SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บทที่ 2
 ขั้นตอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูล ดวย
           โปรแกรม Epi Info for Windows

           ในบทนี้กลาวถึงขั้นตอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม Epi Info
ซึ่ ง ประกอบด ว ยขั้ น ตอนที่ สํ า คั ญ ได แ ก การสร า งแบบฟอร ม นํ า เข า ข อ มู ล ด ว ยโปรแกรมย อ ย
Make View การนําเขาขอมูลดวยโปรแกรมยอย Enter Data การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย
โปรแกรมยอย Data Compare การจัดการขอมูลและแฟมขอมูล การตรวจสอบความถูกตองและ
แนวทางการวิเคราะหขอมูล และการวิเคราะหสถิติเชิงพรรณนาดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

                  2.1 การสรางแบบฟอรมนําเขาขอมูลดวยโปรแกรมยอย Make View

          เปนขั้นตอนการออกแบบและสรางแบบฟอรมนําเขาขอมูล โดยการเรียกใชโปรแกรม
ยอย Make View(Questionnaire) แลวจัดเก็บบันทึก อยูในรูปแฟมฐานขอมูลที่มีนามสกุลเปน .MDB
โดยจําแนกออกเปนขั้นตอนยอยไดดงนี้
                                 ั

           2.1.1 การจัดเตรียมรายละเอียดขอมูล
                 เปนขั้นตอนในการกําหนดรายละเอียดของขอมูล เพื่อใชในการระบุคุณสมบัติ
ของการนําเขาขอมูล โดยมีประเด็นที่ตองกําหนดไดแก ขอคําถาม(Question or Prompt) ชื่อฟลด/
ตัวแปร(Field Name) ชนิดขอมูล(Type) และคําอธิบายเพิ่มเติม(Comments) เปนตน

         2.1.2 การเขาสูโปรแกรม
               เป น ขั้ น ตอนเริ่ ม ต น ในการสร า งแบบฟอร ม นํ า เข า ข อ มู ล ซึ่ ง เป น การเรี ย กใช
โปรแกรมยอย Make View(Questionnaire) โดยทั่วไปสามารถเรียกใชได 2 แนวทางไดแก การ


             ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
22                     บทที่ 2 ขั้นตอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลดวย Epi Info for Windows




เรียกใชงานโดยผานรายการคําสั่งหลัก(Main Menu)ของโปรแกรม Epi Info กับการเรียกใชงานโดย
ผานปุม Shortcut บนหนาตางของโปรแกรม Epi Info

           2.1.3 การกําหนดชื่อแฟมฐานขอมูลและกําหนดชื่อแบบฟอรม
                 เปนขั้นตอนในการกําหนดชื่อแฟมฐานขอมูลหลัก เรียกวา Project และกําหนด
ชื่อแบบฟอรม หรือตาราง(Table) เรียกวา View ซึ่งในหนึ่งแฟมฐานขอมูลหลัก หรือ 1 Project จะ
สามารถสรางแบบฟอรม หรือตาราง(Table) ไดมากกวาหนึ่งแบบฟอรม นั่นคือ สามารถกําหนดและ
สราง View ไดมากกวาหนึ่ง แตทั้งนี้ตองขึ้นกับวัตถุประสงคในการออกแบบฐานขอมูลเปนหลัก

            2.1.4 การระบุและกําหนดคาของฟลด
                    เปนขั้นตอนในการระบุชื่อฟลดหรือชื่อตัวแปร รวมถึงใส คาตางๆที่เกี่ยวของ
ตามที่จัดทํารายละเอียดไวกอนหนานี้ ลงในชองบนหนาตางของโปรแกรมในการกําหนดคาของ
ฟลด เชน การใสชนิดและขนาดของขอมูล คําอธิบายรหัสขอมูล การใสชวงสูงสุดและต่ําสุดของคา
ขอมูลที่นาเขา เปนตน
          ํ

            2.1.5 การบันทึกแฟมฐานขอมูล
                  เป น ขั้ น ตอนในการบั น ทึ ก แฟ ม ข อ มู ล ภายหลั ง จากสร า งฟ ล ด แ ต ล ะตั ว ลงใน
แบบฟอรมเรียบรอยแลว ซึ่งโดยทั่วไปสามารถบันทึกได 2 แนวทาง ไดแก การบันทึกแฟม
ฐานขอมูลโดยใชแปนพิมพ ดวยการกดแปน Ctrl-S กับการบันทึกแฟมฐานขอมูลโดยใชรายการ
คําสั่งหลัก

           2.1.6 การออกจากโปรแกรมยอย Make View(Questionnaire)
                   เปนขั้นตอนในการออกจากโปรแกรมยอย ภายหลังจากทําการบันทึกแฟมขอมูล
เรียบรอยแลว ซึ่งโดยทั่วไปสามารถออกจากโปรแกรมยอยได 2 แนวทาง ไดแก การคลิกปุม Close
( ) บนแถบควบคุมหนาตาง               กับการออกจากโปรแกรมโดยใชรายการคําสั่งหลัก




            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    23




                          2.2 การนําเขาขอมูลดวยโปรแกรมยอย Enter Data

            เปนขั้นตอนการนําเขาขอมูล โดยใชแบบฟอรมนําเขาขอมูลที่ถูกสรางมาในขั้นตอน
กอนหนานี้จากโปรแกรมยอย Make View(Questionnaire) แลวจัดเก็บบันทึกลงแฟมฐานขอมูลที่มี
อยูเดิม โดยจําแนกออกเปนขั้นตอนยอยไดดังนี้

          2.2.1 การเขาสูโปรแกรม
                เปนขั้นตอนเริ่มตนโดยการเรียกโปรแกรมยอย Enter Data มาใช โดยทั่วไป
สามารถเรียกได 2 แนวทางไดแก การเรียกใชงานโดยผานรายการคําสั่งหลัก(Main Menu)ของ
โปรแกรม Epi Info กับการเรียกใชงานโดยผานปุม Shortcut บนหนาตางของโปรแกรม Epi Info

          2.2.2 การเปดแฟมฐานขอมูลและแบบฟอรมนําเขาขอมูล
                เปนขั้นตอนในการระบุชื่อแฟมฐานขอมูลหลัก เรียกวา Project และระบุชื่อ
แบบฟอรม หรือตาราง(Table) เรียกวา View ที่ถูกสรางเปนฐานขอมูลไวกอนหนานี้ โดยทั่วไป
การเปดแฟมฐานขอมูลและแบบฟอรมนําเขาขอมูลดวยโปรแกรม Enter Data สามารถทําได
2 แนวทางไดแก การเรียกใชงานโดยผานรายการคําสั่งหลักกับการเรียกใชงานโดยผานแปนพิมพ
ดวยการกดแปน Ctrl-O

        2.2.3 การนําเขาขอมูล
              เปนขั้นตอนในการนําคารหัสที่จัดเตรียมไว พิมพลงในแบบฟอรมนําเขาขอมูลที่
ปรากฏบนหนาจอ ตามชองตําแหนงที่ตรงกับชื่อฟลดที่ระบุบนหนาจอ

