SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
1

                       คูมือการใชงานโปรแกรม Map Window GIS
                                                                               ชัยภัทร เนื่องคํามา
                                                                  Email: pk_a1977@hotmail.com


1. บทนํา
        MapWindow GIS เปนโปรแกรมประเภท Desktop GIS ซึ่งออกแบบมาใหผใชทั่วไป         ู
สามารถทํางานทางดานระบบสารสนเทศภูมิศาสตรไดอยางสะดวก โดยเนนไปที่การใชงานที่งาย
และมีฟงกชนการทํางานที่คอนขางหลากหลาย นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาฟงกชั่นเฉพาะในรูปแบบ
           ั              
ของ plug-in สําหรับการวิเคราะหที่เฉพาะทางเชน การวิเคราะหเรื่องน้ํา (hydrology), การวิเคราะห
ขอมูลสภาพภูมิประเทศ เปนตน โปรแกรมนี้จัดเปนโปรแกรมประเภทรหัสเปด (Open Source) ที่อยู
ภายใตลิขสิทธิ์ของ The Mozilla Public License 1.1 ดังนั้นผูใชจึงสามารถนําโปรแกรมนี้มาใชงาน
ไดโดยทีไดตองเสียคาซอฟทแวร ซึ่งเหมาะกับหนวยงานหรือสถาบันการศึกษาที่ตองการนําระบบ
        ่
สารสนเทศภูมิศาสตรมาใชในองคกรแตมขอจํากัดเรื่องงบประมาณ
                                        ี
        บทความชุดนีทําขึ้นเพื่อสงเสริมและเผยแพรความรูทางวิชาการ ไมไดมีเจตนาทําขึ้นเพื่อ
                      ้
จําหนายหรือใชเพื่อผลประโยชนทางธุรกิจแตอยางใด

2. การติดตั้งโปรแกรม
         1. ทําการดาวโหลดโปรแกรม MapWindow GIS จาก URL
http://www.mapwindow.org/download.php?file_name=http://svn.mapwindow.org/svnroot/Install
ationProjects/4.2/Release/MapWindow42SR.exe&show_details=1&dl=1
         2. Double click ไฟล MapWindow42SR.exe เพื่อทําการติดตั้งโปรแกรม
         3. ทดลองรันโปรแกรม MapWindow GIS กรณีที่สามารถติดตั้งไดสําเร็จจะปากฏหนาตา
เริ่มตนของโปรแกรมดังรูปที่ 1




                 รูปที่ 1 แสดงหนาตางตอนรับของโปรแกรม MapWindow GIS


Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                  ชัยภัทร เนื่องคํามา
2

3. การใชงานโปรแกรม MapWindow GIS ทั่วไป
         สําหรับโปรแกรม MapWindow GIS มีหนาตาง แถบเครื่องมือและฟงกชนการทํางานที่
                                                                               ั
เหมือนกับโปรแกรม GIS ทั่วไป ผูใชหลายทานนาจะคุนเคยมาบางแลว ดังนั้นในสวนนี้ ผมจะขอ
กลาวถึงเฉพาะสวนทีแตกตางไปจากโปรแกรมทั่วไปเทานั้น
                     ่
         3.1 การนําเขาขอมูลเชิงพื้นที่
                 โปรแกรม MapWindow GIS สนับสนุนการทํางานกับขอมูลทั้งประเภทเวกเตอร
และราสเตอร โดยชนิดของรูปแบบการจัดเก็บขอมูล (format) มีคอนขางหลากหลายโดยเฉพาะใน
ขอมูลราสเตอร แตคอนขางจํากัดในขอมูลเวกเตอรเมื่อเทียบกับโปรแกรมอื่นๆ โดยรูปแบบการ
จัดเก็บขอมูลของขอมูลเวกเตอรจะสนับสนุนเฉพาะ shapefile กับ coverage เทานั้น การนําเขาขอมูล
สามารถทําไดดังนี้ครับ
                 1. ไปที่คําสั่ง View >> Add Layer
                 2. ทําการเลือกไดเร็กทอรี่ที่เก็บชั้นขอมูลที่ตองการ




                    รูปที่ 2 แสดงการเลือกไฟลที่ตองการนําเขาในโปรแกรม




                    รูปที่ 3 แสดงการชนิดไฟลทสามารถนําเขาในโปรแกรม
                                             ี่


Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                 ชัยภัทร เนื่องคํามา
3




                    รูปที่ 4 แสดงผลลัพธการนําเขาขอมูลในโปรแกรม

         3.2 การแสดงผลขอมูลเชิงพื้นที่
                 3.2.1 แถบควบคุมการแสดงผลแผนที่
                         โปรแกรม Map Window GIS มีแถบเครื่องมือควบคุมการทํางานของแผน
ที่เหมือนกับโปรแกรม GIS ทั่วไปดังภาพที่ 5




                   รูปที่ 5 แสดงแถบเครื่องมือควบคุมการแสดงผลแผนที่




Map Window GIS 4.2.2 Manual                                          ชัยภัทร เนื่องคํามา
4

               3.2.2 การกําหนดรูปแบบและสัญลักษณของแผนที่
                       1. คลิ๊กขวาที่ชั้นขอมูล และเลือกแถบคําสั่ง Properties
                       2. เลือก Coloring Scheme บนหนาตาง Legend Editor




               รูปที่ 6 แสดงหนาตางที่ใชกาหนดรูปแบบการแสดงผลของแผนที่
                                           ํ
                         3. ทําการเลือกฟลดที่จะใชเปนคาในการจําแนกสี และกําหนดรูปแบบการ
จําแนกขอมูล




                    รูปที่ 7 แสดงการกําหนดรูปแบบการจําแนกกลุมขอมูล




Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                     ชัยภัทร เนื่องคํามา
5




               รูปที่ 8 แสดงผลลัพธการกําหนดรูปแบบการจําแนกกลุมขอมูล

              3.2.3 การกําหนดมุมมองภาพรวมแผนที่ (Overview Map)
                      1. ไปที่เมนู Edit >> Preview Map >> Update Using Full Extents




                   รูปที่ 9 แสดงคําสั่งการเปดมุมมองภาพรวมของแผนที่




             Overview Map




               รูปที่ 10 แสดงผลลัพธคําสั่งการเปดมุมมองภาพรวมของแผนที่


Map Window GIS 4.2.2 Manual                                              ชัยภัทร เนื่องคํามา
6

        3.3 การจัดการขอมูลเชิงบรรยาย
                โปรแกรม MapWindow GIS มีฟงกชันที่ใชในการจัดการขอมูลเชิงบรรยายที่
คอนขางสมบูรณ ผ็ใชสามารถใชงานผานอินเตอรเฟสไดอยางสะดวก
                3.3.1 การแสดงผลขอมูลเชิงบรรยาย
                        1. ทําการเลือกชั้นขอมูลที่ตองการ ดวยการ click บนแถบชั้นขอมูล
                        2. ไปที่แถบเครื่องมือ Table Editor
                                                              Table Editor Tool




                        รูปที่ 11 แสดงขอมูลเชิงบรรยายในรูปแบบตาราง

                3.3.2 การแกไขหรือปรับปรุงขอมูลเชิงบรรยาย
                        3.3.2.1 การเพิมฟลดของตารางขอมูล
                                      ่
                                 1. ไปที่เมนู Edit >> Add Field เพื่อทําการเพิ่มฟลด

                                                             กําหนดชื่อฟลด

                                                                  กําหนด Data Type

                                                                   กําหนด ขนาดขอมูล

                  รูปที่ 12 แสดงการกําหนดคุณสมบัติของฟลดที่จะทําการเพิ่ม



Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                     ชัยภัทร เนื่องคํามา
7

                          3.3.2.2 การลบฟลดของตารางขอมูล
                                   1. ไปที่เมนู Edit >> Remove Field เพื่อทําการเพิ่มฟลด

                                                          เลือกชื่อฟลดที่ตองการลบ




                            รูปที่ 13 แสดงการเลือกฟลดที่จะทําการลบ

                          3.3.2.3 การลบฟลดของตารางขอมูล
                                   1. ไปที่เมนู Edit >> Rename Field เพื่อทําการเปลี่ยนชื่อฟลด

                                               เลือกชื่อฟลดที่ตองการเปลี่ยนชื่อ


                                                             กําหนดชื่อใหมที่ตองการ




                         รูปที่ 14 แสดงการเลือกฟลดที่จะทําการเปลี่ยนชื่อ

                          3.3.2.4 การคํานวณคาของขอมูล
                                   1. ไปที่เมนู Tools >> Field Calculator Tool เพื่อทําการนําขอมูล
ที่อยูในฟลดมาคํานวณทางสถิติเบื้องตน
                                   2. ทําการสรางเงื่อนไขในการคํานวณโดยสามารถนําคาของ
ขอมูลที่อยูในฟลดตางๆมาใชคํานวณรวมในสมการได




Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                          ชัยภัทร เนื่องคํามา
8
                        ฟลดตางๆที่นํามาใชในการคํานวณได




                            ฟงกชันคณิตศาสตรที่ใชคํานวณ


                                                 สรางสมการเงื่อนไขในการคํานวณ




                        รูปที่ 15 แสดงหนาตางของ Field Calculator Tool

                       3.3.2.5 การเชื่อมโยงตารางจากภายนอก
                                1. ไปที่เมนู Tools >> Import Field Definitions from DBF เพื่อ
ทําการเชื่อมโยงตารางหลักทีทีกับตารางอื่นๆภายนอกที่อยูในรูปแบบ dbf
                          ่
                                2. ทําการเลือกไฟล dbf ที่ตองการทําการเชือมโยง
                                                                          ่




              รูปที่ 16 แสดงการเลือกไฟล dbf เพื่อทําการเชื่อมโยงตารางฐานขอมูล




Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                  ชัยภัทร เนื่องคํามา
9




                     รูปที่ 17 แสดงผลลัพธการเชื่อมโยงตารางฐานขอมูล

         3.4 การสืบคนขอมูล
                 การสืบคนขอมูลในโปรแกรม MapWindow GIS สามารถแบงออกเปนสอง
ประเภทคือการสืบคนดวยฟงกชั่นเชิงพืนทีและการสืบคนจากขอมูลเชิงบรรยาย
                                      ้ ่
                 3.4.1 การสืบคนขอมูลดวยฟงกชั่นเชิงพืนที่
                                                         ้
                         โปรแกรม MapWindow GIS สามารถทําการสืบคนดวยคาพิกัดภูมิศาสตร
และขอบเขตภูมิศาสตร โดยจะมีขั้นตอนดังตอไปนี้
                         1. ไปที่แถบเครื่องมือ Feature Identifier
                         2. ทําการกําหนดคาพิกดที่จะใชในการสืบคน โดยการคลิ๊กไปยังตําแหนง
                                                ั
ที่ตองการสืบคนบนแผนที่


                                                         คลิ๊กตําแหนงที่ตองการ
       ผลลัพธทีไดจากการสืบคน




                      รูปที่ 18 แสดงตําแหนงบนแผนที่ที่ตองการสืบคน


Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                ชัยภัทร เนื่องคํามา
10

                        3. ทดลองใชเมาสลากขอบเขตการคนหาบนแผนที่




                                              กําหนดขอบเขตการสืบคน



                 รูปที่ 19 แสดงการกําหนดขอบเขตบนแผนที่ที่ตองการสืบคน

               3.4.2 การสืบคนจากขอมูลเชิงบรรยาย
                       โปรแกรม MapWindow GIS มีเครื่องมือสําหรับสรางชุดคําสั่ง SQL ใน
การสืบคนขอมูลจากฐานขอมูล โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้
                       1. ทําการกําหนดชั้นขอมูลทีตองการจะทําการสืบคน ดวยการคลิ๊กที่ชน
                                                  ่                                     ั้
ขอมูลแผนที่บนแถบควบคุมชั้นขอมูลแผนที่
                       2. เปดตารางฐานขอมูลโดยไปที่แถบเครื่องมือ Table Editor




                               รูปที่ 20 แสดงตารางฐานขอมูล


Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                ชัยภัทร เนื่องคํามา
11

                     3. ไปที่เมนู Selection >> Query
                     4. กําหนดฟลดที่จะใชในการสรางเงื่อนไขเพื่อสืบคน




               รูปที่ 21 แสดงหนาตา Query Builder สําหรับสรางคําสั่ง SQL




                รูปที่ 22 แสดงผลลัพธที่ไดจากการสืบคนในรูปแบบตาราง




Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                 ชัยภัทร เนื่องคํามา
12

        3.5 การสรางและปรับแกขอมูลเชิงพื้นที่
                 3.5.1 การสรางขอมูลเชิงพื้นที่
                          โปรแกรม Map Window GIS มีฟงกชั่นการทํางานที่รองรับการสรางชั้น
ขอมูลแผนที่เชิงเสนทั้งประเภท จุด (Point), เสน (line), โพลีกอน (Polygon) โดยที่ผใชสามารถ
                                                                                    ู
สรางขอมูลดวยการทํา Head-Up Digitize จากหนาจอโปรแกรมไดทนที       ั
                          1. ทําการเปดภาพออรโธโฟโตที่ใชเปนแหลงขอมูลขึ้นมา โดยไปที่เมนู
View >> Add Layer
                          2. ทําการโหลด plug-in ที่ชื่อวา Shapfile Editor โดยไปที่เมนู Plug-ins >>
Shapfile Editor

                           รูปที่ 23 แสดงแถบเครื่องมือ Shapfile Editor

                         3. ไปคลิ๊กที่ Create New Shapefile บนแถบเครื่องมือ




    รูปที่ 24 แสดงการกําหนดไดเร็กทอรี่สําหรับจัดเก็บและชนิดของ Geometry ของ Shapfile
                          4. ทําการดิจิไตลอาคารจากภาพออรโธโฟโต โดยคลิ๊กทีปุม Add new
                                                                            ่
shape to current shapefile บนแถบเครื่องมือแลวลากเสนขอบอาคาร




                      รูปที่ 25 แสดงการดิจิไตลอาคารจากภาพออรโธโฟโต

Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                     ชัยภัทร เนื่องคํามา
13

                          5. ทําการเปดตารางฐานขอมูลของชั้นขอมูลอาคารที่สรางขึ้น




                    รูปที่ 26 แสดงตารางฐานขอมูลของชั้นขอมูลอาคารที่สรางใหม
                             6. เพิ่มคอลัมนเพื่อใชในการจัดเก็บขอมูลเชิงบรรยายที่สัมพันธกับขอมูล
เชิงพื้นที่ โดยไปที่เมนู edit>>add field




                    รูปที่ 27 แสดงการกําหนดคุณสมบัติคอลัมนที่สรางใหม
                        7. ทําการพิมพขอมูลเชิงบรรยายลงในตารางตามที่ตองการ แลวกดปุม
Apply เพื่อทําการบันทึกขอมูล




Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                       ชัยภัทร เนื่องคํามา
14




                 รูปที่ 28 แสดงตารางผลลัพธที่ไดทําการใสคาขอมูลเชิงบรรยาย

                 3.5.2 การแกไขขอมูลเชิงพื้นที่
                         การแกไขขอมูลเชิงพื้นที่ดวยโปรแกรม Map Window GIS สามารถทําได
ตามขั้นตอนตางๆดังตอไปนี้
                         1. ทําการเลือกฟเจอรที่ตองการปรับแก โดยไปที่แถบคําสั่ง Move an
Existing vertex in Shape แลวใชเมาสคลิ๊กไปที่ฟเจอรบนแผนที่
                         2. เลือก vertex ที่ตองการปรับแกแลวทําการคลิ๊กเมาสขาง เพื่อลากจุด
vertexไปยังตําแหนงที่ตองการ


                                   คลิ๊กที่จุด Vertex ที่ตองการปรับแก




                    รูปที่ 29 แสดงผลลัพธที่ไดทําการใสคาขอมูลเชิงบรรยาย



Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                   ชัยภัทร เนื่องคํามา
15

                        3. กรณีที่ตองการเพิ่มหรือลบจุด vertex ใหไปที่แถบเครื่องมือและคลิ๊กที่
ปุม Add vertex หรือ Remove Vertex เพื่อทําการเพิ่มหรือลบขอมูลจากฟเจอร



                      รูปที่ 30 แสดงแถบเครื่องมือสําหรับเพิ่มหรือลบ vertex

         3.6 การประมวลผลขอมูลเชิงพื้นที่
                 โปรแกรม Map Window GIS มีฟงกชันการประมวลผลขอมูลเชิงพื้นที่ที่
หลากหลาย ครอบคลุมการทํางานทั่วไปของระบบงาน GIS โดยแบงประเภทของฟงกชั่นออกเปน 3
ประเภทหลักคือ Vector, Raster และ Image
                 3.6.1 ฟงกชั่นการวิเคราะหและประมวลผลสําหรับขอมูล Vector
                          3.6.1.1 ฟงกชน Assign Projection to shapefile
                                         ั่
                                   Assign Projection to shapefile เปนฟงกชนที่ใชสําหรับ
                                                                             ั่
กําหนดคาระบบพิกัดอางอิง (Spatial Reference System) ดวยการสรางไฟล prj กํากับ ใหกับขอมูล
Vector โดยมีขั้นตอนการทํางานดังตอไปนี้
                                   1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Vector>> Assign Projection to
shapefile
                                   2. ทําการหาไดเร็กทอรี่ที่เก็บไฟล แลวเลือก shapefile ที่ตองการ
                                   3. กําหนดคา Map Projection และคา Datum ใหกับขอมูล




