ กียวข้องกับทีมสภาเด็กและเยาวชน ลงไว้ในเทศบัญญัตของเขาเอง ทังมีการก�ำหนด ่ ิ ้ เป็นงบประมาณและก�ำหนดโครงการอย่างน้อง 2-3 โครงการต่อปี เพียงเท่านี้ก็ถือว่า ประสบความส�ำเร็จในระยะที่ 1 แต่ถ้าต้องการพูดถึงเรื่องของความส�ำเร็จได้เราคงต้อง พูดลึกลงไปในทุกพืนที่ ทุกอ�ำเภอโดยการก�ำหนดให้เป็นภารกิจขององค์การปกครองส่วน ้ ท้องถินในทุกพืนทีของจังหวัดอุบลราชธานี ซึงในขณะนีเ้ องทางจังหวัดได้เชิญผูทมสวน ่ ้ ่ ่ ้ ี่ ี ่ เกี่ยวข้องให้เข้าร่วมประชุมเพื่อท�ำความเข้าใจให้ไปในทิศทางเดียวกันได้ และให้ความ ส�ำคัญทั้งเด็กในระบบและนอกระบบให้เกิดทักษะได้รับการดูและและใจใส่ร่วมกัน หากจะถามว่าปัจจัยที่จะท�ำให้การท�ำงานทางด้านเด็กและเยาวชนประสบความ ส�ำเร็จเราคงต้องมองที่ปัจจัยหนุนเสริมดังต่อไปนี้ คือ 1) การปกครอง ตั้งแต่ผู้ว่าราชการจังหวัดลงมาสู่ นายอ�ำเภอ นายกเทศมนตรี จะ ต้องให้ความส�ำคัญ และจริงใจในการท�ำงานเพื่อพัฒนาเด็กร่วมกัน 2) ผู้น�ำชุมชน ต้องให้ความส�ำคัญ ทั้งสนใจและใส่ใจอย่างจริงจัง 3) เด็กและเยาวชน จะต้องให้ความส�ำคัญเอาจริงเอาจัง พร้อมทังสิงไม้ตอไปยังกลุม ้ ่ ่ ่ ต่างๆ เพื่อให้งานเดินต่อได้ 4) งบประมาณ พื้นที่ควรจะตั้งงบประมาณเพื่อให้การสนับสนุนส่งเสริมการท�ำงาน ทั้งดานเด็กและเยาวชนอย่างแท้จริง 5) สถานศึกษา จะต้องบูรณาการทางด้านการศึกษา วิชาการ เพื่อส่งเสริมความรู้ให้ กับเด็กๆ ในพื้นที่ 6) ภาคีเครือข่าย จังหวัด อปท. สถาบันการศึกษา NGO. และเด็กและเยาวชน จะต้องมาร่วมกันท�ำงาน เพื่อให้เกิดการพัฒนาไปข้างหน้าร่วมกัน การท�ำงานทางด้านเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานีคงจะไม่หยุดคิด หยุดท�ำ หยุดพัฒนาอย่างแน่นอน เพือให้การท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนเกิดความยังยืนและเกิด ่ ่ ความต่อเนืองเราก็จะต้องอาศัยภาคีทกภาคส่วนให้เข้ามาช่วยในการขับเคลือนโครงการ ่ ุ ่ สภาเด็กและเยาวชนไปพร้อมๆ กัน
  • 12. ส รี พิ พ์พรหม 12 นางชิฒาพัชมชนมองค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน นักพั นาชุ นางชิสาพัชรี พิมพ์พรหม นักพัฒนาชุมชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน สร้างความคุ้นเคยกับเด็กๆ ให้เหมือนการท�ำงานร่วมกับลูกหลาน
  • 13. นางชิสาพัชรี พิมพ์พรหม 13 นักพัฒนาชุมชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน การเข้ามารับผิดชอบในส่วนของสภาเด็กในปี 2553 นันเริมเกิดขึนตามบทบาท ้ ่ ้ หน้าที่ของนักพัฒนาชุมชน แต่เมื่อเข้ามาร่วมบริหารจัดการแล้ว ท�ำให้ทราบได้ว่า ต�ำบลกาบิน ที่เป็นต�ำบลขนาดใหญ่ มีด้วยกันทั้งหมด 14 หมู่บ้าน มีปัญหาหลักๆ ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจากการที่เด็กๆ ไม่ได้ใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์อย่างสูงสุด เช่น การทีเ่ ขาไม่ไปช่วยพ่อแม่ทำนา แต่กลับขอเงินเพือมาเติม � ่ น�้ำมันรถจักรยานยนต์ ขับรถเล่น ภายในหมู่บ้าน จึงท�ำให้ได้ย้อนกลับมาคุยร่วมกับ ผูบริหารภายในองค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน ดังนันทางผูบริหารจึงได้เริมให้ความ ้ ้ ้ ่ ส�ำคัญในโครงการและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชน ดั้งนั้น ท่านผู้บริหาร จึงได้มอบหมายให้หัวหน้าส่วนกองการศึกษา คุณสุจินตนา ป้องไพสิฐศักดิ์ เข้ามา ร่วมรับผิดชอบร่วมด้วย เมือเข้ามาร่วมรับผิดชอบโครงการทีเกียวกับสภาเด็กฯ ได้ตงความคาดหวัง ่ ่ ่ ั้ ว่าในการท�ำงานครั้งนี้ ต้องการให้กิจกรรมที่เกี่ยวกับเด็กและเยาวชน สามารถที่ จะน�ำไปสู่การแก้ปัญหาให้กับต�ำบลได้ หรือต้องการให้มีการสนับสนุนและหนุนเส ริมเด็กๆ ที่เขามีพรสวรรค์ในการคิดและท�ำในสิ่งที่สร้างสรรค์ หรือจะพูดอีกนัยหนึ่ง ก็คือ อยากให้เด็กๆ ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และต้องการให้เด็กๆ ขยายผล ลงสูเพือนๆ ในบ้านเดียวกันให้สามารถทีเ่ ข้ามาท�ำงานร่วมกันได้ เพราะ พีเลียงเองมี ่ ่ ่ ้ ความเชื่อที่ว่า การจัดตั้งกลุ่มสภาเด็กจะช่วยแก้ไขปัญหาสังคมได้แน่นอน เช่น การ ใช้เวลาว่างของเด็ก จากทีตางคนต่างใช้เวลาว่างไม่เกิดประโยชน์ อย่างน้อยๆ ให้เด็ก ่ ่
  • 14. ส รี พิ พ์พรหม 14 นางชิฒาพัชมชนมองค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน นักพั นาชุ ได้มาร่วมกันท�ำกิจกรรม ร่วมกันคิด ร่วมกันท�ำ ร่วมกันสร้างสรรค์และแก้ไขปัญหา ในกิจกรรม ท�ำให้เด็กรู้ปัญหาของชุมชนตัวเอง ไม่ว่าจะเป็นปัญหาของเด็กเองและ ปัญหาในชุมชนด้วย ซึ่งขอยกตัวอย่าง โครงการอาสาพัฒนาชุมชน มีการประสาน กับคณะกรรมการ คือ ประธานของแต่ละหมู่บ้าน 14 หมู่บ้าน มาร่วมประชุมว่าจะ ท�ำกิจกรรมอะไรที่สามารถท�ำให้เด็กได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แล้วก็ได้เรียนรู้ ปัญหาในชุมชนตนเองด้วย จึงเกิดโครงการนีขนมา แล้วให้เด็ก 14 คนจาก 14 หมูบาน ้ ึ้ ่ ้ ไปหาเครือข่ายมา เด็กก็จะไปหาเพื่อนมาคนละ 10 คน มีกิจกรรมการพัฒนาชุมชน ขึ้นมา ออกไปท�ำความสะอาดหมู่บ้านและไปเยี่ยมผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส เพื่อไปพูดคุยรวมถึงไปสร้างเครือข่ายให้กับเด็กและเยาวชนในหมู่บ้านที่ยังไม่ได้ เข้าร่วมโครงการ ส่วนการท�ำงานของ พเี่ ลียงจะมีหน้าทีเ่ กียวกับการประสานงาน ้ ่ เป็นส่วนใหญ่ และให้ค�ำปรึกษากับเด็กๆ คือ ถ้าเขาติดกับกิจกรรมตัวไหน ถ้าจะท�ำ กิจกรรมตัวนี้แต่มันยาก เด็กก็จะเข้ามาปรึกษาเพื่อหาวิธีการแก้ไขปัญหานั้นๆ จาก การท�ำงานทีผานมากิจกรรมทีเ่ กียวข้องกับสภาเด็ก จะได้รบการสนับสนุนจากทางผู้ ่่ ่ ั บริหารทั้งการให้ความร่วมมือ แล้วก็ยังสนับสนุนด้านงบประมาณและสนับสนุนให้ ไปร่วมกิจกรรมสภาเด็กของจังหวัดอีกด้วย หากงบประมาณของเทศบาลมีจ�ำนวน จ�ำกัดไม่เพียงพอต่อการด�ำเนินงาน พีเลียงจะด�ำเนินการประสานความร่วมมือ ช่วย ่ ้
  • 15. นางชิสาพัชรี พิมพ์พรหม 15 นักพัฒนาชุมชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน เด็กในการเขียนโครงการเพือจะเสนอหน่วยงานทีสามารถช่วยเหลือเรืองงบประมาณ ่ ่ ่ ได้ การติดต่อประสานงานกับเด็กๆ ในการด�ำเนินโครงการสามารถท�ำได้หลายวิธี เนื่องจากพี่เป็นคนในพื้นที่อยู่แล้ว รู้จักเด็ก และมีความคุ้นเคย เหมือนกับการเป็น ลูกเป็นหลาน ลูกหลานเราที่อยู่ในชุมชน หรือเด็กๆ ก็จะมีเพื่อนในหมู่บ้านต่างๆ เช่น โรงเรียนบ้านกาบิน เป็นโรงเรียนที่หลายชุมชนเข้ามาเรียน ดังนั้นเราจะให้เด็กๆของ เราเขาไปขยายผลเพือหากลุมตัวอย่างด้วยวิธการชักชวนเพือนๆ ให้เข้ามาร่วมกันท�ำ ่ ่ ี ่ กิจกรรม เริ่มแรกเอาคนใกล้ตัวก่อนแล้วค่อยให้เพื่อนชวนเพื่อน จาก 2 เป็น 4 จาก 4 เป็น 8 เมื่อสภาเด็กและเยาวชนของเราได้เริ่มมีบทบาทมากยิ่งขึ้น พี่เลี้ยงก็จะขอ เชิญประชุมแบบเป็นทางการ จะประชุมสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง ถ้าช่วงไหนที่เด็กไม่ติด เรียน พี่เลี้ยงจะใช้การประสานงานผ่านโทรศัพท์เพื่อไม่ให้การท�ำเกิดปัญหาล่าช้า ซึ่งในการประชุม