          2.2.4 การบันทึกแฟมฐานขอมูล
                เปนขั้นตอนในการบันทึกแฟมขอมูล ภายหลังจากการนําเขาขอมูลครบทุกฟลด
ทุกเรคคอรดแลว ซึ่งโดยทั่วไปสามารถบันทึกได 2 แนวทาง ไดแก การบันทึกแฟมฐานขอมูล
โดยใชแปนพิมพ ดวยการกดแปน Ctrl-S กับการบันทึกแฟมฐานขอมูลโดยใชรายการคําสั่งหลัก




          ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
24                      บทที่ 2 ขั้นตอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลดวย Epi Info for Windows




           2.2.5 การออกจากโปรแกรมยอย Enter Data
                   เปนขั้นตอนในการออกจากโปรแกรมยอย ภายหลังจากทําการบันทึกแฟมขอมูล
เรียบรอยแลว ซึ่งโดยทั่วไปสามารถออกจากโปรแกรมยอยได 2 แนวทาง ไดแก การคลิกปุม Close
( ) บนแถบควบคุมหนาตาง               กับการออกจากโปรแกรมโดยใชรายการคําสั่งหลัก

                   2.3 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวยโปรแกรมยอย Data Compare

          เปนการตรวจสอบขอมูล โดยเปรียบเทียบแฟมขอมูล จากระบบการนําเขาขอมูลแบบ
สองครั้ง(Double Data Entry) เพื่อคนหาความแตกตางที่เกิดขึ้นระหวางขอมูลในแฟมทั้งสอง โดย
จําแนกออกเปนขั้นตอนยอยไดดังนี้

          2.3.1 การเขาสูโปรแกรม
                 เปนขั้นตอนเริ่มตนโดยการเรียกโปรแกรมยอย Data Compare มาใช โดยผาน
รายการคําสั่งหลัก(Main Menu)ของโปรแกรม Epi Info

           2.3.2 การเปดแฟมฐานขอมูลและแบบฟอรมนําเขาขอมูล
                 โดยกําหนดแฟมฐานขอมูล(Project)ที่ 1 และชื่อตารางขอมูล หรือ View ที่ 1
ขณะเดียวกันกําหนดแฟมฐานขอมูล(Project)ที่ 2 และชื่อตารางขอมูล หรือ View ที่ 2 ที่ตองการ
นํามาเปรียบเทียบกัน

           2.3.3 การระบุโครงสรางของตาราง
                 เปนการระบุโครงสรางของตาราง กรณีโครงสรางของตารางที่นํามาเปรียบเทียบ
ไมเหมือนกัน แตโดยทั่วไปมักนําเฉพาะตารางที่มีโครงสรางเหมือนกันเทานั้นมาเปรียบเทียบ

           2.3.4 การระบุ Match Fields
                 เป น การเลื อ กฟ ล ด ที่ มี ค า เดี ย ว(Unique Identifiers) เพื่ อ เป น จุ ด อ า งอิ ง ในการ
เปรียบเทียบระหวางสองแฟมขอมูล




             ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    25




          2.3.5 การระบุฟลดที่ตองการนํามาเปรียบเทียบ
                เปนการระบุฟลดที่ตองการนํามาเปรียบเทียบระหวางสองแฟมขอมูล ซึ่งโดย
สวนใหญมักระบุใหนํามาเปรียบเทียบทุกฟลดของแฟมขอมูลทั้งสอง

         2.3.6 การสรางแฟมเก็บผลการเปรียบเทียบในรูปแบบ HTML
                 เปนการกําหนดใหโปรแกรมสรางรายงานผลการเปรียบเทียบในรูปแบบภาษา
HTML นั่นคือ เปนภาษาที่สามารถนําไปแสดงผลบนเว็บไซตในระบบอินเทอรเน็ตได

            2.3.7 การบันทึกรายละเอียดของคําสั่ง(Script)
                  เปนการบันทึกรายละเอียดของคําสั่งที่เคยระบุไวกอนหนานี้ เพื่อเรียกใชงานใน
ครั้งตอไป โดยไมตองกําหนดคาตางๆขางตนใหมอีก

          2.3.8 การเปรียบเทียบและผลการเปรียบเทียบ
                เปนการเริ่มตนสั่งใหโปรแกรมทําการเปรียบเทียบแฟมขอมูลทั้งสอง แลวแสดง
ผลลัพธของขอมูลที่แสดงความแตกตางออกมาให

          2.3.9 การตรวจสอบคาขอมูลที่แตกตางกัน
                เปนการนําผลการเปรียบเทียบที่มีคาขอมูลแตกตางกัน ซึ่งแสดงวา ตองมีคาขอมูล
ในแฟ ม ใดแฟ มหนึ่ง ผิด มาทํา การตรวจสอบขอ เท็ จ จริ งว า ค า ข อมู ลที่ แ ท จ ริง เป น อย า งไร เพื่ อ
ตัดสินใจและนําไปสูการแกไขคาที่ผิดใหถูกตอง

           2.3.10 การแกไขคาขอมูลในหนาตางแสดงผลการเปรียบเทียบ
                   เป น การแก ไ ขค า ข อ มู ล ที่ ผิ ด ให มี ค า ถู ก ต อ ง โดยใช ห น า ต า งแสดงผลการ
เปรียบเทียบของโปรแกรมยอย Data Compare เมื่อแกไขคาขอมูลที่ผิดครบ จนปรากฏขอความ
No Differences นั่นแสดงวา ไมพบความแตกตางใดๆ ของขอมูลทั้งสองแฟม และถือวา สิ้นสุดการ
ตรวจสอบขอมูลนําเขาดวยโปรแกรมยอย Data Compare




             ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
26                    บทที่ 2 ขั้นตอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลดวย Epi Info for Windows




            2.3.11 การออกจากโปรแกรมยอย Data Compare
                   เปนขั้นตอนในการออกจากโปรแกรมยอย ภายหลังจากทําการเปรียบเทียบเทียบ
และแกไขขอมูลเสร็จสิ้นแลว ซึ่งโดยทั่วไปสามารถออกจากโปรแกรมยอยได 2 แนวทาง ไดแก การ
คลิกปุม Close ( ) บนแถบควบคุมหนาตาง              กับการออกจากโปรแกรมโดยใชรายการ
คําสั่งหลัก

                     2.4 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

            เปนการนําวิธีจัดการแฟมขอมูลในโปรแกรมยอย Analyze Data มาใชรวมกับการ
วิเคราะหขอมูล เพื่อใหการวิเคราะหมีความคลองตัวและครอบคลุมวัตถุประสงคตามที่ตองการมาก
ขึ้น ซึ่งประกอบดวยคําสั่งที่สําคัญดังนี้

