SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน ไข้เลือดออก โรงน่ากลัว
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย ศุภวิชญ์ นันใจ เลขที่ 26 ชั้น 6 ห้อง 10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
นายศุถวิชญ์ นันใจ เลขที่ 26
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ไข้เลือดออก โรคน่ากลัว
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Dengue
ประเภทโครงงาน การป้องกันของ สาธารณสุข
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ศุภวิชญ์ นันใจ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ไข้เลือดออกบางคนเดินเข้าโรงพยาบาลไปนอนรักษาง่ายๆไม่กี่วันก็กลับบ้านแต่บางคนสามารถมีอาการหนัก
จนถึงขั้นเข้าห้องไอซียูให้เลือดให้น้าเกลือหากร่างกายอ่อนแอจนไม่สามารถต้านทานไหวหรือเข้าสู่ภาวะติดเชื้อใน
กระแสเลือดก็อาจเสียชีวิตภายในเวลาไม่กี่วันได้เช่นกันที่มาของโรงงานคือช่วงก่อนที่จะทาโครงงานนี้พบเจอกับปัญหา
ยุงเยอะเพราะกาลังอยู่ในช่วงของหน้าฝนจึงทาให้เกิดน้าขังจานวนมากจึงทาให้เกิดการวางไข่ของยุงลายจานวนมาก
และพื้นที่ที่เกิดน้าขังก็เกินกาลังจะที่กาจัดได้หมดและนี้จึงเป็นปัญหาที่อยากจะศึกษาเพิ่มเติมเพื่อที่จะสามารถแก้ไข้
ปัญหาเหล่านี้ได้โดยการศึกษาจากเว็บไชต์ต่างๆเพื่อรวบรวมข้อมูลอยู่ในโครงงานชิ้นนี้เพื่อเป็นแนวทางในการกาจัด
ปัญหานี้ให้แก่ผู้ที่สนใจและจากการค้นหาข้อมูลก็ได้ค้นพบว่าเชียงใหม่เป็นจังหวัดที่ติดอันดับ 4 ของเขต 1 ที่เกิด
ปัญหาไข้เลือดออกมากที่สุดจึงทาให้โครงงานนี้มีการแก้ไข้ปัญหาสาหรับเมืองเชียงใหม่โดยเฉพาะและการจากศึกษา
โครงงานชินนี้ก็หวังว่าผู้ที่สนใจจากโรงงานชิ้นนี้จะได้รับประโยชน์และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันหรือการป้องกันจาก
โรคไข้เลือดออกได้
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.การป้องกันโรคไข้เลือดออก
2.วิธีการกาจัดไข้เลือดออก
3.การทาลายแหล่งของยุงลาย
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.การแพร่ของยุงลาย
2.รู้จักวิธีการป้องกัน
3.ปัจจัยการวางไข่ของยุง
4.การดูอาการของโรค
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การติดต่อของโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก มักติดต่อจากคนไปสู่คน ซึ่งมียุงลายเป็นตัวพาหะที่สาคัญ (Aedes aegypt) โดยยุงตัวเมียจะกัดและ
ดูดเลือดของผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสเดงกี จากนั้นเชื้อจะเข้าไปฟักตัวและเพิ่มจานวนในตัวยุงลาย ทาให้มีเชื้อไวรัสอยู่ในตัว
ของยุงตลอดระยะเวลาของมันประมาณ 1 - 2 เดือน แล้วถ่ายทอดเชื้อไปสู่คนที่ถูกกัดได้ ยุงลายเป็นยุงที่อาศัยอยู่ใน
บริเวณบ้าน มักออกกัดเวลากลางวัน มีแหล่งเพาะพันธุ์ คือ น้านิ่งที่ขังอยู่ในภาชนะเก็บน้าต่างๆ อาทิ โอ่ง แจกัน
ดอกไม้ ถ้วยรองขาตู้ จาน ชาม กระป๋อง หม้อ ยางรถยนต์ หรือกระถาง เป็นต้น
ไข้เลือดออก อันตรายถึงชีวิต
ผู้ป่วยบางรายแค่มีอาการไข้ขึ้นสูง พอไข้ลดก็กลับบ้านได้เลย แต่ผู้ป่วยบางรายอาการหนัก ทั้งนี้ขึ้นอยู่เชื้อที่ได้รับ และ
ภูมิต้านทานโรคของตัวผู้ป่วยเอง จึงทาให้ความรุนแรงของอาการไข้เลือดออกในแต่ละคนไม่เท่ากัน
ช่วงที่อันตรายที่สุด ของโรคไข้เลือดออก