พี่เลี้ยงจะมีการพูดคุยเกี่ยวกับกิจกรรมที่เด็กๆ อยากที่จะท�ำ และ รูปแบบของโครงการที่จะด�ำเนินงาน การท�ำงานทางด้านเด็กและเยาวชน จะต้องมี แผนเพือรองรับซึงในส่วนนีเ้ อง กองการศึกษาจะเป็นรับผิดชอบกับตัวโครงการนี้ และ ่ ่ ได้มการก�ำหนดกิจกรรมเกียวกับเด็กเอาไปไว้ในส่วนของกองการศึกษาหากจะพูดถึง ี ่ กิจกรรมทีทำ จะมีการติดตามและประเมินผลอย่างไร ถ้าจัดเป็นรูปแบบของโครงการ ่ � ก็จะติดตามประเมินผลเป็นแบบสอบถาม แต่ทกกิจกรรมจะประเมินด้วยการสังเกต ุ และประเมินความร่วมมือของเด็กด้วย เพือให้จะได้ทราบว่าเด็กให้ความส�ำคัญมาก ่ น้อยแค่ไหน ถ้ามีขอบกพร่องเราก็จะร่วมพูดคุยกับเด็ก เมือท�ำกิจกรรมในแต่ละครัง ้ ่ ้ แล้วเสร็จพี่เลี้ยงจะต้องรายงานผลการด�ำเนินงาน กิจกรรมทุกกิจกรรมต้องรายงาน ผู้บริหาร และท�ำการสรุปเป็นรูปเล่ม เพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐานในการด�ำเนินงาน
  • 16. ส รี พิ พ์พรหม 16 นางชิฒาพัชมชนมองค์การบริหารส่วนต�ำบลกาบิน นักพั นาชุ จากการสรุปผลการด�ำเนินโครงการที่ผ่านมา ท�ำให้ทราบได้ว่า กิจกรรมหรือ โครงการทีภมใจมาก ก็คอ โครงการการฝึกเด็กให้รจกการสร้างอาชีพ หารายได้ดวย ่ ู ิ ื ู้ ั ้ ตนเอง ไม่ต้องแบมือขอเงินพ่อแม่ ลองให้เด็กไปหัดขายของดู เด็กก็ชอบ สนุกและ ได้รจกวิธการหาเงิน และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ไม่ไปกวนพ่อแม่ ไม่ได้อยูเ่ ฉยๆ ู้ ั ี เพราะเด็กหารายได้ใช้เองได้ การด�ำเนินกิจกรรมดังกล่าวได้รบความสนใจจากเด็กๆ ั เป็นจ�ำนวนมาก เพราะตัวพี่เลี้ยงได้พูดคุยกับเด็กๆ อยู่ตลอดว่าเด็กอยากท�ำอะไร และพวกเราจะต้องมาช่วยกันวางแผนการท�ำงานร่วมกัน หากในกรณีมีปัญหา ระหว่างการประชุมมีปญหาความคิดเห็นไม่ตรงกัน แต่กถอว่าเป็นการดี เพราะการที่ ั ็ื แต่ละคนได้เข้ามาร่วมแลกเปลียนเรียนรูรวมกัน มันจะท�ำให้แต่ละคนได้แสดงความ ่ ้่ คิดที่มีความหลากหลาย ถ้ามีความคิดที่แตกต่างกัน เราก็มาร่วมพูดคุยกัน ก็จะท�ำ ให้เด็กๆ ได้มานั่งคุยกัน ว่าอันไหนมันดีอันไหนไม่ดี และอันไหนที่ดีที่สุดค่อยมาท�ำ สิงนันก่อนเป็นอันดับแรก แล้วค่อยเรียงล�ำดับความส�ำคัญมากไปหาน้อย คือ จะไม่ ่ ้ ทิงทุกปัญหาทีมการแสดงความคิดเห็น เพือน�ำไปสูการปรับปรุงงานใหม่ในรอบหน้า ้ ่ ี ่ ่ จากการท�ำงานทีผานมาทังหมดสามารถทีจะท�ำให้ทราบได้วาการประเมินตัวเอง ่่ ้ ่ ่ ว่าตัวเองมีขอดีหรือข้อเสียอะไรบ้าง เพืออย่างน้อยเราจะได้นำมาสูการแก้ไขปรับปรุง ้ ่ � ่ หากมองที่จุดแข็ง จุดอ่อนในบทบาทของพี่เลี้ยง สามารถท�ำให้เข้าใจได้ว่าความ
  • 17. นางนุชลักษณ์ รุ่งเรือง 17 นักวิชาการศึกษา องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดยาลวน ส�ำเร็จหรือจุดแข็งจะอยู่ที่การท�ำงานด้วยใจมากกว่า การท�ำงานกับเด็กในชุมชนก็ เปรียบเสมือนการท�ำงานให้ลูกให้หลาน อย่างน้อยเราอยู่ในชุมชนเราก็อยากให้เด็ก ในชุมชนของตัวเองประสบผลส�ำเร็จ อยากให้เด็กเป็นคนดี แต่การท�ำงานก็จะต้อง พบและประสบเจอกับ ปัญหาและอุปสรรคในการท�ำโครงการหรือกิจกรรม เหมือน กัน ถ้ามีปัญหาอุปสรรคเกิดขึ้น พี่เลี้ยงจะไม่คิดคนเดียวหรือแก้ไขปัญหานั้นด้วยตัว คนเดียว เพราะมันอาจจะท�ำให้การท�ำงานนั้นมีความแคบและแก้ไขไม่ครอบคลุม กับปัจจัยทั้งหมด ดังนั้นเราไม่คิดคนเดียว แต่ก็ต้องประสานคนให้มาร่วมด้วย ก็ทั้ง เพือนร่วมงานและผูบริหาร ถ้าปัญหาใหญ่มากๆ ก็ตองประสานหน่วยงานภายนอกที่ ่ ้ ้ สามารถจะช่วยได้ เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีได้ชวยให้การสนับสนุนทาง ่ ด้านการพูดคุยกับเด็กๆ เมือเวลาเราพูดแล้วอยากให้เด็กฟังแบบไม่เบือ ดังนันอยาก ่ ่ ้ ให้ทางมหาวิทยาลัยเข้าช่วยให้ความรูทางด้านเทคนิค และช่วยให้การสนับสนุน ทัง ้ ้ ทางด้านข้อมูลข่าวสาร วารสารเกียวกับสภาเด็ก เพราะอยากให้เด็กๆ ได้อานเพิมเติม ่ ่ ่ ความรู้ในด้านต่างๆ เพิ่มขึ้น