         2.4.1 การเปดแฟมขอมูลดวยคําสัง Read(Import)
                                           ่
                เปนการเปดแฟมขอมูลที่ถูกสรางจากโปรแกรม Epi Info ที่มีนามสกุล .MDB
หรือโปรแกรมอื่นมาใชงาน เชน Excel Foxpro Paradox Html เปนตน

           2.4.2 การเชื่อมโยงแฟมขอมูลที่มีโครงสรางตางกันดวยคําสั่ง Relate
                 เปนการนําแฟมขอมูลสองแฟม ที่มีโครงสรางของฐานขอมูลตางกัน มาเชื่อมโยง
กัน โดยใชตัวแปรรวมที่มีอยูในทั้งสองแฟม เปนตัวเชื่อม ซึ่งการเชื่อมโยงแฟมขอมูลดวยคําสั่ง
Relate นี้ เปนการเชื่อมโยงชั่วคราว เพื่อการวิเคราะหเทานั้น แตเมื่อออกจากโปรแกรม หรือปด
แฟมขอมูลทั้งสอง การเชื่อมโยงดังกลาวจะถูกยกเลิก ดังนั้นหากผูใชงานตองการเชื่อมโยงแบบ
ถาวร ก็สามารถทําไดโดยใชรายการคําสั่ง Write(Export)

             2.4.3 การโอนยายขอมูลดวยคําสัง Write(Export)
                                              ่
                    เปนรายการคําสั่งที่ใชในการจัดเก็บขอมูลทุกฟลด หรือบางฟลดของแฟมขอมูล
ที่กาลังทํางานอยู ไปยังแฟมขอมูลใหม หรือแฟมขอมูลที่มีอยูกอนหนานี้แลว ซึ่งผลของการใชคําสั่ง
    ํ
นี้จะเปนการโอนยายแบบถาวร




           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    27




              2.4.4 การเชื่อมโยงแฟมขอมูลที่มีโครงสรางเหมือนกันดวยคําสั่ง Merge
                    เปนการนําแฟมขอมูลสองแฟม ที่มีโครงสรางเดียวกันมาเชื่อมโยงโดยใชตัวแปร
รวมที่มีอยูในทั้งสองแฟมเปนตัวเชื่อม ซึ่งการเชื่อมโยงนี้ เปนการเชื่อมโยงแฟมขอมูลแบบถาวร
ดังนั้นหากผูใชงานตองการเชื่อมโยงหลายแฟมขอมูล ควรกําหนดแฟมขอมูลที่ตองการใหเปนแฟม
ตนฉบับเปดขึ้นมากอนเปนแฟมแรก จากนั้นจึงใชรายการคําสั่ง Merge เรียกแฟมที่เหลือมารวมกัน

           2.4.5 การลบแฟมขอมูลและตารางดวยคําสัง Delete File / Table
                                                  ่
                 เปนการลบแฟมขอมูล(Project) ตาราง(Table)และแบบฟอรม(View)

                         2.5 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

             เปนการนําวิธีจัดการขอมูลในโปรแกรมยอย Analyze Data มาใชรวมกับการวิเคราะห
ขอมูล เพื่อใหการวิเคราะหมีความคลองตัวและครอบคลุมวัตถุประสงคตามที่ตองการมากขึ้น ซึ่ง
ประกอบดวยคําสั่งที่สําคัญดังนี้

           2.5.1 การลบและเรียกคืนผลการลบดวยคําสัง Delete Record/Undelete Record
                                                 ่
                 เปนการลบเรคคอรด และเรียกคืนผลการลบเรคคอรดของขอมูลในแฟมขอมูล

             2.5.2 การแสดงและแกไขขอมูลดวยคําสั่ง List
                    เปนคําสั่งที่ใชในการแสดงและแกไขขอมูลในตัวแปรตางๆซึ่งอยูในแฟมขอมูล
ที่ทําการวิเคราะห โดยจะแสดงผลทางหนาตาง Output ในทุกตัวแปร หรือบางตัวแปรที่ตองการ

         2.5.3 การสรางและยกเลิกตัวแปรใหมดวยคําสัง Define/Undefine
                                                      ่
               เปนคําสั่งที่ใชในการสรางและยกเลิกตัวแปรใหม เพื่อทําใหการวิเคราะหขอมูล
มีความครอบคลุมมากขึ้น

            2.5.4 การระบุหรือกําหนดคาตัวแปรดวยคําสั่ง Assign
                    เปนคําสั่งที่ใชในการระบุคา หรือคํานวณคาใหกับตัวแปรใหม ดังนั้นในทาง
ปฏิบัติจึงมักใชรวมกับคําสั่ง Define เพราะเมื่อมีการสรางตัวแปรใหม ก็จะตองกําหนดคาใหกับ
ตัวแปรใหม
           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
28                         บทที่ 2 ขั้นตอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลดวย Epi Info for Windows




            2.5.5 การแปลงคาและจัดกลุมขอมูลดวยคําสัง Recode
                                                       ่
                   เปนคําสั่งที่ใชในการแปลงคา หรือเปลี่ยนคาขอมูลเดิมของตัวแปรเปนคาใหม
รวมถึงการจัดกลุมขอมูลโดยกําหนดชวงของคาขอมูลเดิม เปนคาใหม เพื่อรองรับการวิเคราะหทาง
สถิติใหมีความครอบคลุมมากขึ้น และผลที่ไดจะเปนการจัดเก็บคาตัวแปรไวชั่วคราว ดังนั้นหาก
ผูใชงานตองการบันทึกตัวแปรใหมและคาขอมูลใหมใหคงอยูในแฟมขอมูล จึงควรใชรายการคําสั่ง
Write(Export) ในการโอนยายขอมูลไปจัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง

          2.5.6 การคัดเลือกขอมูลบางสวนดวยคําสัง Select / Cancel Select
                                                                  ่
                 เป น คํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการคั ด เลื อ กข อ มู ล มาบางส ว นตามเงื่ อ นไขที่ กํ า หนด เพื่ อ
รองรับการวิเคราะหทางสถิติใหมีความครอบคลุมมากขึ้น และเมื่อทําการวิเคราะหเรียบรอยแลว
จะทําการยกเลิกการกําหนดเงื่อนไขการคัดเลือกดังกลาวดวยคําสั่ง Cancel Select

           2.5.7 การกําหนดเงือนไขขอมูลดวยคําสัง If
                                 ่                  ่
                  เปนคําสั่งที่ใชในการระบุคา หรือคํานวณคา หรือกําหนดเงื่อนไขตามที่ตองการ
ใหกับ ตัวแปรใหม ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงมักใชรวมกับคําสั่ง Define เพราะเมื่อมีการสรางตัวแปร
ใหม ก็จะตองกําหนดคาใหกับตัวแปรใหม ซึ่งการกําหนดเงื่อนไขโดยใชคําสั่ง If โดยจัดเก็บใน
ตัวแปรใหมที่สรางขึ้น ผลที่ไดจะเปนการจัดเก็บคาตัวแปรไวชั่วคราว ดังนั้นหากผูใชงานตองการ
บันทึกตัวแปรใหมและคาขอมูลใหมใหคงอยูในแฟมขอมูล จึงควรใชรายการคําสั่ง Write(Export)
ในการโอนยายขอมูลไปจัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง

               2.5.8 การจัดเรียงขอมูลดวยคําสัง Sort / Cancel Sort
                                                     ่
              เปนคําสั่งที่ใชในการจัดเรียงขอมูลตามตัวแปรที่ระบุ เพื่อรองรับการวิเคราะหทางสถิติ
ใหมีความครอบคลุมมากขึ้น การจัดเรียงขอมูลโดยใชคําสั่ง List เปนการจัดเรียงแบบชั่วคราว ดังนั้น
หากผู ใ ช ง านต อ งการให ก ารจั ด เรี ย งดั ง กล า วยั ง คงอยู ใ นแฟ ม ข อ มู ล จึ ง ควรใช ร ายการคํ า สั่ ง
Write(Export) ในการโอนยายขอมูลไปจัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง

                        2.6 การตรวจสอบความถูกตองและแนวทางการวิเคราะหขอมูล

                เปนการจัดเตรียมขอมูลครั้งสุดทายกอนเริ่มตนวิเคราะหขอมูล โดยมีข้ันตอนในการ
ปฏิบัติดังนี้
                ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    29




            2.6.1 การตรวจสอบความถูกตองของขอมูล
                  เป น การตรวจสอบความถู ก ตอ งของข อมู ลกอนทํา การวิเ คราะหขอมู ล โดยมี
ประเด็นที่ตองพิจารณาและคํานึงถึงไดแก คาขอมูลนอกชวงที่กําหนด(Out of Range) คาขอมูลที่สูง
หรือต่ําผิดปกติ(Outlier) และความไมสมเหตุสมผลของคาขอมูล (Inconsistency) โดยมีวิธีการใน
การตรวจสอบจําแนกออกเปน 2 วิธี ไดแก การแจกแจงความถี่(Frequency) และการสรางตาราง
ความสัมพันธ(Crosstabulation)

           2.6.2 แนวทางการวิเคราะหขอมูล
                 เปนการจัดเตรียมแนวทางการวิเคราะห ภายหลังจากที่ไดทําการตรวจสอบความ
ถูกตองของขอมูลเรียบรอยแลว โดยมีประเด็นในการพิจารณา เชน วัตถุประสงคในการวินิจฉัย
ชุมชนมีก่ขอ อะไรบาง ในวัตถุประสงคแตละขอ มีประเด็นที่สนใจศึกษาอะไรบาง เปนตน
         ี

            2.6.3 การสรางตารางจําลอง(Dummy Tables)
                  เปนการสรางตารางนําเสนอที่เสมือนจริงกับที่ตองแสดงเปนรายงานผลการศึกษา
เพียงแตยังไมมีผลของการวิเคราะหใสลงไป ดังนั้นการสรางตารางจําลอง จึงเปรียบเสมือนการเขียน
แผนที่ใ นการเดิน ทางไปสู วิ ธีก ารวิ เ คราะห ขอมู ลทางสถิ ติที่ ถู ก ตอ งและครอบคลุ ม สอดคล อ ง
กับวัตถุประสงคของการศึกษา ประกอบดวยตารางในรูปแบบหนึ่งตัวแปร แบบสองตัวแปรและ
มากกวาสองตัวแปร

               2.7 การวิเคราะหสถิติเชิงพรรณนาดวยโปรแกรมยอย Analyze Data

            เปนขั้นตอนในการวิเคราะหขอมูลดวยสถิติเชิงพรรณนา ซึ่งประกอบดวยการแจกแจง
ความถี่(จํานวน/รอยละ) คาวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง(คาเฉลี่ย/มัธยฐาน/ฐานนิยม) คาวัดการ
กระจายของข อ มู ล (ส ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน/ความแปรปรวน) และค า วั ด ตํ า แหน ง ของข อ มู ล
(คาเปอรเซ็นไทล) โดยแนวทางในการวิเคราะหสถิติเชิงพรรณนาไดจําแนกออกเปน 2 ลักษณะ
ไดแก การวิเคราะหสถิติเชิงพรรณนา กรณีขอมูลแบบแจงนับ(Categorical Data) กับการวิเคราะห
สถิติเชิงพรรณนา กรณีขอมูลแบบตอเนื่อง(Continuous Data)




           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
30                   บทที่ 2 ขั้นตอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลดวย Epi Info for Windows




                                                    2.8 บทสรุป

          ภายหลังจากนําแบบสอบถามมาจัดเตรียมขอมูลเพื่อวิเคราะหดวยคอมพิวเตอร ตาม
แนวทางดังที่กลาวมาในบทขางตน แนวทางตอมาเปนการนําคารหัสขอมูลที่ไดจัดเตรียมไว มา
จัดเก็บ และตรวจสอบความถูกตองรวมถึงการวิเคราะหขอมูลเชิงสถิติในระบบคอมพิวเตอรดวย
โปรแกรม Epi Info ซึ่งเรียกขั้นตอนนี้วา ขั้นตอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม
Epi Info ประกอบดวยขั้นตอนที่สําคัญไดแก การสรางแบบฟอรมนําเขาขอมูลดวยโปรแกรมยอย
Make View การนําเขาขอมูลดวยโปรแกรมยอย Enter Data การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย
โปรแกรมยอย Data Compare การจัดการขอมูลและแฟมขอมูล การตรวจสอบความถูกตอง
ของขอมูลและแนวทางการวิเคราะหขอมูล และการวิเคราะหสถิติเชิงพรรณนาดวยโปรแกรมยอย
Analyze Data




          ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

More Related Content

What's hot

Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft accesskomolpalin
 
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายหน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายkruthanyaporn
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDskiats
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลErrorrrrr
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลShengyou Lin
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssthaweesak mahan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Wee Jay
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpsskaew393
 
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมLesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมErrorrrrr
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2kanjana Pongkan
 
Lesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryLesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryErrorrrrr
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานErrorrrrr
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบSarawut Panchon
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2sunisa3112
 

What's hot (19)

Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft access
 
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายหน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
งานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2
งานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2งานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2
งานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
Spss sriprapai
Spss sriprapaiSpss sriprapai
Spss sriprapai
 
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมLesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
 
Lesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryLesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง query
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงาน
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
 

Viewers also liked

Planejamento, execucao e avaliacao no ensino a busca de um desejo luckesi
Planejamento, execucao e avaliacao no ensino a busca de um desejo   luckesiPlanejamento, execucao e avaliacao no ensino a busca de um desejo   luckesi
Planejamento, execucao e avaliacao no ensino a busca de um desejo luckesibarbara martins
 
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSการสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSเบญจวรรณ กลสามัญ
 

Viewers also liked (7)