            รูปที่ 31 แสดงการกําหนดคาระบบพิกัดอางอิง (Spatial Reference System)




Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                     ชัยภัทร เนื่องคํามา
16



                                                             ผลลัพธที่ได




                รูปที่ 32 แสดงไฟลผลลัพธที่ไดจากการกําหนดคาระบบพิกัดอางอิง

                            3.6.1.2 ฟงกชน Buffer Shapes
                                           ั่
                                     ฟงกชั่น Buffer Shapes เปนฟงกชั่นที่ใชสาหรับในการวิเคราะห
                                                                                 ํ
ขอมูลเชิงพื้นที่ โดยมีขั้นตอนการทํางานดังตอไปนี้
                                     1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Vector>>Buffer Shapes
                                     2. กําหนดชั้นขอมูลที่ตองการวิเคราะห


                           รูปที่ 33 แสดงชั้นขอมูลที่ตองการสราง buffer
                                    3. กําหนดรายละอียดในการคํานวณสําหรับสราง buffer


                                             ขนาดรัศมีของ Buffer




                                      ตําแหนงการสราง


                                   ระบุไดเร็กทอรี่ที่ทําการจัดเก็บขอมูล


                    รูปที่ 35 แสดงการกําหนดรายละเอียดในการคํานวณ Buffer



Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                       ชัยภัทร เนื่องคํามา
17




                        รูปที่ 36 แสดงผลลัพธที่ไดจากการคํานวณ Buffer

                          3.6.1.3 ฟงกชน Calculate Polygon Area
                                         ั่
                                   ฟงกชั่น Calculate Polygon Area เปนฟงกชั่นที่ใชสําหรับ
คํานวณพื้นที่ของสี่เหลี่ยมรูปปด โดยมีขั้นตอนการทํางานดังตอไปนี้
                                   1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Vector>>Calculate Polygon Area
                                   2. ทําการกําหนดชั้นขอมูลประเภทโพลีกอนเพื่อทําการคํานวณ
                                   3. กําหนดคอลัมนที่จะทําการเก็บคาพื้นทีที่ไดจากการคํานวณ
                                                                           ่
                                   4. กําหนดหนวยของผลลัพธพื้นที่ที่ตองการ



                                       เลือกชั้นขอมูลที่ตองการ




                               กําหนดชื่อฟลดใหมทเี่ ก็บผลลัพธ




                 กําหนดหนวยของพื้นที่

                รูปที่ 37 แสดงหนาตางการกําหนดพารามิเตอรในการคํานวณพื้นที่


Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                   ชัยภัทร เนื่องคํามา
18

                        3.6.1.4 ฟงกชน Clip Shapefile with polygon
                                       ั่
                                 ฟงกชั่น Clip Shapefile with polygon เปนฟงกชั่นที่ใชสาหรับ
                                                                                           ํ
การตัดชั้นขอมูลดวยโพลีกอน โดยมีขั้นตอนการทํางานดังตอไปนี้
                                 1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Vector>> Clip Shapefile with polygon
                                 2. กําหนดชั้นขอมูลที่ตองการจะ Clip
                                 3. กําหนดชั้นขอมูลที่ใชเปนตัวแบบ (template) ในการตัด ผูใช
สามารถเลือกเฉพาะบางฟเจอรในชั้นขอมูลเพื่อทําการตัดได
                                 4. กําหนดไดเร็กทอรี่ที่ใชในการจัดเก็บผลลัพธที่ได


                                              เลือกชั้นขอมูลที่ตองการ Clip


                                             เลือกเฉพาะบางฟเจอรในชันขอมูลเพื่อใชในการตัด
                                                                     ้

               เลือกตัวแบบ Template ที่ใชในการตัด


                    กําหนดไดเรกทอรี่ที่ใชในการจัดเก็บขอมูล


                 รูปที่ 38 แสดงหนาตางการกําหนดพารามิเตอรในการประมวลผล

                          3.6.1.5 ฟงกชน Merge Shapefile
                                         ั่
                                   ฟงกชั่น Merge Shapefile เปนฟงกชันทีใชในการเชื่อมชันขอมูล
                                                                           ่               ้
แผนที่สองชุดใหกลายเปนชันขอมูลเดียวกันหรือใชในการเชื่อมฟเจอรหลายๆฟเจอรเขาดวยกัน
                            ้
โดยมีขั้นตอนการทํางานดังตอไปนี้
                                   1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Vector>> Merge Shapefile
                                   2. กําหนดชั้นขอมูลที่ตองการจะ Merge ในกรณีที่ตองการ
Merge เฉพาะฟเจอรที่อยูในชั้นขอมูลเดียวกัน ก็สามารถทําโดยการใชเมาสคลิ๊กเลือกฟเจอรที่
ตองการ




Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                     ชัยภัทร เนื่องคํามา
19




                 รูปที่ 39 แสดงการกําหนดฟเจอรที่ตองการจะทําการ Merge

                               3. ทําการกําหนดไดเรกทอรี่ปลายทางที่จะทําการจัดเก็บผลลัพธ


                             เลือกชั้นขอมูลชุดแรกที่ตองการ Merge


    กดปุม Select Shape เมื่อตองการจะเลือกบางฟเจอร


                เลือกชั้นขอมูลชุดที่สองที่ตองการ Merge




                        กําหนดไดเร็กทอรี่จัดเก็บขอมูลปลายทาง



                   รูปที่ 40 แสดงการกําหนดพารามิเตอรในการประมวลผล




Map Window GIS 4.2.2 Manual                                               ชัยภัทร เนื่องคํามา
20




                                          ผลลัพธที่ไดจากการ Merge Feature




                         รูปที่ 41 แสดงผลลัพธที่ไดจากการประมวลผล

                 3.6.2 ฟงกชั่นการวิเคราะหและประมวลผลสําหรับขอมูล Raster
                           3.6.2.1 ฟงกชนการ Reproject Grid
                                          ั่
                                    ฟงกชั่นการ Reproject Grid เปนฟงกชั่นทีใชในการแปลงคา
                                                                               ่
ระบบพิกัดอางอิง (Spatial Reference System) ของขอมูลราสเตอร โดยขอมูลราสเตอรจําเปนตองมี
คาพิกัดภูมิศาสตรเริ่มตองกอนทําการประมวลผลทุกครั้ง การทํางานจะมีขั้นตอนดังตอไปนี้
                                    1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Raster>> Reproject Grid
                                    2. ทําการนําเขาขอมูลราสเตอรที่ตองการจะทําการแปลงคาระบบ
พิกัดเขาสูโปรแกรม




              ไฟลราสเตอรที่จะทําการแปลงคาพิกัด



        รูปที่ 42 แสดงหนาตางรายงานสถานะของขอมูลราสเตอรที่จะทําการประมวลผล



Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                   ชัยภัทร เนื่องคํามา
21

                             3. กําหนดระบบพิกัดผลลัพธที่ตองการแปลง ในกรณีที่ขอมูลยัง
ไมมีการระบุรายละเอียดของระบบพิกัดมากอนโปรแกรมจะบังคับใหผูใชระบุพิกดของขอมูลกอน
                                                                       ั




                      รูปที่ 43 แสดงการเลือกระบบพิกัดที่ตองการแปลง

                      3.6.2.2 ฟงกชนการ Change Grid format
                                     ั่
                               ฟงกชั่นการ Change Grid format เปนฟงกชั่นที่ใชในการแปลง
รูปแบบชนิดการเก็บขอมูลของราสเตอร การทํางานจะมีขั้นตอนดังตอไปนี้
                               1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Raster>> Change Grid format
                               2. ทําการนําเขาขอมูลราสเตอรที่ตองการจะทําการแปลงรูปแบบ
ชนิดการเก็บขอมูลของราสเตอร




               ไฟลราสเตอรที่จะทําการแปลงรูปแบบการจัดเก็บ




        รูปที่ 44 แสดงหนาตางรายงานสถานะของขอมูลราสเตอรที่จะทําการประมวลผล
                                3. กําหนดประเภทฟอรแมทที่ตองการและขนาดของการจัดเก็บ
ขอมูลของแตละพิกเซล




Map Window GIS 4.2.2 Manual                                               ชัยภัทร เนื่องคํามา
22