ในช่วงที่รักษาตัวจนไข้ลด ภายใน 48 ชั่วโมง ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจเกิดอาการช็อก หรือเลือดออกตามร่างกาย ซึ่ง
สาเหตุจากการเสียชีวิตในโรคนี้ก็มาจากอาการช็อก ร่างกายขาดน้าอย่างรุนแรง (แม้เราจะไม่เห็นผู้ป่วยมีอาการขาดน้า
จากภายนอกแต่ย่างใด) น้าในหลอดเลือดจะไหลไปอยู่ในเนื้อเยื่อข้างเคียง ความดันเลือดลดลง จนเกิดอาการช็อก
ตามมา แต่หากไม่แสดงอาการใดๆ ก็จะถือว่าปลอดภัยแล้ว
ลักษณะของยุงลาย
4
ยุงลายที่เป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก คือ ยุงลายตัวเมีย มีลักษณะเป็นลายสีขาวสลับดาที่ท้อง ลาตัวและขา พบมาก
ตามบ้านอยู่อาศัยและในสวน ออกหากินในเวลากลางวันและขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้านิ่ง พบบ่อยตามภาชนะที่มีน้า
ขัง เช่น โอ่งน้า แจกันดอกไม้ จานรองขาตู้กับข้าว ยางรถยนต์เก่า และเศษวัสดุอื่นๆ เป็นต้น
การรักษาโรคไข้เลือดออก
การรักษา โรคไข้เลือดออก นั้นยังไม่มียาต้านเชื้อไวรัสที่มีฤทธิ์เฉพาะตัวสาหรับกาจัดเชื้อไวรัสเดงกี การรักษาตาม
อาการจึงเป็นสิ่งที่สมควรทามากที่สุด ในขั้นแรกเมื่อมีไข้สูงจะให้ยาพาราเซตามอล ห้ามให้ใช้ยาแอสไพรินเด็ดขาด
เพราะจะทาให้เลือดออกรุนแรงขึ้น หากมีอาการคลื่นไส้อาเจียนให้ใช้ยาแก้คลื่นไส้และให้ดื่มน้าเกลือแร่ หรือน้าผลไม้
ครั้งละน้อยๆ แต่บ่อย รวมถึงสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด เพื่อไม่ให้เกิดภาวะช็อคได้ ซึ่งภาวะช็อคส่วนใหญ่มักเกิดขึ้น
ในช่วงที่ไข้ลด ผู้ปกครองควรทราบอาการ ได้แก่ อาการปวดท้อง ปัสสาวะน้อยลง มีอาการกระสับกระส่าย หรือเซื่อง
ซีม มือเท้าเย็นพร้อมๆ กับไข้ลด หน้ามืด เป็นลมง่าย หากเกิดอาการเช่นนี้ให้รีบนาตัวส่งโรงพยาบาลทันที
การป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงลายกัด
1. นอนในมุ้งหรือห้องที่มีมุ้งลวด
2. จุดยากันยุงหรือใช้ยาทาหรือยาฉีดกันยุง และควรใช้อย่างระมัดระวัง
3. ไม่ควรอยู่ในบริเวณที่อับลมหรือเป็นมุมมืด มีแสงสว่างน้อย
4. หมั่นอาบน้าชาระร่างกายให้สะอาดเพราะเหงื่อจะดึงดูดให้ยุงกัดมากขึ้น
วิธีควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ทาได้ดังนี้
1. กาจัด - ทาลาย - ฝัง - เผา เศษภาชนะที่ไม่ใช้ภายในบ้านและบริเวณรอบบ้านไม่ให้มีน้าขัง
2. ควรปิดฝาโอ่งน้าดื่ม น้าใช้ ให้สนิท
3. ใส่ผงซักฟอกหรือน้าส้มสายชูหรือเกลือแกงหรือขี้เถ้าหรือทรายอะเบต หรือเทน้าเดือดลงในจานรองขาตู้ทุกสัปดาห์
4. ใส่ปลาหางนกยูงลงในอ่างบัว ถังเก็บน้าในห้องน้าเพื่อกินลูกน้า
5. ขัดล้างภาชนะเก็บกักน้า เพื่อขจัดยุงลาย
6. เปลี่ยนน้าในแจกันดอกไม้ทุก 7 วัน เพื่อทาลายไข่ยุงลาย
7. ทาความสะอาดรางระบายน้าฝนให้สะอาด
8. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมรอบบ้าน ชุมชน ให้สะอาด
เรื่องที่ต้องรู้เกี่ยว ไข้เลือดออก
ถึงแม้ว่าเราจะรู้สาเหตุว่า 'โรคไข้เลือออก' นั้นเกิดมาจากอะไร และควรที่จะปฏิบัติตัวเพื่อให้ห่างไกลสิ่งเหล่านั้น
อย่างไร แต่ก็ยังข้อมูลอีกไม่น้อยที่เป็นความเชื่อผิด รวมถึงสิ่งที่ยังไม่รู้อีกมาก วันนี้เราจะลองเอาให้ได้ทบทวนกันอีก
ครั้ง เพื่อให้การป้องกันไข้เลือดออกสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น
5
1. เมื่อเป็นไข้เลือดออกแล้วจะไม่กลับมาเป็นอีก