  • 19. นางนุชลักษณ์ รุ่งเรือง 19 นักวิชาการศึกษา องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดยาลวน เป็นพีเ่ ลียงหน้าใหม่ เพราะเข้ามารับงานนีได้ประมาณ 1 ปี (พ.ศ. 2555) เนืองจาก ้ ้ ่ พี่เพิ่งได้ย้ายเข้ามาท�ำงานอยู่ที่นี่ ดังนั้นบทบาทหน้าที่ของนักวิชาการศึกษา กองส่ง เสริมการศึกษา จะต้องเข้ามาร่วมรับผิดชอบในหน้าที่พี่เลี้ยงสภาเด็กเพิ่มขึ้นด้วย โดยหน้าที่หลักๆ จะต้องรับผิดชอบในส่วนของการดูแลและให้ค�ำปรึกษาให้กับทีม สภาเด็กและเยาวชน และช่วยสนับสนุนการท�ำกิจกรรมโครงการตามทีหน่วยงานได้ ่ มอบหมายไว้ให้แล้ว ในทีมพี่เลี้ยงสภาเด็กจะมีทีมงานอยู่อีกหลายท่าน คุณครูสม จิตร กิ่งแดง ฝ่ายการศึกษานอกระบบ และ ค�ำภา บุญวัง ครูช�ำนาญการบ้านคลึง ฝ่ายการประถมศึกษา และคณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนต�ำบล กุดยาลวน เจ้าหน้าที่ และพนักงานทุกคน ดังนันการท�ำกิจกรรมของสภาเด็กและเยาวชนจะมีผู้ ้ ร่วมรับผิดชอบอยูหลายคน ปัญหาเรืองของพีเ่ ลียงมีไม่เพียงพอก็ไม่ใช่ปญหาส�ำหรับ ่ ่ ้ ั ที่กุดยาลวน การท�ำงานในส่วนของการศึกษาและวัฒนธรรมตรงนี้เป็นหน้าที่หลักในการส่ง เสริมทางการศึกษา จึงท�ำให้เราจะต้องมาให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาเด็กและ เยาวชนในต�ำบล ต้องเปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนได้แสดงออกถึงศักยภาพ ความ สามารถทีตนมี ให้เด็กได้ทำกิจกรรมเพือสังคม ให้เป็นประโยชน์ให้แก่ชมชน และยัง ่ � ่ ุ คาดหวังว่า อยากให้เด็กได้ท�ำกิจกรรม และสร้างกิจกรรมให้เกิดขึ้นภายในชุมชนให้ เป็นรูปธรรมทียงยืน เพือน�ำไปสูการแก้ไขปัญหาสังคมให้ได้ อย่างเช่นปัญหายาเสพ ่ ั่ ่ ่ ติด โดยการใช้กจกรรมเข้ามาบ�ำบัด และสนับสนุนให้กจกรรมสามารถดึงเด็กให้หาง ิ ิ ่ ไกลจากปัญหายาเสพติด ในครังแรกพีเ่ ลียงได้ดำเนินการจัดโครงการปันปูนปันเด็ก ้ ้ � ้ ้ (ปูนปาสเตอร์) เพือเป็นการส่งเสริมให้เด็กมีความรูมทกษะในการท�ำงานศิลปะ และ ่ ้ ี ั สามารถทีจะฝึกสมาธิและความอดทนให้กบเด็กๆ ในชุมชนได้อกด้วย กิจกรรมนีกได้ ่ ั ี ้็ รับความสนใจจากเด็กๆ ในพื้นที่เป็นจ�ำนวนมาก ในปัจจุบนนี้ งานด้านสภาเด็กถือได้วาเป็นงานทีพเี่ พิงเข้ามารับผิดชอบ เนืองจาก ั ่ ่ ่ ่ สมัยก่อน อบต. จะเข้ามาก�ำกับดูแลในภาพรวม และในส่วนของคณะผูบริหารจะช่วย ้ ดูแลในส่วนของโครงการทีทำในครังแรก ซึงท่านผูบริหารเองก็เล็งเห็นถึงความส�ำคัญ ่ � ้ ่ ้ ของการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับเด็กๆ เพราะท่านมองเด็กในต�ำบลว่าเป็นเหมือน
  • 20. รุ 20 นางนุชลักษณ์ษา่งเรือง การบริหารส่วนต�ำบลกุดยาลวน นักวิชาการศึก องค์ ลูกเหมือนหลาน จึงได้ให้การสนับสนุนงบประมาณในการด�ำเนินโครงการเพิ่มจาก ที่ได้รับงบประมาณจาก ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ จ�ำนวน 25,000 บาท และทาง อบต. ได้สนับสนุนให้อีก5,000 บาท รวมทั้งสิ้น 30,000 บาท หากกรณีงบประมาณมีไม่เพียงพอ พี่เลี้ยงจะกระตุ้นให้เด็กๆ ระดมทุน โดยทุน ก็ คือ ทุนทางสมองของตัวเด็กเอง อย่างเช่น การปั้นปูนปาสเตอร์ เด็กจะเป็นคนท�ำเอง แล้วน�ำไปขาย เพือหารายได้นำมาใช้ในการพัฒนาต่อยอด เพือน�ำมาสูการสร้างทุน ่ � ่ ่ เล็กๆ มาเพิ่มรายได้ของเด็กๆ มากกว่า ที่จะบอกว่าในการท�ำกิจกรรมต้องมีเงินทุน สนับสนุน และอีกอย่างหนึ่งในการสร้างโครงการไม่อยากให้เด็กๆ เห็นแก่เงิน แต่ ต้องการสร้างความกล้า และให้เข้าใจถึงการท�ำงานการหาเงิน และจะเป็นการสร้าง ความมั่นใจให้ผู้ใหญ่ เพื่อให้เล็งเห็นถึงกิจกรรมที่จัดท�ำขึ้นว่ามีประโยชน์ การติดต่อสื่อสารกับกลุ่มเด็กๆ สามารถจะท�ำได้หลายวิธี ต้วอย่างเช่น การติดต่อ สื่อสารเพื่อเชิญให้เข้าร่วมโครงการกีฬาต้านยาเสพติด บุญประเพณีต่างๆ ประเพณี ลอยกระทง ในส่วนนี้สามารถสื่อสารกับเด็กได้โดยตรง เมื่อพบหน้ากันบริเวณใดพี่ เลี้ยงก็จะใช้วิธีการพูดเพื่อเชิญชวนให้ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรม ในส่วนของเด็กที่ท�ำ กิจกรรมในระดับมัธยมศึกษา จะเลือกใช้วธการติดต่อสือสารกันเองภายในกลุมเด็ก ิี ่ ่ เพื่อจะนัดวันจัดประชุมวางแผนงานในการประชุมว่าจะมีการด�ำเนินกิจกรรมในรูป แบบใดบ้าง ก่อนด�ำเนินกิจกรรมจะต้องมีการประชุม แต่เด็กๆ เขาจะนัดวันและเวลา เพือประชุมกันเองภายในกลุมเสียก่อน เมือได้ขอสรุปแล้วจึงจะด�ำเนินการแจ้งพีเ่ ลียง ่ ่ ่ ้ ้ ในส่วนของพีเ่ ลียงจะคอยดูวาสิงไหนดีหรือไม่ดี คอยกระตุนให้เด็กๆ ได้คดหากวิธการ ้ ่ ่ ้ ิ ี ที่เหมาะสม เช่น เด็กๆ มีความคิดที่อยากจะปั้นตุ๊กตาปูนเพื่อหารายได้ จะได้น�ำเงิน มาใช้ในการพัฒนากิจกรรมของเด็กๆ ต่อไป เมื่อเด็กขาดการสนับสนุนปูนปาสเตอร์ เด็กๆก็มาปรึกษาว่าอยากจะปันปูนปาสเตอร์ เพือจะน�ำไปสูการรวมกลุม เมือพีเ่ ลียง ้ ่ ่ ่ ่ ้ ประสานหาปูนปาสเตอร์มาให้ได้ เด็กๆจึงได้ลงมือท�ำกิจกรรม ส่วนพี่เลี้ยงจะมีหน้า ทีในการสรุปผลการด�ำเนินโดยการประเมินความส�ำเร็จจากชินงาน พร้อมทังท�ำการ ่ ้ ้ สังเกตการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ของตุ๊กตาว่าตัวตุ๊กตา มีส่วนไหนขาดหายไปหรือเปล่า เมื่อสรุปผลการด�ำเนินงานเป็นที่เรียบร้อย พี่เลี้ยงจะท�ำการสรุปเป็นรูปเล่มเพื่อน�ำ
  • 21. นางนุชลักษณ์ รุ่งเรือง 21 นักวิชาการศึกษา องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดยาลวน เสนอผลการด�ำเนินงานมาสู่การแก้ไขและปรับปรุงในปีถัดไป หากการด�ำเนินงาน ประสบกับปัญหาคนในชุมชน ผูนำ ผูใหญ่ จะต้องมาช่วยกันก�ำกับดูแลและผลักดัน ้ � ้ กระตุ้นคนในสังคม ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ร่วมกัน ในการท�ำงานทีผานมาของพีเ่ ลียงและสภาเด็ก เราสามารถทีวเิ คราะห์หาจุดแข็ง ่่ ้ ่ และจุดอ่อนที่เกิดขึ้นจากการท�ำงานได้ดังนี้ จุดแข็ง : การรวมกลุ่มของสภาเด็ก เพราะเด็กจะมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ ทั้งที่เรียน หนังสือ และไม่ได้เรียนหนังสือ แต่เด็กๆ เหล่านีสามารถทีจะมาอยูรวมตัวกันได้ โดย ้ ่ ่ จะครอบคลุมเด็กทั้ง 7 หมู่บ้าน ในส่วนนี้จะส�ำคัญมากที่สุด เมื่อเด็กๆ ที่เข้ามารวม กลุมกันจะมีเป้าหมายเดียวกัน เด็กๆต้องการทีจะรวมกลุมกันเพือท�ำให้ความฝันนัน ่ ่ ่ ่ ้ ประสบผลส�ำเร็จและเป็นสิ่งที่จะยั่งยืน โดยเฉพาะจุดมุ่งหมายเดียวกัน จุดอ่อน : ด้านของการเสนอแนวคิดของเด็กๆ การเสนอไอเดีย การรวมพลังของเด็ก ยังไม่ดเท่าทีควร อาจจะเพราะว่าเด็กๆ ให้ความส�ำคัญกับการใช้เทคโนโลยีมากกว่า ี ่ และมีความสนใจในด้านการสร้างพลังน้อยลง สิงทีพเี่ ลียงต้องการได้รบการสนับสนุน/หนุนเสริมเพือให้การด�ำเนินงานในบทบาท ่ ่ ้ ั ่ ของพี่เลี้ยงประสบความส�ำเร็จ ยังมีความต้องการให้มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี เข้ามาให้ความช่วยเหลือในด้านการเขียนโครงการ การฝึกอบรม ให้ความรู้ หรือเมื่อเรา ประสบปัญหาในการท�ำงาน เราอยากที่จะประสานขอความร่วมมือไปหาได้โดย สะดวก