                 รูปที่ 45 แสดงการกําหนดรายละเอียดสําหรับขอมูลผลลัพธ

                     3.6.2.3 ฟงกชนการ Resample Grids
                                    ั่
                              ฟงกชั่นการ Resample Grids เปนฟงกชนทีใชในการแปลงขนาด
                                                                     ั่ ่
พิกเซลของขอมูลของราสเตอร การทํางานจะมีขั้นตอนดังตอไปนี้
                              1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Raster>> Resample Grids
                              2. ทําการนําเขาขอมูลราสเตอรที่ตองการจะทําการแปลงรูปแบบ
ขนาดพิกเซลของราสเตอร




                ไฟลราสเตอรที่จะทําการแปลงขนาดพิกเซล




        รูปที่ 46 แสดงหนาตางรายงานสถานะของขอมูลราสเตอรที่จะทําการประมวลผล

                             3. กําหนดขนาดของพิกเซลที่ตองการสําหรับภาพผลลัพธ แลว
ทําการกําหนดรูปแบบการจัดเก็บขอมูล




Map Window GIS 4.2.2 Manual                                              ชัยภัทร เนื่องคํามา
23




             รูปที่ 47 แสดงการกําหนดรายละเอียดการจัดเก็บขอมูลของภาพผลลัพธ




                       รูปที่ 48 แสดงภาพผลลัพธที่ไดจากการประมวลผล

                       3.6.2.4 ฟงกชน GeoReference Image or grid
                                      ั่
                                ฟงกชั่น Geo Reference Image and grid เปนฟงกชั่นทีใชในการ
                                                                                      ่
กําหนดคาพิกดภูมิศาสตรอางอิงใหกับขอมูลภาพราสเตอร การทํางานจะมีขั้นตอนดังตอไปนี้
             ั
                                1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Raster>>GeoReference Image or grid
                                2. ทําการนําเขาขอมูลราสเตอรที่ตองการจะทําการกําหนดคา
พิกัดภูมิศาสตร




Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                  ชัยภัทร เนื่องคํามา
24




                            กดปุมคําสั่ง Load file เพื่อนําภาพเขามาทําการ Rectify




                   รูปที่ 49 แสดงการนําเขาขอมูลภาพที่จะทําการตรึงคาพิกด
                                                                         ั

                              3. ทําการนําเขาขอมูลตําแหนงพิกัดอางอิงที่จะใชในการ
กําหนดคาพิกดใหกับขอมูลภาพราสเตอร โดยในตัวอยางนี้จะทําการนําเขา point จากการเก็บคา
             ั
พิกัดดวย GPS ดังภาพที่ 50




        คาพิกัดภูมิศาสตรของตําแหนงควบคุมภาพที่ไดจากการวัดดวย GPS


        รูปที่ 50 แสดงการเตรียมขอมูลคาพิกัดภูมศาสตรที่จะใชในการ Rectify ขอมูลภาพ
                                                ิ



Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                   ชัยภัทร เนื่องคํามา
25

                                   4. ทําการกําหนดตําแหนงทีจะตรึงคาพิกด โดยใชเมาสคลิ๊กบน
                                                            ่           ั
ภาพดังภาพที่ 51

                                คาพิกัดภาพของตําแหนงบนภาพที่อานได




                  ทําการ Click ที่จุดแรกเพื่ออานคาพิกัดภาพ




             รูปที่ 51 แสดงการกําหนดตําแหนงที่สนใจบนภาพเพื่ออานคาพิกัดภาพ

                                5. ทําการ Click ที่ตําแหนงเดียวกันบนแผนที่ที่ทราบคาพิกัด
ภูมิศาสตรโลก โดยในตัวอยางนี้ใชคาพิกดจากการเก็บดวย GPS และนําเขามาแสดงในรูปแบบ
                                       ั
point




                        นําเมาสไป Click ที่จุดทราบคาพิกัดภูมิศาสตร
                              เพื่อนําคานั้นมาใชในการคํานวณ


                     รูปที่ 52 แสดงการกําหนดคาพิกัดภูมิศาสตรโลกจากแผนที่


Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                  ชัยภัทร เนื่องคํามา
26

                                  6. ทําจนครบทั้งหมด 3 ตําแหนงทั้ง Point 1, Point2, Point3 แลว
ทําการกดปุม Georeference เพื่อทําการคํานวณ




                                  คาพิกัดใหมทไดจากการคํานวณ โดยใชคาพิกัดที่
                                               ี่                     
                                                  ทําการเก็บดวย GPS




          รูปที่ 53 แสดงภาพผลลัพธที่มีพิกัดภูมิศาตรหลังจากการประมวลผลเรียบรอยแลว

4. สรุป
           บทความฉบับนี้เนนไปที่การทํางานของฟงกชั่นหลักๆของโปรแกรม Map Window GIS
เพื่อใหผูใชหลายทานไดทําความรูจักกับโปรแกรม Open Source ตัวนี้ ยังมีอีกหลายฟงกชั่นที่ผมยัง
ไมไดกลาวถึงในบทความชุดนี้ รวมถึงความสามารถขั้นสูงของโปรแกรม Map Window GIS เชน
การเปดชองทางใหโอกาสโปรแกรมเมอรเขียน script ดวยภาษา vb.net หรือ C# เพื่อสรางฟงกชั่น
หรือ customizes โปรแกรมใหเฉพาะทางได และการวิเคราะหขั้นสูงดวยโมเดลตางๆเปนตน คิดวา
ในอนาคตถาโอกาสอํานวยนาจะไดมีโอกาสกลาวถึงเรื่องนี้ตอไป ขอบคุณครับ...




Map Window GIS 4.2.2 Manual                                                   ชัยภัทร เนื่องคํามา

More Related Content

Viewers also liked

Unsupervised analysis for decipherment problems
Unsupervised analysis for decipherment problemsUnsupervised analysis for decipherment problems
Unsupervised analysis for decipherment problemsAttaporn Ninsuwan
 
Learning phoneme mappings for transliteration without parallel data
Learning phoneme mappings for transliteration without parallel dataLearning phoneme mappings for transliteration without parallel data
Learning phoneme mappings for transliteration without parallel dataAttaporn Ninsuwan
 
Live@edu benefit sso benefit
Live@edu benefit sso benefitLive@edu benefit sso benefit
Live@edu benefit sso benefitAttaporn Ninsuwan
 
Innovation china india_sep.07_ramamurthy
Innovation china india_sep.07_ramamurthyInnovation china india_sep.07_ramamurthy
Innovation china india_sep.07_ramamurthyAttaporn Ninsuwan
 
ธนาคารธนชาต จำกัด
ธนาคารธนชาต จำกัดธนาคารธนชาต จำกัด
ธนาคารธนชาต จำกัดAttaporn Ninsuwan
 
Web services technology with customer contact center management
Web services technology with customer contact center managementWeb services technology with customer contact center management
Web services technology with customer contact center managementAttaporn Ninsuwan
 
20111020 Soirée Centre d'Affaires Vannetais
20111020 Soirée Centre d'Affaires Vannetais20111020 Soirée Centre d'Affaires Vannetais
20111020 Soirée Centre d'Affaires VannetaisBenapse
 
Petite boite à outils à destination du chef d'entreprise
Petite boite à outils à destination du chef d'entreprisePetite boite à outils à destination du chef d'entreprise
Petite boite à outils à destination du chef d'entrepriseBenapse
 

Viewers also liked (20)

Unsupervised analysis for decipherment problems
Unsupervised analysis for decipherment problemsUnsupervised analysis for decipherment problems
Unsupervised analysis for decipherment problems
 
Learning phoneme mappings for transliteration without parallel data
Learning phoneme mappings for transliteration without parallel dataLearning phoneme mappings for transliteration without parallel data
Learning phoneme mappings for transliteration without parallel data
 
Mobile app
Mobile appMobile app
Mobile app
 
Diaz payen
Diaz payenDiaz payen
Diaz payen
 
File foldername
File foldernameFile foldername
File foldername
 
Live@edu benefit sso benefit
Live@edu benefit sso benefitLive@edu benefit sso benefit
Live@edu benefit sso benefit
 
Grid theory
Grid theoryGrid theory
Grid theory
 
Fast web design
Fast web designFast web design
Fast web design
 
Designing web navigation
Designing web navigationDesigning web navigation
Designing web navigation
 
Innovation china india_sep.07_ramamurthy
Innovation china india_sep.07_ramamurthyInnovation china india_sep.07_ramamurthy
Innovation china india_sep.07_ramamurthy
 
Copiale 11
Copiale 11Copiale 11
Copiale 11
 
ธนาคารธนชาต จำกัด
ธนาคารธนชาต จำกัดธนาคารธนชาต จำกัด
ธนาคารธนชาต จำกัด
 
Web services technology with customer contact center management
Web services technology with customer contact center managementWeb services technology with customer contact center management
Web services technology with customer contact center management
 
Dep
DepDep
Dep
 
Accounting Basics Quantum presentation at Dubai SME
Accounting Basics Quantum presentation at Dubai SMEAccounting Basics Quantum presentation at Dubai SME
Accounting Basics Quantum presentation at Dubai SME
 
คุณเมธินี
คุณเมธินีคุณเมธินี
คุณเมธินี
 
2 google verified
2 google verified2 google verified
2 google verified
 
รายงาน Project2
รายงาน Project2รายงาน Project2
รายงาน Project2
 
20111020 Soirée Centre d'Affaires Vannetais
20111020 Soirée Centre d'Affaires Vannetais20111020 Soirée Centre d'Affaires Vannetais
20111020 Soirée Centre d'Affaires Vannetais
 
Petite boite à outils à destination du chef d'entreprise
Petite boite à outils à destination du chef d'entreprisePetite boite à outils à destination du chef d'entreprise
Petite boite à outils à destination du chef d'entreprise
 

Similar to Map windowgismanual

ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลKriangx Ch
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
คู่มือ Arc gis
คู่มือ Arc gisคู่มือ Arc gis
คู่มือ Arc gissaintja
 
877353_นวรัตน์ ศรชัย_58670064_กลุ่ม3303
877353_นวรัตน์ ศรชัย_58670064_กลุ่ม3303877353_นวรัตน์ ศรชัย_58670064_กลุ่ม3303
877353_นวรัตน์ ศรชัย_58670064_กลุ่ม3303Nawarat Sornchai
 
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์วาสนา ใจสุยะ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขนเกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขนbennypong
 
01 intro computergraphic
01 intro computergraphic01 intro computergraphic
01 intro computergraphicpisandesign
 
ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1Bee Saruta
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานErrorrrrr
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกjibbie23
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 
Start with maya
Start with mayaStart with maya
Start with mayakruood
 
sample plot 3D form depth map using OpenCV
sample plot 3D form depth map using OpenCVsample plot 3D form depth map using OpenCV
sample plot 3D form depth map using OpenCVBhuridech Sudsee
 
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
การออกแบบและตกแต่งภาพสำหรับจัดทำเว็บไซต์ ม.ต้น
การออกแบบและตกแต่งภาพสำหรับจัดทำเว็บไซต์ ม.ต้นการออกแบบและตกแต่งภาพสำหรับจัดทำเว็บไซต์ ม.ต้น
การออกแบบและตกแต่งภาพสำหรับจัดทำเว็บไซต์ ม.ต้นTanasat Sudjing
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกprimpatcha
 

Similar to Map windowgismanual (20)

ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
คู่มือ Arc gis
คู่มือ Arc gisคู่มือ Arc gis
คู่มือ Arc gis
 
877353_นวรัตน์ ศรชัย_58670064_กลุ่ม3303
877353_นวรัตน์ ศรชัย_58670064_กลุ่ม3303877353_นวรัตน์ ศรชัย_58670064_กลุ่ม3303
877353_นวรัตน์ ศรชัย_58670064_กลุ่ม3303
 
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขนเกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
 
01 intro computergraphic
01 intro computergraphic01 intro computergraphic
01 intro computergraphic
 
ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงาน
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Start with maya
Start with mayaStart with maya
Start with maya
 
sample plot 3D form depth map using OpenCV
sample plot 3D form depth map using OpenCVsample plot 3D form depth map using OpenCV
sample plot 3D form depth map using OpenCV
 
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
 
การออกแบบและตกแต่งภาพสำหรับจัดทำเว็บไซต์ ม.ต้น
การออกแบบและตกแต่งภาพสำหรับจัดทำเว็บไซต์ ม.ต้นการออกแบบและตกแต่งภาพสำหรับจัดทำเว็บไซต์ ม.ต้น
การออกแบบและตกแต่งภาพสำหรับจัดทำเว็บไซต์ ม.ต้น
 
Epi info unit01
Epi info unit01Epi info unit01
Epi info unit01
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
 

More from Attaporn Ninsuwan

More from Attaporn Ninsuwan (20)

J query fundamentals
J query fundamentalsJ query fundamentals
J query fundamentals
 
Jquery enlightenment
Jquery enlightenmentJquery enlightenment
Jquery enlightenment
 
Jquery-Begining
Jquery-BeginingJquery-Begining
Jquery-Begining
 
Br ainfocom94
Br ainfocom94Br ainfocom94
Br ainfocom94
 
Chapter 12 - Computer Forensics
Chapter 12 - Computer ForensicsChapter 12 - Computer Forensics
Chapter 12 - Computer Forensics
 
Techniques for data hiding p
Techniques for data hiding pTechniques for data hiding p
Techniques for data hiding p
 
Stop badware infected_sites_report_062408
Stop badware infected_sites_report_062408Stop badware infected_sites_report_062408
Stop badware infected_sites_report_062408
 
Steganography past-present-future 552
Steganography past-present-future 552Steganography past-present-future 552
Steganography past-present-future 552
 
Ch03-Computer Security
Ch03-Computer SecurityCh03-Computer Security
Ch03-Computer Security
 
Ch02-Computer Security
Ch02-Computer SecurityCh02-Computer Security
Ch02-Computer Security
 
Ch01-Computer Security
Ch01-Computer SecurityCh01-Computer Security
Ch01-Computer Security
 
Ch8-Computer Security
Ch8-Computer SecurityCh8-Computer Security
Ch8-Computer Security
 
Ch7-Computer Security
Ch7-Computer SecurityCh7-Computer Security
Ch7-Computer Security
 
Ch6-Computer Security
Ch6-Computer SecurityCh6-Computer Security
Ch6-Computer Security
 
Ch06b-Computer Security
Ch06b-Computer SecurityCh06b-Computer Security
Ch06b-Computer Security
 
Ch5-Computer Security
Ch5-Computer SecurityCh5-Computer Security
Ch5-Computer Security
 
Ch04-Computer Security
Ch04-Computer SecurityCh04-Computer Security
Ch04-Computer Security
 
Chapter5 - The Discrete-Time Fourier Transform
Chapter5 - The Discrete-Time Fourier TransformChapter5 - The Discrete-Time Fourier Transform
Chapter5 - The Discrete-Time Fourier Transform
 
Chapter4 - The Continuous-Time Fourier Transform
Chapter4 - The Continuous-Time Fourier TransformChapter4 - The Continuous-Time Fourier Transform
Chapter4 - The Continuous-Time Fourier Transform
 
Chapter3 - Fourier Series Representation of Periodic Signals
Chapter3 - Fourier Series Representation of Periodic SignalsChapter3 - Fourier Series Representation of Periodic Signals
Chapter3 - Fourier Series Representation of Periodic Signals
 

Map windowgismanual

  • 1. 1 คูมือการใชงานโปรแกรม Map Window GIS ชัยภัทร เนื่องคํามา Email: pk_a1977@hotmail.com 1. บทนํา MapWindow GIS เปนโปรแกรมประเภท Desktop GIS ซึ่งออกแบบมาใหผใชทั่วไป ู สามารถทํางานทางดานระบบสารสนเทศภูมิศาสตรไดอยางสะดวก โดยเนนไปที่การใชงานที่งาย และมีฟงกชนการทํางานที่คอนขางหลากหลาย นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาฟงกชั่นเฉพาะในรูปแบบ ั  ของ plug-in สําหรับการวิเคราะหที่เฉพาะทางเชน การวิเคราะหเรื่องน้ํา (hydrology), การวิเคราะห ขอมูลสภาพภูมิประเทศ เปนตน โปรแกรมนี้จัดเปนโปรแกรมประเภทรหัสเปด (Open Source) ที่อยู ภายใตลิขสิทธิ์ของ The Mozilla Public License 1.1 ดังนั้นผูใชจึงสามารถนําโปรแกรมนี้มาใชงาน ไดโดยทีไดตองเสียคาซอฟทแวร ซึ่งเหมาะกับหนวยงานหรือสถาบันการศึกษาที่ตองการนําระบบ ่ สารสนเทศภูมิศาสตรมาใชในองคกรแตมขอจํากัดเรื่องงบประมาณ ี บทความชุดนีทําขึ้นเพื่อสงเสริมและเผยแพรความรูทางวิชาการ ไมไดมีเจตนาทําขึ้นเพื่อ ้ จําหนายหรือใชเพื่อผลประโยชนทางธุรกิจแตอยางใด 2. การติดตั้งโปรแกรม 1. ทําการดาวโหลดโปรแกรม MapWindow GIS จาก URL http://www.mapwindow.org/download.php?file_name=http://svn.mapwindow.org/svnroot/Install ationProjects/4.2/Release/MapWindow42SR.exe&show_details=1&dl=1 2. Double click ไฟล MapWindow42SR.exe เพื่อทําการติดตั้งโปรแกรม 3. ทดลองรันโปรแกรม MapWindow GIS กรณีที่สามารถติดตั้งไดสําเร็จจะปากฏหนาตา เริ่มตนของโปรแกรมดังรูปที่ 1 รูปที่ 1 แสดงหนาตางตอนรับของโปรแกรม MapWindow GIS Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 2. 2 3. การใชงานโปรแกรม MapWindow GIS ทั่วไป สําหรับโปรแกรม MapWindow GIS มีหนาตาง แถบเครื่องมือและฟงกชนการทํางานที่ ั เหมือนกับโปรแกรม GIS ทั่วไป ผูใชหลายทานนาจะคุนเคยมาบางแลว ดังนั้นในสวนนี้ ผมจะขอ กลาวถึงเฉพาะสวนทีแตกตางไปจากโปรแกรมทั่วไปเทานั้น ่ 3.1 การนําเขาขอมูลเชิงพื้นที่ โปรแกรม MapWindow GIS สนับสนุนการทํางานกับขอมูลทั้งประเภทเวกเตอร และราสเตอร โดยชนิดของรูปแบบการจัดเก็บขอมูล (format) มีคอนขางหลากหลายโดยเฉพาะใน ขอมูลราสเตอร แตคอนขางจํากัดในขอมูลเวกเตอรเมื่อเทียบกับโปรแกรมอื่นๆ โดยรูปแบบการ จัดเก็บขอมูลของขอมูลเวกเตอรจะสนับสนุนเฉพาะ shapefile กับ coverage เทานั้น การนําเขาขอมูล สามารถทําไดดังนี้ครับ 1. ไปที่คําสั่ง View >> Add Layer 2. ทําการเลือกไดเร็กทอรี่ที่เก็บชั้นขอมูลที่ตองการ รูปที่ 2 แสดงการเลือกไฟลที่ตองการนําเขาในโปรแกรม รูปที่ 3 แสดงการชนิดไฟลทสามารถนําเขาในโปรแกรม ี่ Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 3. 3 รูปที่ 4 แสดงผลลัพธการนําเขาขอมูลในโปรแกรม 3.2 การแสดงผลขอมูลเชิงพื้นที่ 3.2.1 แถบควบคุมการแสดงผลแผนที่ โปรแกรม Map Window GIS มีแถบเครื่องมือควบคุมการทํางานของแผน ที่เหมือนกับโปรแกรม GIS ทั่วไปดังภาพที่ 5 รูปที่ 5 แสดงแถบเครื่องมือควบคุมการแสดงผลแผนที่ Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 4. 4 3.2.2 การกําหนดรูปแบบและสัญลักษณของแผนที่ 1. คลิ๊กขวาที่ชั้นขอมูล และเลือกแถบคําสั่ง Properties 2. เลือก Coloring Scheme บนหนาตาง Legend Editor รูปที่ 6 แสดงหนาตางที่ใชกาหนดรูปแบบการแสดงผลของแผนที่ ํ 3. ทําการเลือกฟลดที่จะใชเปนคาในการจําแนกสี และกําหนดรูปแบบการ จําแนกขอมูล รูปที่ 7 แสดงการกําหนดรูปแบบการจําแนกกลุมขอมูล Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 5. 5 รูปที่ 8 แสดงผลลัพธการกําหนดรูปแบบการจําแนกกลุมขอมูล 3.2.3 การกําหนดมุมมองภาพรวมแผนที่ (Overview Map) 1. ไปที่เมนู Edit >> Preview Map >> Update Using Full Extents รูปที่ 9 แสดงคําสั่งการเปดมุมมองภาพรวมของแผนที่ Overview Map รูปที่ 10 แสดงผลลัพธคําสั่งการเปดมุมมองภาพรวมของแผนที่ Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 6. 6 3.3 การจัดการขอมูลเชิงบรรยาย โปรแกรม MapWindow GIS มีฟงกชันที่ใชในการจัดการขอมูลเชิงบรรยายที่ คอนขางสมบูรณ ผ็ใชสามารถใชงานผานอินเตอรเฟสไดอยางสะดวก 3.3.1 การแสดงผลขอมูลเชิงบรรยาย 1. ทําการเลือกชั้นขอมูลที่ตองการ ดวยการ click บนแถบชั้นขอมูล 2. ไปที่แถบเครื่องมือ Table Editor Table Editor Tool รูปที่ 11 แสดงขอมูลเชิงบรรยายในรูปแบบตาราง 3.3.2 การแกไขหรือปรับปรุงขอมูลเชิงบรรยาย 3.3.2.1 การเพิมฟลดของตารางขอมูล ่ 1. ไปที่เมนู Edit >> Add Field เพื่อทําการเพิ่มฟลด กําหนดชื่อฟลด กําหนด Data Type กําหนด ขนาดขอมูล รูปที่ 12 แสดงการกําหนดคุณสมบัติของฟลดที่จะทําการเพิ่ม Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 7. 7 3.3.2.2 การลบฟลดของตารางขอมูล 1. ไปที่เมนู Edit >> Remove Field เพื่อทําการเพิ่มฟลด เลือกชื่อฟลดที่ตองการลบ รูปที่ 13 แสดงการเลือกฟลดที่จะทําการลบ 3.3.2.3 การลบฟลดของตารางขอมูล 1. ไปที่เมนู Edit >> Rename Field เพื่อทําการเปลี่ยนชื่อฟลด เลือกชื่อฟลดที่ตองการเปลี่ยนชื่อ กําหนดชื่อใหมที่ตองการ รูปที่ 14 แสดงการเลือกฟลดที่จะทําการเปลี่ยนชื่อ 3.3.2.4 การคํานวณคาของขอมูล 1. ไปที่เมนู Tools >> Field Calculator Tool เพื่อทําการนําขอมูล ที่อยูในฟลดมาคํานวณทางสถิติเบื้องตน 2. ทําการสรางเงื่อนไขในการคํานวณโดยสามารถนําคาของ ขอมูลที่อยูในฟลดตางๆมาใชคํานวณรวมในสมการได Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 8. 8 ฟลดตางๆที่นํามาใชในการคํานวณได ฟงกชันคณิตศาสตรที่ใชคํานวณ สรางสมการเงื่อนไขในการคํานวณ รูปที่ 15 แสดงหนาตางของ Field Calculator Tool 3.3.2.5 การเชื่อมโยงตารางจากภายนอก 1. ไปที่เมนู Tools >> Import Field Definitions from DBF เพื่อ ทําการเชื่อมโยงตารางหลักทีทีกับตารางอื่นๆภายนอกที่อยูในรูปแบบ dbf ่ 2. ทําการเลือกไฟล dbf ที่ตองการทําการเชือมโยง ่ รูปที่ 16 แสดงการเลือกไฟล dbf เพื่อทําการเชื่อมโยงตารางฐานขอมูล Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 9. 9 รูปที่ 17 แสดงผลลัพธการเชื่อมโยงตารางฐานขอมูล 3.4 การสืบคนขอมูล การสืบคนขอมูลในโปรแกรม MapWindow GIS สามารถแบงออกเปนสอง ประเภทคือการสืบคนดวยฟงกชั่นเชิงพืนทีและการสืบคนจากขอมูลเชิงบรรยาย ้ ่ 3.4.1 การสืบคนขอมูลดวยฟงกชั่นเชิงพืนที่ ้ โปรแกรม MapWindow GIS สามารถทําการสืบคนดวยคาพิกัดภูมิศาสตร และขอบเขตภูมิศาสตร โดยจะมีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. ไปที่แถบเครื่องมือ Feature Identifier 2. ทําการกําหนดคาพิกดที่จะใชในการสืบคน โดยการคลิ๊กไปยังตําแหนง ั ที่ตองการสืบคนบนแผนที่ คลิ๊กตําแหนงที่ตองการ ผลลัพธทีไดจากการสืบคน รูปที่ 18 แสดงตําแหนงบนแผนที่ที่ตองการสืบคน Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 10. 