Epi info unit08
Epi info unit08Epi info unit08
Epi info unit08
 
Epi info unit06
Epi info unit06Epi info unit06
Epi info unit06
 
Planejamento, execucao e avaliacao no ensino a busca de um desejo luckesi
Planejamento, execucao e avaliacao no ensino a busca de um desejo   luckesiPlanejamento, execucao e avaliacao no ensino a busca de um desejo   luckesi
Planejamento, execucao e avaliacao no ensino a busca de um desejo luckesi
 
Epi info unit04
Epi info unit04Epi info unit04
Epi info unit04
 
Epi info unit09
Epi info unit09Epi info unit09
Epi info unit09
 
9 spss
9 spss9 spss
9 spss
 
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSการสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
 

Similar to Epi info unit02

การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...Paradorn Sriarwut
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลKriangx Ch
 
Software
SoftwareSoftware
Softwaresa
 
รายงานคู่มือการใช้งาน
รายงานคู่มือการใช้งานรายงานคู่มือการใช้งาน
รายงานคู่มือการใช้งานguest8ec15d
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศnottodesu
 
แบบทดสอบข้อสอบ O net
แบบทดสอบข้อสอบ O netแบบทดสอบข้อสอบ O net
แบบทดสอบข้อสอบ O netPawit Chamruang
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007Nicharee Piwjan
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 

Similar to Epi info unit02 (20)

การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
รายงานคู่มือการใช้งาน
รายงานคู่มือการใช้งานรายงานคู่มือการใช้งาน
รายงานคู่มือการใช้งาน
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แบบทดสอบข้อสอบ O net
แบบทดสอบข้อสอบ O netแบบทดสอบข้อสอบ O net
แบบทดสอบข้อสอบ O net
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
รูปทรงกลม
รูปทรงกลมรูปทรงกลม
รูปทรงกลม
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
 
Map windowgismanual
Map windowgismanualMap windowgismanual
Map windowgismanual
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
Know2 2
Know2 2Know2 2
Know2 2
 