  • 22. 22 นางสุกาฤตา ปากหวาน งคม เทศบาลต�ำบลขามใหญ่ หัวหน้ ฝ่ายสวัสดิการสั รู้จักแยกแยะสิ่งดีและไม่ดี ก็พอใจแล้ว นางสุกฤตา ปากหวาน หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการสังคม เทศบาลต�ำบลขามใหญ่
  • 23. นางสุกฤตา ปากหวาน 23 หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการสังคม เทศบาลต�ำบลขามใหญ่ จุดเริ่มต้นของการเข้ามาท�ำงานเกี่ยวกับด้านเด็กและเยาวชน : ช่วงปี 2553 จะอยู่ในรูป ของการเข้าร่วมประชุมกับทีมงานอย่างไม่เป็นทางการ เพราะรูปแบบการท�ำงานใน ระยะนันยังไม่มทศทาง ความชัดเจนมากนัก จึงท�ำให้เทศบาลต�ำบลขามใหญ่ดำเนิน ้ ี ิ � การประชุมเพือหาผูรบผิดชอบดูแลในเรืองกิจกรรมโครงการและกิจกรรมพัฒนาเด็ก ่ ้ั ่ และเยาวชน ทั้งในและนอกสถานศึกษาที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาล ต�ำบลขามใหญ่ พร้อมทั้งการจัดการระบบสวัสดิการให้กับเด็กและเยาวชนด้วย เมื่อมติของที่ประชุมได้สรุปว่า การท�ำงานที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชนนั้นจะ ต้องท�ำการบูรณาการการท�ำงานร่วมกันในหลายๆ ฝ่าย เข้าไว้ด้วยกันจึงท�ำให้รูป แบบการท�ำงานของเทศบาลแยกออกเป็น 2 ฝ่ายดังนี้ 1. ส�ำนักปลัด : โดยฝ่ายสวัสดิการสังคม จะรับผิดชอบเกียวกับการท�ำกิจกรรมร่วม ่ กับเด็กและเยาวชนทังในและนอกเวลาราชการ พร้อมทังก�ำกับดูแล การจัดกิจกรรม ้ ้ และการประสานของบประมาณให้แก่เด็กๆ 2. กองการศึกษา : จะรับผิดชอบเกี่ยวกับการท�ำกิจกรรมร่วมกับเด็กนักเรียนที่อยู่ ทั้งในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของเทศบาลต�ำบลขามใหญ่เป็นหลัก เมื่อได้รับมอบหมายงานจากนายกเทศมนตรี ฝ่ายสวัสดิการสังคม ได้ประชุม ทีมงานเพื่อปรึกษาหารูปแบบและวิธีการการท�ำงานทางด้านเด็กและเยาวชน ที่จะ
  • 24. 24 นางสุกาฤตา ปากหวาน งคม เทศบาลต�ำบลขามใหญ่ หัวหน้ ฝ่ายสวัสดิการสั สามารถน�ำมาใช้เป็นเทคนิคส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหาให้กับตัวเด็กและเยาวชน ชุมชน สังคม และประเทศต่อไปได้ ดั้งนั้นแนวคิดที่น�ำมาใช้ในการท�ำงานส่วนหนึ่ง จะมาจากเรืองของครอบครัวของตนเองและครอบครัวของญาติพนอง ซึงมีบตรหลาน ่ ี่ ้ ่ ุ ที่ก�ำลังก้าวเข้าสู่วัยรุ่น ซึ่งเริ่มมีพฤติกรรมที่เริ่มเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางของการ สร้างปัญหามากยิงขึน เช่น เด็กไม่เชือฟังค�ำสอนของผูใหญ่ ผูใหญ่สอนอะไรก็ไม่ฟง ่ ้ ่ ้ ้ ั บอกอะไรก็ไม่เชือ นอนดึก ตืนสาย ชอบเล่นเกมส์ เล่นโทรศัพท์ เล่นอินเตอร์เน็ต เฟส ่ ่ บุ๊ค ประมาณนี้ และก็อีกประการหนึ่งเด็กและเยาวชนในเขตพื้นที่ต�ำบลขามใหญ่ มี จ�ำนวนมากเนืองจากเป็นต�ำบลทีกว้างใหญ่ ยกตัวอย่างเช่น เด็กทีมอายุระหว่างแรก ่ ่ ่ ี เกิดถึง 17 ปี จะมีอยูประมาณเจ็ดพันกว่าคน แต่ถาจะมอง 0-25 ปี ก็จะปริมาณหมืน ่ ้ ่ กว่าคน เมื่อมีเด็กและเยาวชนอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ปัญหาในพื้นที่ก็จะมีมากตามไป ด้วย ประกอบกับเทศบาลขามใหญ่จะมีลักษณะพื้นที่เป็นชุมชนเมืองกึ่งชนบท ดัง นั้นปัญหาที่เกิดขึ้นจะเป็นปัญหาทั้งทางด้านของเทคโนโลยีสารสนเทศ การมีเพศ สัมพันธ์ก่อนวัยอันควร คุณแม่วัยใส เด็กติดเกมส์ ทะเลาะวิวาทกัน ฯลฯ หากมอง มาถึงจุดนี้ ทีมงานของเราก็มองย้อนกลับมาคิดว่าเราจะช่วยเด็กกลุ่มนี้ได้อย่างไร เพราะปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นเกิดขึ้นได้ทั้งภายในชุมชนและภายนอกชุมชน ดังนันทางทีมงานจึงได้เปิดเวทีเพือให้เด็กๆ ในชุมชนได้เข้ามาแสดงออกทางความ ้ ่
  • 25. นางสุกฤตา ปากหวาน 25 หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการสังคม เทศบาลต�ำบลขามใหญ่ คิดร่วมกัน และทุกครั้งที่มีการประชุมสภาเด็กและเยาวชน ตัวพี่เองจะบอกกับลูก หลานสภาเด็กเสมอว่า “ในการประชุมหรืออบรมแต่ละครั้ง การตั้งเป้าหมายพี่จะไม่ได้หวังว่าในการอบรมจะ ต้องได้ 50% เด็กจะรู้เรื่องและเข้าใจในการพัฒนาตนเอง อย่างน้อยได้กลุ่มย่อยๆ 5 คน 10 คน ไปก่อน และก็ขยายไปหาเพื่อน อย่างน้อยในกลุ่มที่เข้ามาร่วมกิจกรรมนี้แค่หวังว่า ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และให้รู้จักคิดและแยกแยะสิ่งดีและไม่ดี ก็พอใจแล้ว” นางสุกฤตา ปากหวาน 20 สิงหาคม 2556 เมื่อกลุ่มเด็กและเยาวชนของเทศบาลต�ำบลขามใหญ่ ได้เข้าใจรูปแบบของ กิจกรรม จึงท�ำให้รปแบบของกิจกรรมเริมมีความหลากหลายมากยิงขึน เช่น กิจกรรม ู ่ ่ ้ การเข้าค่าย การศึกษาดูงาน การฝึกอบรม การฝึกอาชีพและส่งเสริมอาชีพ กิจกรรม ด้านจิตอาสา พาน้องไปพัฒนาวัด พัฒนาชุมชน และพาไปเยี่ยมผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ฯลฯ ซึ่งรูปแบบของกิจกรรมดังกล่าวจะเน้นการปลูกฝังให้เด็กได้รู้จัก การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์กับปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสม ดังนั้นการ สร้างบทบาทหน้าที่ พื้นที่กิจกรรมสร้างสรรค์ให้กับเด็กและเยาวชน จึงเป็นบทบาท ที่ส�ำคัญของพี่เลี้ยงอย่างเรา ดังตัวอย่างของกิจกรรมดังนี้ 1. กิจกรรมพัฒนาและอบรมแกนน�ำเด็กและเยาวชนที่อยู่ในพื้นที่ให้เข้ามาร่วม
  • 26. 26 นางสุกาฤตา ปากหวาน งคม เทศบาลต�ำบลขามใหญ่ หัวหน้ ฝ่ายสวัสดิการสั อบรมเชิงปฏิบัติการกับทางเทศบาล ซึ่งในรูปแบบกิจกรรมนี้จะมีการเชิญวิทยากร จากภายนอกชุมชนทีมความรูความสามารถมาให้ความรู้ เพือให้เด็กเกิดการพัฒนา ่ ี ้ ่ ทักษะตัวเอง ทักษะการเป็นผู้น�ำ ให้กล้าคิด กล้าพูดต่อที่สาธารณะ 2. กิจกรรมการเข้าค่ายทั้งในพื้นที่ของเทศบาลและนอกสถานที่(อุทยานแห่งชาติ ภูจองนายอย) เพื่อให้เด็กๆ ได้รู้จักการคิดวิเคราะห์เหตุผล จากสถานการณ์ปัญหา สังคมในปัจจุบัน ผ่านการแสดงละครเวที ซึ่งกลุ่มเด็กที่เข้าร่วมกิจกรรม 25 คน ต่าง ให้การตอบรับรูปแบบการท�ำกิจกรรมเป็นอย่างดี ผ่านการสัมภาษณ์ การสอบถาม กลุ่มเด็กๆ เริ่มมีการตื่นตัวและเริ่มที่จะแสดงออกในรูปแบบการท�ำงานมากยิ่งขึ้น ประเด็นการเข้าร่วมสังเกตการณ์การด�ำเนินกิจกรรมของเด็กและเยาวชน หากเป็น ไปได้จะเข้าร่วมการด�ำเนินงานด้วยทุกครั้ง เพื่อเป็นการติดตามดูพัฒนาการณ์ของ เด็กๆ ว่ามีพัฒนาการในด้านใดที่เปลี่ยนแปลงไปบ้างหรือไม แม้กระทั้งการไปรับส่ง เด็กๆ ทีเ่ ข้ารับการอบรม ทางเราเองก็จะใช้เวลาระหว่างการเดินทางเพือสอบถามสาร ่ ทุกข์สุขดิบ และเป็นช่วงเวลาที่ท�ำให้พี่เลี้ยงและเด็กเปิดใจได้มากยิ่งขึ้น การด�ำเนินกิจกรรมที่ผ่านมาของเทศบาลต�ำบลขามใหญ่ จะได้รับการสนับสนุนจาก ทางผู้บริหารในหลากหลายด้าน เช่น ด้านสนับสนุนงบประมาณ ทรัพยากรเครื่อง ใช้ไม่สอย และความสะดวกต่างๆ อย่างเต็มที่ เพราะผู้บริหาร ได้เล็งเห็นถึงความ ส�ำคัญของการเด็กและเยาวชน หากขาดเหลือสิ่งใด ด้านใด ทางพี่เลี้ยงสามารถที่ จะประสานงานและขอรับการสนับสนุนได้ทันที่ ยกตัวอย่างเช่น เทศบาลได้ก�ำหนด
  • 27. นางสุกฤตา ปากหวาน 27 หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการสังคม เทศบาลต�ำบลขามใหญ่ งบประมาณการด�ำเนินโครงการในด้านต่างๆ ไว้ในเทศบัญญัติของเทศบาล ซึ่งได้ ก�ำหนดไว้ว่าภายใน 1 ปี จะมีการด�ำเนินโครงการอย่างน้อย 7-8 โครงการ เฉพาะ ในส่วนของฝ่ายสวัสดิการสังคมเป็นผู้รับผิดชอบ โดยมีการก�ำหนดไว้โครงการละ 30,000 -50,000 บาท นอกจากนีกจกรรมของเด็กและเยาวชนของเทศบาลขามใหญ่ ้ิ ไม่ได้มีเฉพาะงบประมาณภายในเท่านั้น แต่ยังได้รับการสนับสนุนจาก ส�ำนักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี พัฒนาสังคมและความมังคงจังหวัดอุบลราชธานี ศูนย์พฒนาสังคม 74 อุบลราชธานี ่ ั และส�ำนักส่งเสริมบทบาทสตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส นักการเมืองท้องถิ่น ฯลฯ เป็น ผู้ให้การสนับสนุนงบประมาณในการด�ำเนินกิจกรรม ถ้าในการด�ำเนินกิจกรรมงบ ประมาณไม่เพียงพอทางเราเองก็ยังมีเครือข่าย เพื่อประสานขอรับความช่วยเหลือ การด�ำเนินกิจกรรมและโครงการในแต่ละครั้งพี่เลี้ยงจะเลือกใช้วิธีการติดต่อกับ เด็ก ผ่านหลายช่องทาง อาทิ การประสานงานทางโทรศัพท์ Fackbook ประสานงาน ผ่านทางเพื่อน ประสานงานที่บ้าน ที่โรงเรียน และทุกช่องทางที่สะดวก เพื่อเชิญเข้า ร่วมประชุม เชิญเข้าร่วมกิจกรรม บางครังเราจะต้องประสานผ่านกลุมโรงเรียนขยาย ้ ่ โอกาส ทัง 4 โรงเรียนในเขตพืนทีของเรา ได้แก่ โรงเรียนบ้านขามใหญ่ โรงเรียนประชา ้ ้ ่ สามัคคี โรงเรียนหัวค�ำ และโรงเรียนด้ามพร้า เพือให้เด็กในกลุมโรงเรียนขยายโอกาส ่ ่ นี้ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนากิจกรรมร่วมกัน
  • 28. 28 นางสุกาฤตา ปากหวาน งคม เทศบาลต�ำบลขามใหญ่ หัวหน้ ฝ่ายสวัสดิการสั รูปแบบการประชุมจะมีอยูหลากหลายรูปแบบ ทังแบบทีเ่ ป็นทางการและไม่เป็น ่ ้ ทางการบางครังถ้าไม่เป็นทางการเมือท�ำกิจกรรมเสร็จเราก็จะร่วมกันไปทานอาหาร ้ ่ และปรึกษาหารือกันว่าจะท�ำกิจกรรมในรูปแบบไหนต่อไป การท�ำกิจกรรมเด็กได้บรรจุเข้าในแผนสามปี และแผนการด�ำเนินงานทุกๆ ปี เพือ ่ เป็นการก�ำหนดทิศทางการพัฒนากลุ่มเด็กและเยาวชนว่าควรจะเป็นไปในทิศทาง ไหนได้บ้าง เนื่องจากกลุ่มสภาเด็กของทางเทศบาลจะมีการเปลี่ยนแปลงทุกๆ 2 ปี เนื่องจากเด็กๆบางคนเริ่มโตเป็นผู้ใหญ่ บางคนก็จะต้องไปเรียนหนังสือนอกชุมชน นอกหมูบาน ดังนันหากไม่มการเขียนแผนไว้กอน อาจจะท�ำให้กจกรรมไม่เกิดความ ่ ้ ้ ี ่ ิ ต่อเนื่อง ซึ่งกลุ่มพี่เลี้ยงจะใช้วิธีการประเมินความส�ำเร็จของงานผ่านการสังเกต ไม่ ได้ใช้แบบสอบถาม ซึ่งการสังเกตสามารถท�ำได้ง่ายกว่ารูปแบบอื่นๆ บางครั้งก็จะ ใช้วธการสอบถามจากตัวเด็ก ดูปฏิกรยาของการเข้าร่วมกิจกรรมของเด็ก และดูจาก ิี ิิ คณะผูบริหาร ว่าเห็นดีเห็นงามด้วยหรือไม่ ว่าปลืมกับงานทีออกมามากน้อยเพียงใด ้ ้ ่ และเมือด�ำเนินกิจกรรมเสร็จจะมีการสรุปกิจกรรมและจัดท�ำเป็นรูปเล่มรายงานทังนี้ ่ ้ บางทีขนกับว่าได้รบงบประมาณจากหน่วยงานไหน ถ้าจากทางเทศบาลเองพีเ่ ลียงก็ ึ้ ั ้ จะท�ำหนังสือบันทึกเสนอผู้บริหาร ถ้าเป็นส่วนงบประมาณจากภายนอกก็จะด�ำเนิน การสรุปโครงการแล้วจัดส่งเป็นรูปเล่มเช่นกัน การที่จะท�ำให้งานออกมาส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งเอาไว้ สิ่งที่ไม่ควรจะลืมก็