10 3. ทดลองใชเมาสลากขอบเขตการคนหาบนแผนที่ กําหนดขอบเขตการสืบคน รูปที่ 19 แสดงการกําหนดขอบเขตบนแผนที่ที่ตองการสืบคน 3.4.2 การสืบคนจากขอมูลเชิงบรรยาย โปรแกรม MapWindow GIS มีเครื่องมือสําหรับสรางชุดคําสั่ง SQL ใน การสืบคนขอมูลจากฐานขอมูล โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. ทําการกําหนดชั้นขอมูลทีตองการจะทําการสืบคน ดวยการคลิ๊กที่ชน ่ ั้ ขอมูลแผนที่บนแถบควบคุมชั้นขอมูลแผนที่ 2. เปดตารางฐานขอมูลโดยไปที่แถบเครื่องมือ Table Editor รูปที่ 20 แสดงตารางฐานขอมูล Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 11. 11 3. ไปที่เมนู Selection >> Query 4. กําหนดฟลดที่จะใชในการสรางเงื่อนไขเพื่อสืบคน รูปที่ 21 แสดงหนาตา Query Builder สําหรับสรางคําสั่ง SQL รูปที่ 22 แสดงผลลัพธที่ไดจากการสืบคนในรูปแบบตาราง Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 12. 12 3.5 การสรางและปรับแกขอมูลเชิงพื้นที่ 3.5.1 การสรางขอมูลเชิงพื้นที่ โปรแกรม Map Window GIS มีฟงกชั่นการทํางานที่รองรับการสรางชั้น ขอมูลแผนที่เชิงเสนทั้งประเภท จุด (Point), เสน (line), โพลีกอน (Polygon) โดยที่ผใชสามารถ ู สรางขอมูลดวยการทํา Head-Up Digitize จากหนาจอโปรแกรมไดทนที ั 1. ทําการเปดภาพออรโธโฟโตที่ใชเปนแหลงขอมูลขึ้นมา โดยไปที่เมนู View >> Add Layer 2. ทําการโหลด plug-in ที่ชื่อวา Shapfile Editor โดยไปที่เมนู Plug-ins >> Shapfile Editor รูปที่ 23 แสดงแถบเครื่องมือ Shapfile Editor 3. ไปคลิ๊กที่ Create New Shapefile บนแถบเครื่องมือ รูปที่ 24 แสดงการกําหนดไดเร็กทอรี่สําหรับจัดเก็บและชนิดของ Geometry ของ Shapfile 4. ทําการดิจิไตลอาคารจากภาพออรโธโฟโต โดยคลิ๊กทีปุม Add new ่ shape to current shapefile บนแถบเครื่องมือแลวลากเสนขอบอาคาร รูปที่ 25 แสดงการดิจิไตลอาคารจากภาพออรโธโฟโต Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 13. 13 5. ทําการเปดตารางฐานขอมูลของชั้นขอมูลอาคารที่สรางขึ้น รูปที่ 26 แสดงตารางฐานขอมูลของชั้นขอมูลอาคารที่สรางใหม 6. เพิ่มคอลัมนเพื่อใชในการจัดเก็บขอมูลเชิงบรรยายที่สัมพันธกับขอมูล เชิงพื้นที่ โดยไปที่เมนู edit>>add field รูปที่ 27 แสดงการกําหนดคุณสมบัติคอลัมนที่สรางใหม 7. ทําการพิมพขอมูลเชิงบรรยายลงในตารางตามที่ตองการ แลวกดปุม Apply เพื่อทําการบันทึกขอมูล Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 14. 14 รูปที่ 28 แสดงตารางผลลัพธที่ไดทําการใสคาขอมูลเชิงบรรยาย 3.5.2 การแกไขขอมูลเชิงพื้นที่ การแกไขขอมูลเชิงพื้นที่ดวยโปรแกรม Map Window GIS สามารถทําได ตามขั้นตอนตางๆดังตอไปนี้ 1. ทําการเลือกฟเจอรที่ตองการปรับแก โดยไปที่แถบคําสั่ง Move an Existing vertex in Shape แลวใชเมาสคลิ๊กไปที่ฟเจอรบนแผนที่ 2. เลือก vertex ที่ตองการปรับแกแลวทําการคลิ๊กเมาสขาง เพื่อลากจุด vertexไปยังตําแหนงที่ตองการ คลิ๊กที่จุด Vertex ที่ตองการปรับแก รูปที่ 29 แสดงผลลัพธที่ไดทําการใสคาขอมูลเชิงบรรยาย Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 15. 15 3. กรณีที่ตองการเพิ่มหรือลบจุด vertex ใหไปที่แถบเครื่องมือและคลิ๊กที่ ปุม Add vertex หรือ Remove Vertex เพื่อทําการเพิ่มหรือลบขอมูลจากฟเจอร รูปที่ 30 แสดงแถบเครื่องมือสําหรับเพิ่มหรือลบ vertex 3.6 การประมวลผลขอมูลเชิงพื้นที่ โปรแกรม Map Window GIS มีฟงกชันการประมวลผลขอมูลเชิงพื้นที่ที่ หลากหลาย ครอบคลุมการทํางานทั่วไปของระบบงาน GIS โดยแบงประเภทของฟงกชั่นออกเปน 3 ประเภทหลักคือ Vector, Raster และ Image 3.6.1 ฟงกชั่นการวิเคราะหและประมวลผลสําหรับขอมูล Vector 3.6.1.1 ฟงกชน Assign Projection to shapefile ั่ Assign Projection to shapefile เปนฟงกชนที่ใชสําหรับ ั่ กําหนดคาระบบพิกัดอางอิง (Spatial Reference System) ดวยการสรางไฟล prj กํากับ ใหกับขอมูล Vector โดยมีขั้นตอนการทํางานดังตอไปนี้ 1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Vector>> Assign Projection to shapefile 2. ทําการหาไดเร็กทอรี่ที่เก็บไฟล แลวเลือก shapefile ที่ตองการ 3. กําหนดคา Map Projection และคา Datum ใหกับขอมูล รูปที่ 31 แสดงการกําหนดคาระบบพิกัดอางอิง (Spatial Reference System) Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 16. 16 ผลลัพธที่ได รูปที่ 32 แสดงไฟลผลลัพธที่ไดจากการกําหนดคาระบบพิกัดอางอิง 3.6.1.2 ฟงกชน Buffer Shapes ั่ ฟงกชั่น Buffer Shapes เปนฟงกชั่นที่ใชสาหรับในการวิเคราะห ํ ขอมูลเชิงพื้นที่ โดยมีขั้นตอนการทํางานดังตอไปนี้ 1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Vector>>Buffer Shapes 2. กําหนดชั้นขอมูลที่ตองการวิเคราะห รูปที่ 33 แสดงชั้นขอมูลที่ตองการสราง buffer 3. กําหนดรายละอียดในการคํานวณสําหรับสราง buffer ขนาดรัศมีของ Buffer ตําแหนงการสราง ระบุไดเร็กทอรี่ที่ทําการจัดเก็บขอมูล รูปที่ 35 แสดงการกําหนดรายละเอียดในการคํานวณ Buffer Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 17. 17 รูปที่ 36 แสดงผลลัพธที่ไดจากการคํานวณ Buffer 3.6.1.3 ฟงกชน Calculate Polygon Area ั่ ฟงกชั่น Calculate Polygon Area เปนฟงกชั่นที่ใชสําหรับ คํานวณพื้นที่ของสี่เหลี่ยมรูปปด โดยมีขั้นตอนการทํางานดังตอไปนี้ 1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Vector>>Calculate Polygon Area 2. ทําการกําหนดชั้นขอมูลประเภทโพลีกอนเพื่อทําการคํานวณ 3. กําหนดคอลัมนที่จะทําการเก็บคาพื้นทีที่ไดจากการคํานวณ ่ 4. กําหนดหนวยของผลลัพธพื้นที่ที่ตองการ เลือกชั้นขอมูลที่ตองการ กําหนดชื่อฟลดใหมทเี่ ก็บผลลัพธ กําหนดหนวยของพื้นที่ รูปที่ 37 แสดงหนาตางการกําหนดพารามิเตอรในการคํานวณพื้นที่ Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 18. 18 3.6.1.4 ฟงกชน Clip Shapefile with polygon ั่ ฟงกชั่น Clip Shapefile with polygon เปนฟงกชั่นที่ใชสาหรับ ํ การตัดชั้นขอมูลดวยโพลีกอน โดยมีขั้นตอนการทํางานดังตอไปนี้ 1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Vector>> Clip Shapefile with polygon 2. กําหนดชั้นขอมูลที่ตองการจะ Clip 3. กําหนดชั้นขอมูลที่ใชเปนตัวแบบ (template) ในการตัด ผูใช สามารถเลือกเฉพาะบางฟเจอรในชั้นขอมูลเพื่อทําการตัดได 4. กําหนดไดเร็กทอรี่ที่ใชในการจัดเก็บผลลัพธที่ได เลือกชั้นขอมูลที่ตองการ Clip เลือกเฉพาะบางฟเจอรในชันขอมูลเพื่อใชในการตัด ้ เลือกตัวแบบ Template ที่ใชในการตัด กําหนดไดเรกทอรี่ที่ใชในการจัดเก็บขอมูล รูปที่ 38 แสดงหนาตางการกําหนดพารามิเตอรในการประมวลผล 3.6.1.5 ฟงกชน Merge Shapefile ั่ ฟงกชั่น Merge Shapefile เปนฟงกชันทีใชในการเชื่อมชันขอมูล ่ ้ แผนที่สองชุดใหกลายเปนชันขอมูลเดียวกันหรือใชในการเชื่อมฟเจอรหลายๆฟเจอรเขาดวยกัน ้ โดยมีขั้นตอนการทํางานดังตอไปนี้ 1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Vector>> Merge Shapefile 2. กําหนดชั้นขอมูลที่ตองการจะ Merge ในกรณีที่ตองการ Merge เฉพาะฟเจอรที่อยูในชั้นขอมูลเดียวกัน ก็สามารถทําโดยการใชเมาสคลิ๊กเลือกฟเจอรที่ ตองการ Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 19. 19 รูปที่ 39 แสดงการกําหนดฟเจอรที่ตองการจะทําการ Merge 3. ทําการกําหนดไดเรกทอรี่ปลายทางที่จะทําการจัดเก็บผลลัพธ เลือกชั้นขอมูลชุดแรกที่ตองการ Merge กดปุม Select Shape เมื่อตองการจะเลือกบางฟเจอร เลือกชั้นขอมูลชุดที่สองที่ตองการ Merge กําหนดไดเร็กทอรี่จัดเก็บขอมูลปลายทาง รูปที่ 40 แสดงการกําหนดพารามิเตอรในการประมวลผล Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 20. 20 ผลลัพธที่ไดจากการ Merge Feature รูปที่ 41 แสดงผลลัพธที่ไดจากการประมวลผล 3.6.2 ฟงกชั่นการวิเคราะหและประมวลผลสําหรับขอมูล Raster 3.6.2.1 ฟงกชนการ Reproject Grid ั่ ฟงกชั่นการ Reproject Grid เปนฟงกชั่นทีใชในการแปลงคา ่ ระบบพิกัดอางอิง (Spatial Reference System) ของขอมูลราสเตอร โดยขอมูลราสเตอรจําเปนตองมี คาพิกัดภูมิศาสตรเริ่มตองกอนทําการประมวลผลทุกครั้ง การทํางานจะมีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Raster>> Reproject Grid 2. ทําการนําเขาขอมูลราสเตอรที่ตองการจะทําการแปลงคาระบบ พิกัดเขาสูโปรแกรม ไฟลราสเตอรที่จะทําการแปลงคาพิกัด รูปที่ 42 แสดงหนาตางรายงานสถานะของขอมูลราสเตอรที่จะทําการประมวลผล Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 21. 21 3. กําหนดระบบพิกัดผลลัพธที่ตองการแปลง ในกรณีที่ขอมูลยัง ไมมีการระบุรายละเอียดของระบบพิกัดมากอนโปรแกรมจะบังคับใหผูใชระบุพิกดของขอมูลกอน ั รูปที่ 43 แสดงการเลือกระบบพิกัดที่ตองการแปลง 3.6.2.2 ฟงกชนการ Change Grid format ั่ ฟงกชั่นการ Change Grid format เปนฟงกชั่นที่ใชในการแปลง รูปแบบชนิดการเก็บขอมูลของราสเตอร การทํางานจะมีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Raster>> Change Grid format 2. ทําการนําเขาขอมูลราสเตอรที่ตองการจะทําการแปลงรูปแบบ ชนิดการเก็บขอมูลของราสเตอร ไฟลราสเตอรที่จะทําการแปลงรูปแบบการจัดเก็บ รูปที่ 44 แสดงหนาตางรายงานสถานะของขอมูลราสเตอรที่จะทําการประมวลผล 3. กําหนดประเภทฟอรแมทที่ตองการและขนาดของการจัดเก็บ ขอมูลของแตละพิกเซล Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 22. 22 รูปที่ 45 แสดงการกําหนดรายละเอียดสําหรับขอมูลผลลัพธ 3.6.2.3 ฟงกชนการ Resample Grids ั่ ฟงกชั่นการ Resample Grids เปนฟงกชนทีใชในการแปลงขนาด ั่ ่ พิกเซลของขอมูลของราสเตอร การทํางานจะมีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Raster>> Resample Grids 2. ทําการนําเขาขอมูลราสเตอรที่ตองการจะทําการแปลงรูปแบบ ขนาดพิกเซลของราสเตอร ไฟลราสเตอรที่จะทําการแปลงขนาดพิกเซล รูปที่ 46 แสดงหนาตางรายงานสถานะของขอมูลราสเตอรที่จะทําการประมวลผล 3. กําหนดขนาดของพิกเซลที่ตองการสําหรับภาพผลลัพธ แลว ทําการกําหนดรูปแบบการจัดเก็บขอมูล Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 23. 23 รูปที่ 47 แสดงการกําหนดรายละเอียดการจัดเก็บขอมูลของภาพผลลัพธ รูปที่ 48 แสดงภาพผลลัพธที่ไดจากการประมวลผล 3.6.2.4 ฟงกชน GeoReference Image or grid ั่ ฟงกชั่น Geo Reference Image and grid เปนฟงกชั่นทีใชในการ ่ กําหนดคาพิกดภูมิศาสตรอางอิงใหกับขอมูลภาพราสเตอร การทํางานจะมีขั้นตอนดังตอไปนี้ ั 1. ไปที่เมนู GIS Tools>>Raster>>GeoReference Image or grid 2. ทําการนําเขาขอมูลราสเตอรที่ตองการจะทําการกําหนดคา พิกัดภูมิศาสตร Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 24. 24 กดปุมคําสั่ง Load file เพื่อนําภาพเขามาทําการ Rectify รูปที่ 49 แสดงการนําเขาขอมูลภาพที่จะทําการตรึงคาพิกด ั 3. ทําการนําเขาขอมูลตําแหนงพิกัดอางอิงที่จะใชในการ กําหนดคาพิกดใหกับขอมูลภาพราสเตอร โดยในตัวอยางนี้จะทําการนําเขา point จากการเก็บคา ั พิกัดดวย GPS ดังภาพที่ 50 คาพิกัดภูมิศาสตรของตําแหนงควบคุมภาพที่ไดจากการวัดดวย GPS รูปที่ 50 แสดงการเตรียมขอมูลคาพิกัดภูมศาสตรที่จะใชในการ Rectify ขอมูลภาพ ิ Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 25. 25 4. ทําการกําหนดตําแหนงทีจะตรึงคาพิกด โดยใชเมาสคลิ๊กบน ่ ั ภาพดังภาพที่ 51 คาพิกัดภาพของตําแหนงบนภาพที่อานได ทําการ Click ที่จุดแรกเพื่ออานคาพิกัดภาพ รูปที่ 51 แสดงการกําหนดตําแหนงที่สนใจบนภาพเพื่ออานคาพิกัดภาพ 5. ทําการ Click ที่ตําแหนงเดียวกันบนแผนที่ที่ทราบคาพิกัด ภูมิศาสตรโลก โดยในตัวอยางนี้ใชคาพิกดจากการเก็บดวย GPS และนําเขามาแสดงในรูปแบบ ั point นําเมาสไป Click ที่จุดทราบคาพิกัดภูมิศาสตร เพื่อนําคานั้นมาใชในการคํานวณ รูปที่ 52 แสดงการกําหนดคาพิกัดภูมิศาสตรโลกจากแผนที่ Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา
  • 26. 26 6. ทําจนครบทั้งหมด 3 ตําแหนงทั้ง Point 1, Point2, Point3 แลว ทําการกดปุม Georeference เพื่อทําการคํานวณ คาพิกัดใหมทไดจากการคํานวณ โดยใชคาพิกัดที่ ี่  ทําการเก็บดวย GPS รูปที่ 53 แสดงภาพผลลัพธที่มีพิกัดภูมิศาตรหลังจากการประมวลผลเรียบรอยแลว 4. สรุป บทความฉบับนี้เนนไปที่การทํางานของฟงกชั่นหลักๆของโปรแกรม Map Window GIS เพื่อใหผูใชหลายทานไดทําความรูจักกับโปรแกรม Open Source ตัวนี้ ยังมีอีกหลายฟงกชั่นที่ผมยัง ไมไดกลาวถึงในบทความชุดนี้ รวมถึงความสามารถขั้นสูงของโปรแกรม Map Window GIS เชน การเปดชองทางใหโอกาสโปรแกรมเมอรเขียน script ดวยภาษา vb.net หรือ C# เพื่อสรางฟงกชั่น หรือ customizes โปรแกรมใหเฉพาะทางได และการวิเคราะหขั้นสูงดวยโมเดลตางๆเปนตน คิดวา ในอนาคตถาโอกาสอํานวยนาจะไดมีโอกาสกลาวถึงเรื่องนี้ตอไป ขอบคุณครับ... Map Window GIS 4.2.2 Manual ชัยภัทร เนื่องคํามา