Epi info unit02

  • 1. บทที่ 2 ขั้นตอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูล ดวย โปรแกรม Epi Info for Windows ในบทนี้กลาวถึงขั้นตอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม Epi Info ซึ่ ง ประกอบด ว ยขั้ น ตอนที่ สํ า คั ญ ได แ ก การสร า งแบบฟอร ม นํ า เข า ข อ มู ล ด ว ยโปรแกรมย อ ย Make View การนําเขาขอมูลดวยโปรแกรมยอย Enter Data การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย โปรแกรมยอย Data Compare การจัดการขอมูลและแฟมขอมูล การตรวจสอบความถูกตองและ แนวทางการวิเคราะหขอมูล และการวิเคราะหสถิติเชิงพรรณนาดวยโปรแกรมยอย Analyze Data 2.1 การสรางแบบฟอรมนําเขาขอมูลดวยโปรแกรมยอย Make View เปนขั้นตอนการออกแบบและสรางแบบฟอรมนําเขาขอมูล โดยการเรียกใชโปรแกรม ยอย Make View(Questionnaire) แลวจัดเก็บบันทึก อยูในรูปแฟมฐานขอมูลที่มีนามสกุลเปน .MDB โดยจําแนกออกเปนขั้นตอนยอยไดดงนี้ ั 2.1.1 การจัดเตรียมรายละเอียดขอมูล เปนขั้นตอนในการกําหนดรายละเอียดของขอมูล เพื่อใชในการระบุคุณสมบัติ ของการนําเขาขอมูล โดยมีประเด็นที่ตองกําหนดไดแก ขอคําถาม(Question or Prompt) ชื่อฟลด/ ตัวแปร(Field Name) ชนิดขอมูล(Type) และคําอธิบายเพิ่มเติม(Comments) เปนตน 2.1.2 การเขาสูโปรแกรม เป น ขั้ น ตอนเริ่ ม ต น ในการสร า งแบบฟอร ม นํ า เข า ข อ มู ล ซึ่ ง เป น การเรี ย กใช โปรแกรมยอย Make View(Questionnaire) โดยทั่วไปสามารถเรียกใชได 2 แนวทางไดแก การ ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 2. 22 บทที่ 2 ขั้นตอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลดวย Epi Info for Windows เรียกใชงานโดยผานรายการคําสั่งหลัก(Main Menu)ของโปรแกรม Epi Info กับการเรียกใชงานโดย ผานปุม Shortcut บนหนาตางของโปรแกรม Epi Info 2.1.3 การกําหนดชื่อแฟมฐานขอมูลและกําหนดชื่อแบบฟอรม เปนขั้นตอนในการกําหนดชื่อแฟมฐานขอมูลหลัก เรียกวา Project และกําหนด ชื่อแบบฟอรม หรือตาราง(Table) เรียกวา View ซึ่งในหนึ่งแฟมฐานขอมูลหลัก หรือ 1 Project จะ สามารถสรางแบบฟอรม หรือตาราง(Table) ไดมากกวาหนึ่งแบบฟอรม นั่นคือ สามารถกําหนดและ สราง View ไดมากกวาหนึ่ง แตทั้งนี้ตองขึ้นกับวัตถุประสงคในการออกแบบฐานขอมูลเปนหลัก 2.1.4 การระบุและกําหนดคาของฟลด เปนขั้นตอนในการระบุชื่อฟลดหรือชื่อตัวแปร รวมถึงใส คาตางๆที่เกี่ยวของ ตามที่จัดทํารายละเอียดไวกอนหนานี้ ลงในชองบนหนาตางของโปรแกรมในการกําหนดคาของ ฟลด เชน การใสชนิดและขนาดของขอมูล คําอธิบายรหัสขอมูล การใสชวงสูงสุดและต่ําสุดของคา ขอมูลที่นาเขา เปนตน ํ 2.1.5 การบันทึกแฟมฐานขอมูล เป น ขั้ น ตอนในการบั น ทึ ก แฟ ม ข อ มู ล ภายหลั ง จากสร า งฟ ล ด แ ต ล ะตั ว ลงใน แบบฟอรมเรียบรอยแลว ซึ่งโดยทั่วไปสามารถบันทึกได 2 แนวทาง ไดแก การบันทึกแฟม ฐานขอมูลโดยใชแปนพิมพ ดวยการกดแปน Ctrl-S กับการบันทึกแฟมฐานขอมูลโดยใชรายการ คําสั่งหลัก 2.1.6 การออกจากโปรแกรมยอย Make View(Questionnaire) เปนขั้นตอนในการออกจากโปรแกรมยอย ภายหลังจากทําการบันทึกแฟมขอมูล เรียบรอยแลว ซึ่งโดยทั่วไปสามารถออกจากโปรแกรมยอยได 2 แนวทาง ไดแก การคลิกปุม Close ( ) บนแถบควบคุมหนาตาง กับการออกจากโปรแกรมโดยใชรายการคําสั่งหลัก ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 3. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 23 2.2 การนําเขาขอมูลดวยโปรแกรมยอย Enter Data เปนขั้นตอนการนําเขาขอมูล โดยใชแบบฟอรมนําเขาขอมูลที่ถูกสรางมาในขั้นตอน กอนหนานี้จากโปรแกรมยอย Make View(Questionnaire) แลวจัดเก็บบันทึกลงแฟมฐานขอมูลที่มี อยูเดิม โดยจําแนกออกเปนขั้นตอนยอยไดดังนี้ 2.2.1 การเขาสูโปรแกรม เปนขั้นตอนเริ่มตนโดยการเรียกโปรแกรมยอย Enter Data มาใช โดยทั่วไป สามารถเรียกได 2 แนวทางไดแก การเรียกใชงานโดยผานรายการคําสั่งหลัก(Main Menu)ของ โปรแกรม Epi Info กับการเรียกใชงานโดยผานปุม Shortcut บนหนาตางของโปรแกรม Epi Info 2.2.2 การเปดแฟมฐานขอมูลและแบบฟอรมนําเขาขอมูล เปนขั้นตอนในการระบุชื่อแฟมฐานขอมูลหลัก เรียกวา Project และระบุชื่อ แบบฟอรม หรือตาราง(Table) เรียกวา View ที่ถูกสรางเปนฐานขอมูลไวกอนหนานี้ โดยทั่วไป การเปดแฟมฐานขอมูลและแบบฟอรมนําเขาขอมูลดวยโปรแกรม Enter Data สามารถทําได 2 แนวทางไดแก การเรียกใชงานโดยผานรายการคําสั่งหลักกับการเรียกใชงานโดยผานแปนพิมพ ดวยการกดแปน Ctrl-O 2.2.3 การนําเขาขอมูล เปนขั้นตอนในการนําคารหัสที่จัดเตรียมไว พิมพลงในแบบฟอรมนําเขาขอมูลที่ ปรากฏบนหนาจอ ตามชองตําแหนงที่ตรงกับชื่อฟลดที่ระบุบนหนาจอ 2.2.4 การบันทึกแฟมฐานขอมูล เปนขั้นตอนในการบันทึกแฟมขอมูล ภายหลังจากการนําเขาขอมูลครบทุกฟลด ทุกเรคคอรดแลว ซึ่งโดยทั่วไปสามารถบันทึกได 2 แนวทาง ไดแก การบันทึกแฟมฐานขอมูล โดยใชแปนพิมพ ดวยการกดแปน Ctrl-S กับการบันทึกแฟมฐานขอมูลโดยใชรายการคําสั่งหลัก ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 4. 24 บทที่ 2 ขั้นตอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลดวย Epi Info for Windows 2.2.5 การออกจากโปรแกรมยอย Enter Data เปนขั้นตอนในการออกจากโปรแกรมยอย ภายหลังจากทําการบันทึกแฟมขอมูล เรียบรอยแลว ซึ่งโดยทั่วไปสามารถออกจากโปรแกรมยอยได 2 แนวทาง ไดแก การคลิกปุม Close ( ) บนแถบควบคุมหนาตาง กับการออกจากโปรแกรมโดยใชรายการคําสั่งหลัก 2.3 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวยโปรแกรมยอย Data Compare เปนการตรวจสอบขอมูล โดยเปรียบเทียบแฟมขอมูล จากระบบการนําเขาขอมูลแบบ สองครั้ง(Double Data Entry) เพื่อคนหาความแตกตางที่เกิดขึ้นระหวางขอมูลในแฟมทั้งสอง โดย จําแนกออกเปนขั้นตอนยอยไดดังนี้ 2.3.1 การเขาสูโปรแกรม เปนขั้นตอนเริ่มตนโดยการเรียกโปรแกรมยอย Data Compare มาใช โดยผาน รายการคําสั่งหลัก(Main Menu)ของโปรแกรม Epi Info 2.3.2 การเปดแฟมฐานขอมูลและแบบฟอรมนําเขาขอมูล โดยกําหนดแฟมฐานขอมูล(Project)ที่ 1 และชื่อตารางขอมูล หรือ View ที่ 1 ขณะเดียวกันกําหนดแฟมฐานขอมูล(Project)ที่ 2 และชื่อตารางขอมูล หรือ View ที่ 2 ที่ตองการ นํามาเปรียบเทียบกัน 2.3.3 การระบุโครงสรางของตาราง เปนการระบุโครงสรางของตาราง กรณีโครงสรางของตารางที่นํามาเปรียบเทียบ ไมเหมือนกัน แตโดยทั่วไปมักนําเฉพาะตารางที่มีโครงสรางเหมือนกันเทานั้นมาเปรียบเทียบ 2.3.4 การระบุ Match Fields เป น การเลื อ กฟ ล ด ที่ มี ค า เดี ย ว(Unique Identifiers) เพื่ อ เป น จุ ด อ า งอิ ง ในการ เปรียบเทียบระหวางสองแฟมขอมูล ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 5. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 25 2.3.5 การระบุฟลดที่ตองการนํามาเปรียบเทียบ เปนการระบุฟลดที่ตองการนํามาเปรียบเทียบระหวางสองแฟมขอมูล ซึ่งโดย สวนใหญมักระบุใหนํามาเปรียบเทียบทุกฟลดของแฟมขอมูลทั้งสอง 2.3.6 การสรางแฟมเก็บผลการเปรียบเทียบในรูปแบบ HTML เปนการกําหนดใหโปรแกรมสรางรายงานผลการเปรียบเทียบในรูปแบบภาษา HTML นั่นคือ เปนภาษาที่สามารถนําไปแสดงผลบนเว็บไซตในระบบอินเทอรเน็ตได 2.3.7 การบันทึกรายละเอียดของคําสั่ง(Script) เปนการบันทึกรายละเอียดของคําสั่งที่เคยระบุไวกอนหนานี้ เพื่อเรียกใชงานใน ครั้งตอไป โดยไมตองกําหนดคาตางๆขางตนใหมอีก 2.3.8 การเปรียบเทียบและผลการเปรียบเทียบ เปนการเริ่มตนสั่งใหโปรแกรมทําการเปรียบเทียบแฟมขอมูลทั้งสอง แลวแสดง ผลลัพธของขอมูลที่แสดงความแตกตางออกมาให 2.3.9 การตรวจสอบคาขอมูลที่แตกตางกัน เปนการนําผลการเปรียบเทียบที่มีคาขอมูลแตกตางกัน ซึ่งแสดงวา ตองมีคาขอมูล ในแฟ ม ใดแฟ มหนึ่ง ผิด มาทํา การตรวจสอบขอ เท็ จ จริ งว า ค า ข อมู ลที่ แ ท จ ริง เป น อย า งไร เพื่ อ ตัดสินใจและนําไปสูการแกไขคาที่ผิดใหถูกตอง 2.3.10 การแกไขคาขอมูลในหนาตางแสดงผลการเปรียบเทียบ เป น การแก ไ ขค า ข อ มู ล ที่ ผิ ด ให มี ค า ถู ก ต อ ง โดยใช ห น า ต า งแสดงผลการ เปรียบเทียบของโปรแกรมยอย Data Compare เมื่อแกไขคาขอมูลที่ผิดครบ จนปรากฏขอความ No Differences นั่นแสดงวา ไมพบความแตกตางใดๆ ของขอมูลทั้งสองแฟม และถือวา สิ้นสุดการ ตรวจสอบขอมูลนําเขาดวยโปรแกรมยอย Data Compare ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 6. 26 บทที่ 2 ขั้นตอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลดวย Epi Info for Windows 2.3.11 การออกจากโปรแกรมยอย Data Compare เปนขั้นตอนในการออกจากโปรแกรมยอย ภายหลังจากทําการเปรียบเทียบเทียบ และแกไขขอมูลเสร็จสิ้นแลว ซึ่งโดยทั่วไปสามารถออกจากโปรแกรมยอยได 2 แนวทาง ไดแก การ คลิกปุม Close ( ) บนแถบควบคุมหนาตาง กับการออกจากโปรแกรมโดยใชรายการ คําสั่งหลัก 2.4 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data เปนการนําวิธีจัดการแฟมขอมูลในโปรแกรมยอย Analyze Data มาใชรวมกับการ วิเคราะหขอมูล เพื่อใหการวิเคราะหมีความคลองตัวและครอบคลุมวัตถุประสงคตามที่ตองการมาก ขึ้น ซึ่งประกอบดวยคําสั่งที่สําคัญดังนี้ 2.4.1 การเปดแฟมขอมูลดวยคําสัง Read(Import) ่ เปนการเปดแฟมขอมูลที่ถูกสรางจากโปรแกรม Epi Info ที่มีนามสกุล .MDB หรือโปรแกรมอื่นมาใชงาน เชน Excel Foxpro Paradox Html เปนตน 2.4.2 การเชื่อมโยงแฟมขอมูลที่มีโครงสรางตางกันดวยคําสั่ง Relate เปนการนําแฟมขอมูลสองแฟม ที่มีโครงสรางของฐานขอมูลตางกัน มาเชื่อมโยง กัน โดยใชตัวแปรรวมที่มีอยูในทั้งสองแฟม เปนตัวเชื่อม ซึ่งการเชื่อมโยงแฟมขอมูลดวยคําสั่ง Relate นี้ เปนการเชื่อมโยงชั่วคราว เพื่อการวิเคราะหเทานั้น แตเมื่อออกจากโปรแกรม หรือปด แฟมขอมูลทั้งสอง การเชื่อมโยงดังกลาวจะถูกยกเลิก ดังนั้นหากผูใชงานตองการเชื่อมโยงแบบ ถาวร ก็สามารถทําไดโดยใชรายการคําสั่ง Write(Export) 2.4.3 การโอนยายขอมูลดวยคําสัง Write(Export) ่ เปนรายการคําสั่งที่ใชในการจัดเก็บขอมูลทุกฟลด หรือบางฟลดของแฟมขอมูล ที่กาลังทํางานอยู ไปยังแฟมขอมูลใหม หรือแฟมขอมูลที่มีอยูกอนหนานี้แลว ซึ่งผลของการใชคําสั่ง ํ นี้จะเปนการโอนยายแบบถาวร ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 7. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 27 2.4.4 การเชื่อมโยงแฟมขอมูลที่มีโครงสรางเหมือนกันดวยคําสั่ง Merge เปนการนําแฟมขอมูลสองแฟม ที่มีโครงสรางเดียวกันมาเชื่อมโยงโดยใชตัวแปร รวมที่มีอยูในทั้งสองแฟมเปนตัวเชื่อม ซึ่งการเชื่อมโยงนี้ เปนการเชื่อมโยงแฟมขอมูลแบบถาวร ดังนั้นหากผูใชงานตองการเชื่อมโยงหลายแฟมขอมูล ควรกําหนดแฟมขอมูลที่ตองการใหเปนแฟม ตนฉบับเปดขึ้นมากอนเปนแฟมแรก จากนั้นจึงใชรายการคําสั่ง Merge เรียกแฟมที่เหลือมารวมกัน 2.4.5 การลบแฟมขอมูลและตารางดวยคําสัง Delete File / Table ่ เปนการลบแฟมขอมูล(Project) ตาราง(Table)และแบบฟอรม(View) 2.5 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data เปนการนําวิธีจัดการขอมูลในโปรแกรมยอย Analyze Data มาใชรวมกับการวิเคราะห ขอมูล เพื่อใหการวิเคราะหมีความคลองตัวและครอบคลุมวัตถุประสงคตามที่ตองการมากขึ้น ซึ่ง ประกอบดวยคําสั่งที่สําคัญดังนี้ 2.5.1 การลบและเรียกคืนผลการลบดวยคําสัง Delete Record/Undelete Record ่ เปนการลบเรคคอรด และเรียกคืนผลการลบเรคคอรดของขอมูลในแฟมขอมูล 2.5.2 การแสดงและแกไขขอมูลดวยคําสั่ง List เปนคําสั่งที่ใชในการแสดงและแกไขขอมูลในตัวแปรตางๆซึ่งอยูในแฟมขอมูล ที่ทําการวิเคราะห โดยจะแสดงผลทางหนาตาง Output ในทุกตัวแปร หรือบางตัวแปรที่ตองการ 2.5.3 การสรางและยกเลิกตัวแปรใหมดวยคําสัง Define/Undefine ่ เปนคําสั่งที่ใชในการสรางและยกเลิกตัวแปรใหม เพื่อทําใหการวิเคราะหขอมูล มีความครอบคลุมมากขึ้น 2.5.4 การระบุหรือกําหนดคาตัวแปรดวยคําสั่ง Assign เปนคําสั่งที่ใชในการระบุคา หรือคํานวณคาใหกับตัวแปรใหม ดังนั้นในทาง ปฏิบัติจึงมักใชรวมกับคําสั่ง Define เพราะเมื่อมีการสรางตัวแปรใหม ก็จะตองกําหนดคาใหกับ ตัวแปรใหม ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 8. 