จริงๆ เรื่องนี้ก็มีทั้งถูกและผิด เพราะเมื่อเป็นไข้เลือดออกครั้งแรกแล้ว ร่างกายของเราก็จะมีภูมิคุ้มกันเพื่อป้องกันไม่ให้
กลับมาเป็นอีก แต่ ! เชื้อไว้รัสที่เป็นต้นตอของไข้เลือดออกนี้มีอยู่ 4 สายพันธุ์ หากติดเชื้อจากสายพันธุ์ใดสายพันธุ์หนึ่ง
แล้วก็จะมีภูมิคุ้มกันของสายพันธ์นั้น ถ้าหากเราติดเชื้อเป็นครั้งที่ 2 ซึ่งเป็นคนละสายพันธุ์กันกับในตอนแรก ภูมิคุ้มกัน
ที่มีก็จะป้องกันสายพันธุ์ใหม่นี้ไม่ได้ทั้งหมด ก็อาจทาให้เป็นไข้เลือดออกได้อีก และอาจรุนแรงกว่าเดิมมาก
2. กลุ่มอายุที่ป่วยเป็นไข้เลือดออก
จากเก็บรวบรวมข้อมูล ก็ยังพบว่ากลุ่มอายุที่ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกสูงสุด คือ กลุ่มอายุ 10 - 14 ปี รองลงมาเป็น
กลุ่มอายุ 5 - 9 ปี , 15 - 24 ปี , 25 - 34 ปี ปิดท้ายด้วยกลุ่มอายุ 0 - 4 เดือน ซึ่งผู้ป่วยที่พบได้มากที่สุดจะเป็น
นักเรียน ฉะนั้น เมื่อต้องใช้ชีวตอยู่ในโรงเรียนก็ต้องระมัดระวังไม่ให้อยู่กัด หรืออยู่ในบริเวณน้าขังที่อาจเป็นแหล่ง
เพาะพันธุ์ยุงได้
3. ถึงมีผู้ป่วยมาก แต่ก็ยังไม่มียาฆ่าเชื้อไวรัสเดงกี่
รู้กันดีว่าโรคไข้เลือดออกนั้นเกิดจากเชื้อไวรัสเดงกี่ ซึ่งตอนนี้ทางการแพทย์ยังไม่มียาสาหรับฆ่าเชื้อให้หายได้ 100%
เปอร์เซ็นต์ ทาได้เพียงรักษาไปตามอาการ ทั้งยังต้องเฝ้าระวังภาวะช็อกและเลือดออกอย่างใกล้ชิด โดยแพทย์ก็จะมี
หลักในการรักษา คือ ให้ยาพาราเซตามอลในระยะที่มีไข้สูง ห้ามใช้ยาแอสไพริน เพราะจะทาให้อาการเลือดออก
รุนแรงขึ้น ดูการเปลี่ยนแปลงของเกร็ดเลือดเป็นระยะ และมีให้สารน้าชดเชยเพราะผู้ป่วยจะเบื่ออาหาร มีอาการ
อาเจียน ทาให้ขาดน้าและโซเดียม นอกจากนั้น ยังต้องเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ที่จะตามมาด้วย
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1 แนวทางการดาเนินงาน
2 คิดห้วข้อ
3 ศึกษาโครงงาน
4 จัดทาโครงงาน
5 ปฏิบัติการสร้าง
6 ปรับปรุงและทดสอบ
7 ทารายงาย
8 ประเมินโครงงาน
9 นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์
1 ยาฆ่าแมลง 2 ยากันยุง 3 ฝาปิดแอ่งน้า
6
งบประมาณ
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน / ศุภวิชญ์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / ศุภวิชญ์
3 จัดทาโครงร่างงาน / / / ศุภวิชญ์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / / ศุภวิชญ์
5 ปรับปรุงทดสอบ / / / ศุภวิชญ์
6 การทาเอกสารรายงาน / / / ศุภวิชญ์
7 ประเมินผลงาน / / ศุภวิชญ์
8 นาเสนอโครงงาน / ศุภวิชญ์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
มีแผนการรับมือกับโรคไข้เลือดออกได้อย่างถูกต้องและถูดวิธี
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
วิทยาศาสตร์
สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
7
กรมควบคุมโรคติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข.(2544).แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคไข้เลือดออกเดงกี. กระทรวง
สาธารณสุข กรมควบคุมโรคติดต่อ.
สีวิกา แสงธาราทิพย์ ศิริชัย พรรณธนะ. (2543). โรคไข้เลือดออก. (พิมพ์ครั้งที่ 2). พิมพ์ที่บริษัทเรดิเอชั่น จากัด :
สานักงานควบคุมโรคไข้เลือดออกกรมควบคุมโรคติดต่อกระทรวงสาธารณสุข
สุจิตรา นิมมานนิตย์. (2542). โรคไข้เลือดออก. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์ การเกษตรแห่ง
ประเทศไทย

More Related Content

Similar to Pingpong

2561 project sirithip
2561 project  sirithip2561 project  sirithip
2561 project sirithipNewTF
 
โครงร่างรายงานคอม เดี่ยว
โครงร่างรายงานคอม เดี่ยวโครงร่างรายงานคอม เดี่ยว
โครงร่างรายงานคอม เดี่ยวAmmiry Chill Chill
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาysmhcnboice
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงานfluketo606
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงานfluketo606
 
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์kanyaluk dornsanoi
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมDduang07
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์natsun2424
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีมeyecosmomo
 
งานคอม22
งานคอม22งานคอม22
งานคอม22Dduang07
 

Similar to Pingpong (20)

2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)
 
2561 project sirithip
2561 project  sirithip2561 project  sirithip
2561 project sirithip
 
โครงร่างรายงานคอม เดี่ยว
โครงร่างรายงานคอม เดี่ยวโครงร่างรายงานคอม เดี่ยว
โครงร่างรายงานคอม เดี่ยว
 
Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลา
 
Nutkamon1
Nutkamon1Nutkamon1
Nutkamon1
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงาน
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงาน
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Printf
PrintfPrintf
Printf
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีม
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
At22
At22At22
At22
 
งานคอม22
งานคอม22งานคอม22
งานคอม22
 
2561 project 609
2561 project 6092561 project 609
2561 project 609
 

More from tengchanok

More from tengchanok (7)

Kittapad
KittapadKittapad
Kittapad
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Jj
JjJj
Jj
 
Tewflers
TewflersTewflers
Tewflers
 
18-chanok
18-chanok18-chanok
18-chanok
 

Pingpong

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน ไข้เลือดออก โรงน่ากลัว ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ศุภวิชญ์ นันใจ เลขที่ 26 ชั้น 6 ห้อง 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ นายศุถวิชญ์ นันใจ เลขที่ 26 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ไข้เลือดออก โรคน่ากลัว ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Dengue ประเภทโครงงาน การป้องกันของ สาธารณสุข ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ศุภวิชญ์ นันใจ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ไข้เลือดออกบางคนเดินเข้าโรงพยาบาลไปนอนรักษาง่ายๆไม่กี่วันก็กลับบ้านแต่บางคนสามารถมีอาการหนัก จนถึงขั้นเข้าห้องไอซียูให้เลือดให้น้าเกลือหากร่างกายอ่อนแอจนไม่สามารถต้านทานไหวหรือเข้าสู่ภาวะติดเชื้อใน กระแสเลือดก็อาจเสียชีวิตภายในเวลาไม่กี่วันได้เช่นกันที่มาของโรงงานคือช่วงก่อนที่จะทาโครงงานนี้พบเจอกับปัญหา ยุงเยอะเพราะกาลังอยู่ในช่วงของหน้าฝนจึงทาให้เกิดน้าขังจานวนมากจึงทาให้เกิดการวางไข่ของยุงลายจานวนมาก และพื้นที่ที่เกิดน้าขังก็เกินกาลังจะที่กาจัดได้หมดและนี้จึงเป็นปัญหาที่อยากจะศึกษาเพิ่มเติมเพื่อที่จะสามารถแก้ไข้ ปัญหาเหล่านี้ได้โดยการศึกษาจากเว็บไชต์ต่างๆเพื่อรวบรวมข้อมูลอยู่ในโครงงานชิ้นนี้เพื่อเป็นแนวทางในการกาจัด ปัญหานี้ให้แก่ผู้ที่สนใจและจากการค้นหาข้อมูลก็ได้ค้นพบว่าเชียงใหม่เป็นจังหวัดที่ติดอันดับ 4 ของเขต 1 ที่เกิด ปัญหาไข้เลือดออกมากที่สุดจึงทาให้โครงงานนี้มีการแก้ไข้ปัญหาสาหรับเมืองเชียงใหม่โดยเฉพาะและการจากศึกษา โครงงานชินนี้ก็หวังว่าผู้ที่สนใจจากโรงงานชิ้นนี้จะได้รับประโยชน์และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันหรือการป้องกันจาก โรคไข้เลือดออกได้
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.การป้องกันโรคไข้เลือดออก 2.วิธีการกาจัดไข้เลือดออก 3.การทาลายแหล่งของยุงลาย ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.การแพร่ของยุงลาย 2.รู้จักวิธีการป้องกัน 3.ปัจจัยการวางไข่ของยุง 4.การดูอาการของโรค หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การติดต่อของโรคไข้เลือดออก โรคไข้เลือดออก มักติดต่อจากคนไปสู่คน ซึ่งมียุงลายเป็นตัวพาหะที่สาคัญ (Aedes aegypt) โดยยุงตัวเมียจะกัดและ ดูดเลือดของผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสเดงกี จากนั้นเชื้อจะเข้าไปฟักตัวและเพิ่มจานวนในตัวยุงลาย ทาให้มีเชื้อไวรัสอยู่ในตัว ของยุงตลอดระยะเวลาของมันประมาณ 1 - 2 เดือน แล้วถ่ายทอดเชื้อไปสู่คนที่ถูกกัดได้ ยุงลายเป็นยุงที่อาศัยอยู่ใน บริเวณบ้าน มักออกกัดเวลากลางวัน มีแหล่งเพาะพันธุ์ คือ น้านิ่งที่ขังอยู่ในภาชนะเก็บน้าต่างๆ อาทิ โอ่ง แจกัน ดอกไม้ ถ้วยรองขาตู้ จาน ชาม กระป๋อง หม้อ ยางรถยนต์ หรือกระถาง เป็นต้น ไข้เลือดออก อันตรายถึงชีวิต ผู้ป่วยบางรายแค่มีอาการไข้ขึ้นสูง พอไข้ลดก็กลับบ้านได้เลย แต่ผู้ป่วยบางรายอาการหนัก ทั้งนี้ขึ้นอยู่เชื้อที่ได้รับ และ ภูมิต้านทานโรคของตัวผู้ป่วยเอง จึงทาให้ความรุนแรงของอาการไข้เลือดออกในแต่ละคนไม่เท่ากัน ช่วงที่อันตรายที่สุด ของโรคไข้เลือดออก ในช่วงที่รักษาตัวจนไข้ลด ภายใน 48 ชั่วโมง ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจเกิดอาการช็อก หรือเลือดออกตามร่างกาย ซึ่ง สาเหตุจากการเสียชีวิตในโรคนี้ก็มาจากอาการช็อก ร่างกายขาดน้าอย่างรุนแรง (แม้เราจะไม่เห็นผู้ป่วยมีอาการขาดน้า จากภายนอกแต่ย่างใด) น้าในหลอดเลือดจะไหลไปอยู่ในเนื้อเยื่อข้างเคียง ความดันเลือดลดลง จนเกิดอาการช็อก ตามมา แต่หากไม่แสดงอาการใดๆ ก็จะถือว่าปลอดภัยแล้ว ลักษณะของยุงลาย
  • 4. 4 ยุงลายที่เป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก คือ ยุงลายตัวเมีย มีลักษณะเป็นลายสีขาวสลับดาที่ท้อง ลาตัวและขา พบมาก ตามบ้านอยู่อาศัยและในสวน ออกหากินในเวลากลางวันและขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้านิ่ง พบบ่อยตามภาชนะที่มีน้า ขัง เช่น โอ่งน้า แจกันดอกไม้ จานรองขาตู้กับข้าว ยางรถยนต์เก่า และเศษวัสดุอื่นๆ เป็นต้น การรักษาโรคไข้เลือดออก การรักษา โรคไข้เลือดออก นั้นยังไม่มียาต้านเชื้อไวรัสที่มีฤทธิ์เฉพาะตัวสาหรับกาจัดเชื้อไวรัสเดงกี การรักษาตาม อาการจึงเป็นสิ่งที่สมควรทามากที่สุด ในขั้นแรกเมื่อมีไข้สูงจะให้ยาพาราเซตามอล ห้ามให้ใช้ยาแอสไพรินเด็ดขาด เพราะจะทาให้เลือดออกรุนแรงขึ้น หากมีอาการคลื่นไส้อาเจียนให้ใช้ยาแก้คลื่นไส้และให้ดื่มน้าเกลือแร่ หรือน้าผลไม้ ครั้งละน้อยๆ แต่บ่อย รวมถึงสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด เพื่อไม่ให้เกิดภาวะช็อคได้ ซึ่งภาวะช็อคส่วนใหญ่มักเกิดขึ้น ในช่วงที่ไข้ลด ผู้ปกครองควรทราบอาการ ได้แก่ อาการปวดท้อง ปัสสาวะน้อยลง มีอาการกระสับกระส่าย หรือเซื่อง ซีม มือเท้าเย็นพร้อมๆ กับไข้ลด หน้ามืด เป็นลมง่าย หากเกิดอาการเช่นนี้ให้รีบนาตัวส่งโรงพยาบาลทันที การป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงลายกัด 1. นอนในมุ้งหรือห้องที่มีมุ้งลวด 2. จุดยากันยุงหรือใช้ยาทาหรือยาฉีดกันยุง และควรใช้อย่างระมัดระวัง 3. ไม่ควรอยู่ในบริเวณที่อับลมหรือเป็นมุมมืด มีแสงสว่างน้อย 4. หมั่นอาบน้าชาระร่างกายให้สะอาดเพราะเหงื่อจะดึงดูดให้ยุงกัดมากขึ้น วิธีควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ทาได้ดังนี้ 1. กาจัด - ทาลาย - ฝัง - เผา เศษภาชนะที่ไม่ใช้ภายในบ้านและบริเวณรอบบ้านไม่ให้มีน้าขัง 2. ควรปิดฝาโอ่งน้าดื่ม น้าใช้ ให้สนิท 3. ใส่ผงซักฟอกหรือน้าส้มสายชูหรือเกลือแกงหรือขี้เถ้าหรือทรายอะเบต หรือเทน้าเดือดลงในจานรองขาตู้ทุกสัปดาห์ 4. ใส่ปลาหางนกยูงลงในอ่างบัว ถังเก็บน้าในห้องน้าเพื่อกินลูกน้า 5. ขัดล้างภาชนะเก็บกักน้า เพื่อขจัดยุงลาย 6. เปลี่ยนน้าในแจกันดอกไม้ทุก 7 วัน เพื่อทาลายไข่ยุงลาย 7. ทาความสะอาดรางระบายน้าฝนให้สะอาด 8. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมรอบบ้าน ชุมชน ให้สะอาด เรื่องที่ต้องรู้เกี่ยว ไข้เลือดออก ถึงแม้ว่าเราจะรู้สาเหตุว่า 'โรคไข้เลือออก' นั้นเกิดมาจากอะไร และควรที่จะปฏิบัติตัวเพื่อให้ห่างไกลสิ่งเหล่านั้น อย่างไร แต่ก็ยังข้อมูลอีกไม่น้อยที่เป็นความเชื่อผิด รวมถึงสิ่งที่ยังไม่รู้อีกมาก วันนี้เราจะลองเอาให้ได้ทบทวนกันอีก ครั้ง เพื่อให้การป้องกันไข้เลือดออกสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น
  • 5. 5 1. เมื่อเป็นไข้เลือดออกแล้วจะไม่กลับมาเป็นอีก จริงๆ เรื่องนี้ก็มีทั้งถูกและผิด เพราะเมื่อเป็นไข้เลือดออกครั้งแรกแล้ว ร่างกายของเราก็จะมีภูมิคุ้มกันเพื่อป้องกันไม่ให้ กลับมาเป็นอีก แต่ ! เชื้อไว้รัสที่เป็นต้นตอของไข้เลือดออกนี้มีอยู่ 4 สายพันธุ์ หากติดเชื้อจากสายพันธุ์ใดสายพันธุ์หนึ่ง แล้วก็จะมีภูมิคุ้มกันของสายพันธ์นั้น ถ้าหากเราติดเชื้อเป็นครั้งที่ 2 ซึ่งเป็นคนละสายพันธุ์กันกับในตอนแรก ภูมิคุ้มกัน ที่มีก็จะป้องกันสายพันธุ์ใหม่นี้ไม่ได้ทั้งหมด ก็อาจทาให้เป็นไข้เลือดออกได้อีก และอาจรุนแรงกว่าเดิมมาก 2. กลุ่มอายุที่ป่วยเป็นไข้เลือดออก จากเก็บรวบรวมข้อมูล ก็ยังพบว่ากลุ่มอายุที่ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกสูงสุด คือ กลุ่มอายุ 10 - 14 ปี รองลงมาเป็น กลุ่มอายุ 5 - 9 ปี , 15 - 24 ปี , 25 - 34 ปี ปิดท้ายด้วยกลุ่มอายุ 0 - 4 เดือน ซึ่งผู้ป่วยที่พบได้มากที่สุดจะเป็น นักเรียน ฉะนั้น เมื่อต้องใช้ชีวตอยู่ในโรงเรียนก็ต้องระมัดระวังไม่ให้อยู่กัด หรืออยู่ในบริเวณน้าขังที่อาจเป็นแหล่ง เพาะพันธุ์ยุงได้ 3. ถึงมีผู้ป่วยมาก แต่ก็ยังไม่มียาฆ่าเชื้อไวรัสเดงกี่ รู้กันดีว่าโรคไข้เลือดออกนั้นเกิดจากเชื้อไวรัสเดงกี่ ซึ่งตอนนี้ทางการแพทย์ยังไม่มียาสาหรับฆ่าเชื้อให้หายได้ 100% เปอร์เซ็นต์ ทาได้เพียงรักษาไปตามอาการ ทั้งยังต้องเฝ้าระวังภาวะช็อกและเลือดออกอย่างใกล้ชิด โดยแพทย์ก็จะมี หลักในการรักษา คือ ให้ยาพาราเซตามอลในระยะที่มีไข้สูง ห้ามใช้ยาแอสไพริน เพราะจะทาให้อาการเลือดออก รุนแรงขึ้น ดูการเปลี่ยนแปลงของเกร็ดเลือดเป็นระยะ และมีให้สารน้าชดเชยเพราะผู้ป่วยจะเบื่ออาหาร มีอาการ อาเจียน ทาให้ขาดน้าและโซเดียม นอกจากนั้น ยังต้องเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ที่จะตามมาด้วย วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1 แนวทางการดาเนินงาน 2 คิดห้วข้อ 3 ศึกษาโครงงาน 4 จัดทาโครงงาน 5 ปฏิบัติการสร้าง 6 ปรับปรุงและทดสอบ 7 ทารายงาย 8 ประเมินโครงงาน 9 นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ 1 ยาฆ่าแมลง 2 ยากันยุง 3 ฝาปิดแอ่งน้า
  • 6. 6 งบประมาณ ไม่มีค่าใช้จ่าย ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน / ศุภวิชญ์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / ศุภวิชญ์ 3 จัดทาโครงร่างงาน / / / ศุภวิชญ์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / / ศุภวิชญ์ 5 ปรับปรุงทดสอบ / / / ศุภวิชญ์ 6 การทาเอกสารรายงาน / / / ศุภวิชญ์ 7 ประเมินผลงาน / / ศุภวิชญ์ 8 นาเสนอโครงงาน / ศุภวิชญ์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) มีแผนการรับมือกับโรคไข้เลือดออกได้อย่างถูกต้องและถูดวิธี สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง วิทยาศาสตร์ สุขศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
  • 7. 7 กรมควบคุมโรคติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข.(2544).แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคไข้เลือดออกเดงกี. กระทรวง สาธารณสุข กรมควบคุมโรคติดต่อ. สีวิกา แสงธาราทิพย์ ศิริชัย พรรณธนะ. (2543). โรคไข้เลือดออก. (พิมพ์ครั้งที่ 2). พิมพ์ที่บริษัทเรดิเอชั่น จากัด : สานักงานควบคุมโรคไข้เลือดออกกรมควบคุมโรคติดต่อกระทรวงสาธารณสุข สุจิตรา นิมมานนิตย์. (2542). โรคไข้เลือดออก. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์ การเกษตรแห่ง ประเทศไทย