28 บทที่ 2 ขั้นตอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลดวย Epi Info for Windows 2.5.5 การแปลงคาและจัดกลุมขอมูลดวยคําสัง Recode ่ เปนคําสั่งที่ใชในการแปลงคา หรือเปลี่ยนคาขอมูลเดิมของตัวแปรเปนคาใหม รวมถึงการจัดกลุมขอมูลโดยกําหนดชวงของคาขอมูลเดิม เปนคาใหม เพื่อรองรับการวิเคราะหทาง สถิติใหมีความครอบคลุมมากขึ้น และผลที่ไดจะเปนการจัดเก็บคาตัวแปรไวชั่วคราว ดังนั้นหาก ผูใชงานตองการบันทึกตัวแปรใหมและคาขอมูลใหมใหคงอยูในแฟมขอมูล จึงควรใชรายการคําสั่ง Write(Export) ในการโอนยายขอมูลไปจัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง 2.5.6 การคัดเลือกขอมูลบางสวนดวยคําสัง Select / Cancel Select ่ เป น คํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการคั ด เลื อ กข อ มู ล มาบางส ว นตามเงื่ อ นไขที่ กํ า หนด เพื่ อ รองรับการวิเคราะหทางสถิติใหมีความครอบคลุมมากขึ้น และเมื่อทําการวิเคราะหเรียบรอยแลว จะทําการยกเลิกการกําหนดเงื่อนไขการคัดเลือกดังกลาวดวยคําสั่ง Cancel Select 2.5.7 การกําหนดเงือนไขขอมูลดวยคําสัง If ่ ่ เปนคําสั่งที่ใชในการระบุคา หรือคํานวณคา หรือกําหนดเงื่อนไขตามที่ตองการ ใหกับ ตัวแปรใหม ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงมักใชรวมกับคําสั่ง Define เพราะเมื่อมีการสรางตัวแปร ใหม ก็จะตองกําหนดคาใหกับตัวแปรใหม ซึ่งการกําหนดเงื่อนไขโดยใชคําสั่ง If โดยจัดเก็บใน ตัวแปรใหมที่สรางขึ้น ผลที่ไดจะเปนการจัดเก็บคาตัวแปรไวชั่วคราว ดังนั้นหากผูใชงานตองการ บันทึกตัวแปรใหมและคาขอมูลใหมใหคงอยูในแฟมขอมูล จึงควรใชรายการคําสั่ง Write(Export) ในการโอนยายขอมูลไปจัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง 2.5.8 การจัดเรียงขอมูลดวยคําสัง Sort / Cancel Sort ่ เปนคําสั่งที่ใชในการจัดเรียงขอมูลตามตัวแปรที่ระบุ เพื่อรองรับการวิเคราะหทางสถิติ ใหมีความครอบคลุมมากขึ้น การจัดเรียงขอมูลโดยใชคําสั่ง List เปนการจัดเรียงแบบชั่วคราว ดังนั้น หากผู ใ ช ง านต อ งการให ก ารจั ด เรี ย งดั ง กล า วยั ง คงอยู ใ นแฟ ม ข อ มู ล จึ ง ควรใช ร ายการคํ า สั่ ง Write(Export) ในการโอนยายขอมูลไปจัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง 2.6 การตรวจสอบความถูกตองและแนวทางการวิเคราะหขอมูล เปนการจัดเตรียมขอมูลครั้งสุดทายกอนเริ่มตนวิเคราะหขอมูล โดยมีข้ันตอนในการ ปฏิบัติดังนี้ ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 9. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 29 2.6.1 การตรวจสอบความถูกตองของขอมูล เป น การตรวจสอบความถู ก ตอ งของข อมู ลกอนทํา การวิเ คราะหขอมู ล โดยมี ประเด็นที่ตองพิจารณาและคํานึงถึงไดแก คาขอมูลนอกชวงที่กําหนด(Out of Range) คาขอมูลที่สูง หรือต่ําผิดปกติ(Outlier) และความไมสมเหตุสมผลของคาขอมูล (Inconsistency) โดยมีวิธีการใน การตรวจสอบจําแนกออกเปน 2 วิธี ไดแก การแจกแจงความถี่(Frequency) และการสรางตาราง ความสัมพันธ(Crosstabulation) 2.6.2 แนวทางการวิเคราะหขอมูล เปนการจัดเตรียมแนวทางการวิเคราะห ภายหลังจากที่ไดทําการตรวจสอบความ ถูกตองของขอมูลเรียบรอยแลว โดยมีประเด็นในการพิจารณา เชน วัตถุประสงคในการวินิจฉัย ชุมชนมีก่ขอ อะไรบาง ในวัตถุประสงคแตละขอ มีประเด็นที่สนใจศึกษาอะไรบาง เปนตน ี 2.6.3 การสรางตารางจําลอง(Dummy Tables) เปนการสรางตารางนําเสนอที่เสมือนจริงกับที่ตองแสดงเปนรายงานผลการศึกษา เพียงแตยังไมมีผลของการวิเคราะหใสลงไป ดังนั้นการสรางตารางจําลอง จึงเปรียบเสมือนการเขียน แผนที่ใ นการเดิน ทางไปสู วิ ธีก ารวิ เ คราะห ขอมู ลทางสถิ ติที่ ถู ก ตอ งและครอบคลุ ม สอดคล อ ง กับวัตถุประสงคของการศึกษา ประกอบดวยตารางในรูปแบบหนึ่งตัวแปร แบบสองตัวแปรและ มากกวาสองตัวแปร 2.7 การวิเคราะหสถิติเชิงพรรณนาดวยโปรแกรมยอย Analyze Data เปนขั้นตอนในการวิเคราะหขอมูลดวยสถิติเชิงพรรณนา ซึ่งประกอบดวยการแจกแจง ความถี่(จํานวน/รอยละ) คาวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง(คาเฉลี่ย/มัธยฐาน/ฐานนิยม) คาวัดการ กระจายของข อ มู ล (ส ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน/ความแปรปรวน) และค า วั ด ตํ า แหน ง ของข อ มู ล (คาเปอรเซ็นไทล) โดยแนวทางในการวิเคราะหสถิติเชิงพรรณนาไดจําแนกออกเปน 2 ลักษณะ ไดแก การวิเคราะหสถิติเชิงพรรณนา กรณีขอมูลแบบแจงนับ(Categorical Data) กับการวิเคราะห สถิติเชิงพรรณนา กรณีขอมูลแบบตอเนื่อง(Continuous Data) ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 10. 30 บทที่ 2 ขั้นตอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลดวย Epi Info for Windows 2.8 บทสรุป ภายหลังจากนําแบบสอบถามมาจัดเตรียมขอมูลเพื่อวิเคราะหดวยคอมพิวเตอร ตาม แนวทางดังที่กลาวมาในบทขางตน แนวทางตอมาเปนการนําคารหัสขอมูลที่ไดจัดเตรียมไว มา จัดเก็บ และตรวจสอบความถูกตองรวมถึงการวิเคราะหขอมูลเชิงสถิติในระบบคอมพิวเตอรดวย โปรแกรม Epi Info ซึ่งเรียกขั้นตอนนี้วา ขั้นตอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม Epi Info ประกอบดวยขั้นตอนที่สําคัญไดแก การสรางแบบฟอรมนําเขาขอมูลดวยโปรแกรมยอย Make View การนําเขาขอมูลดวยโปรแกรมยอย Enter Data การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย โปรแกรมยอย Data Compare การจัดการขอมูลและแฟมขอมูล การตรวจสอบความถูกตอง ของขอมูลและแนวทางการวิเคราะหขอมูล และการวิเคราะหสถิติเชิงพรรณนาดวยโปรแกรมยอย Analyze Data ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน