SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
เกี่ยวกับโครงงาน
ชื่อโครงงาน
ไฟฟ้ามาจากไหน (where does electricity come from?)
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ผู้จัดทา 1.นางสาวอมิตา ปุยบัณฑิต
2. นางสาวอักษราภัค หิตะสิริ
คุณครูที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
ที่มาและความสาคัญ
ปัจจุบันไฟฟ้าเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดปัจจัยหนึ่งสาหรับการดารง
ชีวิตประจาวันของคนในชาติ ใช้ในการสื่อสาร การคมนาคม การให้
ความรู้ และไฟฟ้ายังเป็นตัวแปรสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ การเพิ่ม
ผลผลิตทั้งเกษตรภาครวมและอุตสาหกรรมที่ทันสมัย การกระจายรายได้
และสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันในด้านการผลิต และการขาย
สินค้า ซึ่งเป็นเป้าหมายสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ ดังนั้น การให้
ความรู้เรื่องการผลิตไฟฟ้ากับประชาชนซึ่งเป็นผู้บริโภคประโยชน์จาก
ไฟฟ้าโดยตรงจึงเป็นเรื่องสาคัญยิ่ง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับแหล่งที่มาของพลังงานไฟฟ้า
2. เพื่อเผยแพร่ความรู้แก่ผู้ที่สนใจ
3. เพื่อนาทักษะการเรียนรู้จากวิชาคอมพิวเตอร์มาบูรณาการ
ขอบเขตของโครงงาน
ศึกษาเกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้าในประเทศไทย และจัดทาสื่อการ
เรียนรู้ในรูปแบบ PowerPoint
หลักการและทฤษฎี
ที่มาของไฟฟ้ า
โรงไฟฟ้ าถ่านหินโรงไฟฟ้ าดีเซล
โรงไฟฟ้ า
กังหันก๊าซ
โรงไฟฟ้ าพลังน้า
โรงไฟฟ้ าพลัง
ความร้อนร่วม
หน้าหลัก1
โรงไฟฟ้ าในประเทศไทย
คลิปวิดิโอ
นโยบายพลังงาน
แหล่งอ้างอิง
รายชื่อผู้จัดทา
หน้าหลัก 2
ไฟฟ้ ามาจากไหน ?
แหล่งผลิตไฟฟ้ า
ไฟฟ้าไม่ใช่แหล่งพลังงาน แต่เป็นเพียงพลังงานแปรรูปที่
สะอาด และใช้ได้สะดวกรูปหนึ่งเท่านั้น สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงาน
อื่นๆได้ง่าย เช่น แสงสว่าง เสียง ความร้อน พลังงานกล เป็นต้น ทั้งยัง
สามารถส่งไปยังระยะทางไกลได้อย่างรวดเร็ว กล่าวคือไฟฟ้ามีความเร็ว
ใกล้เคียงกับแสง ในระยะทาง100 กิโลเมตร ใช้เวลา
เพียง 1 ใน 3,000 วินาที ดังนั้นจึงส่งไปถึงผู้ใช้งานได้ตลอดเวลา
สาหรับแหล่งพลังงานไฟฟ้าที่แท้จริง ก็คือ พลังที่นามาใช้ทาให้
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าหมุนตลอดเวลาหากเครื่องกาเนิดไฟฟ้าหยุดหมุน การ
ผลิตไฟฟ้าจะหยุดไปด้วย
หน้าหลัก 1
การผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทยที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1. ประเภทไม่ใช้เชื้อเพลิง
1.1 โรงไฟฟ้ าพลังน้าจากน้าในอ่างเก็บน้า หรือจากลาห้วยที่อยู่ในระดับสูงๆ
1.2 โรงไฟฟ้ าพลังงานธรรมชาติจากต้นพลังงานที่ไม่หมดสิ้น เช่น พลังงาน
แสงอาทิตย์ ลม ความร้อนใต้พิภพ
2. ประเภทใช้เชื้อเพลิง
2.1 โรงไฟฟ้ าพลังไอน้า ใช้ก๊าซธรรมชาติ ถ่านลิกไนต์ หรือน้ามันเตา เป็น
เชื้อเพลิงให้ความร้อนแก่น้าจนเดือดเป็นไอ น้า นาแรงดันจากไอน้ามาใช้ในการ
ผลิตไฟฟ้ า
2.2 โรงไฟฟ้ าพลังความร้อน ใช้ก๊าซธรรมชาติหรือน้ามันดีเซลมาสันดาป
ทาให้เกิดพลังงานกลต่อไป
หน้าหลัก 1
หลักการพื้นฐานของโรงไฟฟ้ า
ในการผลิตไฟฟ้ าจะใช้หลักการพื้นฐานคือการเปลี่ยนรูปของพลังงาน
รูปแบบอื่นๆ ให้เป็นพลังงาน ไฟฟ้ า เช่น การเปลี่ยนรูปของพลังงานกล
พลังงานศักย์ พลังงานจลน์ พลังงานเคมี พลังงานชีวเคมี เป็นต้น โดย
พลังงานไฟฟ้ าจะสามารถส่งผ่านไปยังที่ต่างๆ ได้ง่ายกว่าพลังงานรูปแบบ
อื่นๆ ตัวกลางที่ทาการเปลี่ยน พลังงานรูปแบบอื่นๆ ให้เป็นไฟฟ้ าก็คือขวด
ลวดทองแดงและสนามแม่เหล็ก โดยอาศัยการแปรสภาพ พลังงานใดๆเป็
นพลังงานจลน์ก่อนจะถูกแปรเป็นพลังงานไฟฟ้ าอีกครั้งหนึ่ง จากกฎของฟา
ราเดย์ (Faraday’s Law) ที่ว่าเมื่อหมุนขดลวดทองแดงตัด
สนามแม่เหล็ก จะทาให้เกิดความต่างศักย์ Voltage (V
generator) และเหนี่ยวนาให้เกิดกระแสไฟฟ้ าขึ้น ฉะนั้นพลังงานใดๆที่
สามารถหมุนขดลวดนี้ได้ก็สามารถ ถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้ าได้
หน้าหลัก 1
ด้วยเหตุนี้จะเห็นได้ว่าผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมจึงไม่ได้
ขึ้นกับหลักการพื้นฐานของ การผลิตไฟฟ้ า แต่ขึ้นอยู่กับการเลือกชนิดของ
พลังงานหรือแหล่งพลังงานที่จะนามาแปรรูปเป็นพลังงานไฟฟ้ า ยกตัวอย่าง
เช่น ถ้าใช้ลิกไนต์หรือน้ามันเตา (พลังงานเคมี) มาเป็นแหล่งพลังงานจลน์ ใน
ที่นี้คือการ ต้มน้าให้กลายเป็นไอเพื่อหมุนกังหันที่ต่ออยู่กับขดลวดทองแดง
จะก่อเกิดมลพิษได้สูงกว่าการใช้ ก๊าซธรรมชาติ และถ้าหากไม่ใช้เชื้อเพลิงใน
กระบวนการผลิตไฟฟ้ าเลย เช่นการใช้พลังน้า พลังลม หรือ แสงอาทิตย์ ซึ่ง
เป็นรูปแบบพลังงานศักย์ หรือพลังงานจลน์อาจเรียกได้อีกอย่างว่าพลังงาน
สะอาด มา เปลี่ยนเป็นพลังงานจลน์เพื่อหมุนขดลวดจะส่งผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมน้อยกว่าการผลิตแบบใช้เชื้อเพลิงมาก
หน้าหลัก 1
โรงไฟฟ้ าพลังความร้อน
เป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้พลังงานความร้อนจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงต้ม
น้า เพื่อสร้างไอน้าแรงดันสูงมาเป็นพลังงานขับเคลื่อนกังหัน และเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้า โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน ใช้เชื้อเพลิงได้หลายขนาด
เช่น ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน น้ามันเตาเหมาะสาหรับเดินเครื่องเป็น
โรงไฟฟ้าฐาน ที่ใช้เดินเครื่องผลิตไฟฟ้าตลอด 24 ชั่วโมง
หน้าหลัก 1
หน้าหลัก 1
โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่วม
เป็นโรงไฟฟ้าที่นาเอาเทคโนโลยีของโรงงานกังหันก๊าซ และเครื่อง
กังหันไอน้ามาทางานเป็นระบบร่วมกัน โดยการนาไอเสียจากโรงไฟฟ้า
กังหันก๊าซ ซึ่งมีความร้อนสูง ประมาณ 500 องศาเซลเซียสไปผ่านหม้อน้า
และถ่ายเทความร้อนให้กับน้า ทาให้น้าเดือดกลายเป็นไอ เพื่อขับกังหันไอ
น้าที่มีเพลาต่อตรงไปยังเครื่องกาเนิดไฟฟ้าต่อไป
โรงไฟฟ้าก๊าซในประเทศไทยส่วนใหญ่จะใช้โรงไฟฟ้าชนิดนี้ เพราะ
มีประสิทธิภาพที่ดีกว่า เช่น โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ โรงงานไฟฟ้าพระ
นครใต้โรงไฟฟ้าน้าพอง โรงไฟฟ้าราชบุรี โรงไฟฟ้าบางประกง
โรงไฟฟ้าจะนะ เป็นต้น
หน้าหลัก 1
โรงไฟฟ้ าพลังน้า
ใช้แรงดันของน้าจากเขื่อนและอ่างเก็บน้า โรงไฟฟ้าในยุคแรกๆ
ของประเทศไทยจะเป็นแบบโรงไฟฟ้าพลังน้า โดยกฟผ. จะเป็น
ผู้รับผิดชอบในการดูแลการปล่อยน้า ทั้งเพื่อผลิตไฟฟ้าและการ
ชลประทาน แต่ปัจจุบันการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่เพื่อผลิตไฟฟ้าได้ด้วย
นั้น จะมีข้อจากัดในด้านความเหมาะสมของภูมิประเทศ
หน้าหลัก 1
หน้าหลัก 1
โรงไฟฟ้ ากังหันก๊าซ
เป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้กังหันก๊าซเป็นเครื่องต้นกาลัง ซึ่งได้พลังงานจากการ
เผาไหม้ของส่วนผสมระหว่างก๊าซธรรมชาติ หรือน้ามันดีเซล กับความดันสูง
จากเครื่องดันอากาศในห้องเผาไหม้เกิดเป็นไอร้อนที่ความดันและอุณหภูมิ
สูง ไปขับดันใบกังหัน และเพลากังหันไปขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า เพื่อผลิต
พลังงานไฟฟ้า
เครื่องกังหันก๊าซ เป็นเครื่องยนต์สันดาปภายใน เปลี่ยนสภาพพลังงาน
เชื้อเพลิงเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยใช้น้ามันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง โดยทาการอัด
อากาศให้มีความดันสูง 8-10 เท่า และส่งอากาศเข้าไปในห้องเผาไหม้ทาให้
เกิดการขนาดตัว เกิดแรงดัน และอุณหภูมิสูง ส่งอากาศเข้าไปหมุนเครื่อง
กังหันก๊าซ เพลาของเครื่องกังหันก๊าซ จะต่อกับเพลาของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ทาให้เกิดการเหนี่ยวนา และได้กระแสไฟฟ้า
หน้าหลัก 1
หน้าหลัก 1
โรงไฟฟ้ าดีเซล
เป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนประเภทหนึ่ง ใช้น้ามันดีเซลเป็น
เชื้อเพลิง หลักการทางานคล้ายกับเครื่องยนต์ดีเซล ที่ถูกฉีดเข้าไปใน
กระบอกสูบของเครื่องยนต์ที่ถูกอัดอากาศ มีอุณหภูมิที่เรียกว่า “จังหวะ
อัด” ในขณะเดียวกัน น้ามันดีเซลที่ถูกฉีดเข้าไปจะทาให้การสันดาปกับ
อากาศที่มีความร้อนสูง เกิดการระเบิดดันลูกสูบเคลื่อนที่ลงไปเพลาข้อ
เหวี่ยง ซึ่งต่อกับเพลาของเครื่องยนต์ที่ต่อกับเพลาของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
เกิดการเหนี่ยวนาด้วยกระแสไฟฟ้า
หน้าหลัก 1
หน้าหลัก 1
โรงไฟฟ้ าถ่านหิน
วัตถุดิบหลักของการผลิตไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าถ่านหินก็คือถ่านหิน
ถ่านหิน หรือ Coal คือเชื้อเพลิง ฟอสซิลซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
จากการแปลสภาพทางเคมีและกายภาพของซากพืชที่ถูกพัดพามา
ตกตะกอนทับถมกันในหนองน้าที่มีสภาพเหมาะสม
หน้าหลัก 1
ถ่านหินที่เกิดขึ้นสามารถจาแนกได้ออกเป็น4 ประเภท ประกอบไป ด้วย
ลิกไนต์(lignite) จัดเป็นถ่านหินที่มีคุณภาพต่าสุด เมื่อเปรียบเทียบกับถ่าน
หินประเภท อื่นๆ ให้พลังงาน 4-8 BTU/lb มีสีน้าตาลผิวด้าน มีซากพืช
หลงเหลืออยู่เล็กน้อย มีคาร์บอนร้อยละ 60-75 มีออกซิเจนค่อนข้างสูง มี
ความชื้นสูงถึงร้อยละ 30-70 เมื่อติดไฟ มีควันและเถ้าถ่านมาก เป็นถ่านหินที่
ใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับผลิตกระแสไฟฟ้าได้17
ซับบิทูมินัส (subbituminous) ให้พลังงาน 8-13 BTU/lb เป็นถ่าน
หินที่ใช้เวลาในการเกิด นานกว่าลิกไนต์มีสีน้าตาลถึงสีด า ผิวมีทั้งด้านและ
เป็นมัน (รูปที่ 6c) มีทั่งเนื้ออ่อนและ เนื้อแข็ง มีความชื้นประมาณร้อยละ 25-
30 มีคาร์บอนสูงกว่าลิกไนต์เป็นเชื้อเพลิงที่มี คุณภาพเหมาะสมในการผลิต
กระแสไฟฟ้าและงานอุตสาหกรรม
หน้าหลัก 1
บิทูมินัส (bituminous) ให้พลังงาน 11-15 BTU/lb เป็นถ่าน
หินที่ใช้เวลาในการเกิดนาน กว่าซับบิทูมินัส เนื้อแน่น แข็ง มีสีน้าตาลถึงสีดา
สนิท ประกอบด้วยชั้นถ่านหินสี ดามันวาว ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อการถลุงโลหะ
และเป็นวัตถุดิบเพื่อเปลี่ยนเป็นเชื้อเพลิงอื่นๆ
แอนทราไซต์(anthracite) เป็นถ่านหินที่ใช้เวลาในการเกิดนาน
ที่สุด และเกิดในที่ลึกๆ และอุณหภูมิสูงกว่าการเกิดถ่านหินประเภทอื่นๆ มี
ลักษณะดาเป็นเงา มันวาวมาก มี ปริมาณคาร์บอนประมาณร้อยละ 90-98
ความชื้นต่าประมาณร้อยละ 2-5 มีค่าความร้อน สูงแต่ติดไฟยาก เมื่อติดไฟ
ให้เปลวไฟสีน้าเงิน ไม่มีควัน เหมาะกับการใช้เป็นเชื้อเพลิงใน อุตสาหกรรม
ต่างๆ และเป็นเชื้อเพลิงชั้นดีในการผลิตไฟฟ้ า แต่หายากและราคาแพง
หน้าหลัก 1
หน้าหลัก 1
ผลกระทบจากโรงไฟฟ้ าถ่านหิน
ผลผลิตที่ได้จากโรงไฟฟ้าถ่านหิน คือกระแสไฟฟ้า ที่จะถูกส่งเข้าสู่
ระบบและจ่ายไปตามบ้านเรือน ที่อยู่อาศัย โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น หาก
ในกระบวนการผลิตไฟฟ้ามีการระบายมลพิษออกมาหลาย ชนิด ซึ่งต้องมี
ระบบการเฝ้าระวังและควบคุมการปล่อยสู่ธรรมชาติอย่างเข้มงวด เนื่องด้วย
ถ่านหิน มี องค์ประกอบของแร่ธาตุทั้งที่ไม่เป็นอันตราย เช่น คาร์บอน
ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน และ องค์ประกอบรองอย่างกามะถัน ข้อมูล
จากสถาบันวิศวกรรมศาสตร์ และชีวเวชศาสตร์ ประเทศ สหรัฐอเมริกา แสดง
ให้เห็นว่า สารที่ระบายในอากาศที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ณ
แหล่งกานิดมากที่สุด คือ กลุ่มของกรดไฮโดรคลอริก ปรอท และสารหนู
นอกจากนี้ยังมีก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ไนโตรเจนไดออกไซด์ และฝุ่น เป็น
ต้น
หน้าหลัก 1
หน้าหลัก 1
หน้าหลัก 1
หน้าหลัก 2
โรงไฟฟ้ าแม่เมาะ
โรงไฟฟ้ าแม่เมาะเป็นแหล่งผลิตพลังงานไฟฟ้ าขนาดใหญ่ในภาคเหนือ เป็นสื่อกลางในการ
นา ความเจริญรุ่งเรื่องมาสู้ท้องถิ่นของชนในภาคเหนือ และพลังงานไฟฟ้ าส่วนที่เหลือยังสามารถ
ส่งไปหล่อเลี้ยง จุดศูนย์กลางที่หนาแน่นไปด้วยอุตสาหกรรม ธุรกิจ การค้า และที่อยู่อาศัย ที่มี
ความต้องการใช้ไฟฟ้ าในปริมาณมากเป็นลาดับของประเทศ รวมทั้งส่งพลังงาน ไฟฟ้ าไปยังภาค
ตะวันออกเฉียงเหนืออีกด้วยการที่แม่เมาะมีโรงไฟฟ้ าถึง 13 เครื่อง เนื่องจากแม่เมาะอุดม สมบูรณ์
ไปด้วยแหล่งเชื้อเพลิงลิกไนต์ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่สาคัญยิ่งของประเทศ หากไม่นามาพัฒนา
และใช้ ประโยชน์ในยามที่ประเทศต้องการพลังงานไฟฟ้ า ก็จะเป็นการสูญเสียโอกาสและ
หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่ต้องนาเข้า น้ามันเชื้อเพลิงจากต่างประเทศ ซึ่งมีราคาแพงและไม่แน่นอน ทั้งยัง
ทาให้ต้นทุนในการผลิตกระแสไฟฟ้ าเพิ่ม สูงขึ้น ส่งผลกระทบแก่ผู้ใช้ไฟฟ้ าโดยรวมควบคู่ไปกับการ
ดาเนินงานผลิตไฟฟ้ า กฟผ. ได้เฝ้ าระมัดระวัง ตรวจสอบคุณภาพอากาศ น้า และดิน ที่มี
ผลกระทบโดยตรงต่อการดารงชีวิตของชุมชน สัตว์เลี้ยงและพืชต่างๆ อันเกิดจากการดาเนินงาน
ขยายเหมือง การลาเลียงถ่านลิกไนต์เข้าสู่โรงไฟฟ้ า และการเดินเครื่องโรงไฟฟ้ าอย่าง สม่าเสมอ
เพื่อให้แม่เมาะเป็นเมืองที่น่าอยู่ ปราศจากมลภาวะ สามารถอานวยประโยชน์ด้าน พลังงานไฟฟ้ า
สร้างความเจริญให้แก่ท้องถิ่น ทั้งจังหวัดลาปางและหลายจังหวัดในประเทศอีกด้วย
หน้าหลัก 2
สถานที่ตั้ง
โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ตั้งอยู่ที่ ตาบลแม่เมาะ อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง ห่าง
จากตัวเมืองลาปาง เป็น ระยะทางประมาณ 26 กิโลเมตร
ลักษณะโรงไฟฟ้ า
เนื่องจากแหล่งแม่เมาะอุดมไปด้วยเชื้อเพลิงลิกไนต์จานวนมหาศาล ซึ่ง
สามารถนามาผลิตกระแสไฟฟ้า ได้อย่างมั่นคง ในปี พ.ศ.2515 รัฐบาลอนุมัติ
โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าแม่เมาะในระยะเริ่มแรกจานวน ๒ เครื่อง กาลังผลิต
เครื่องละ 75 เมกะวัตต์งานขยายเหมืองแม่เมาะก็เพิ่มปริมาณจากที่เคยผลิตได้ปีละ
แสนกว่า ตันเป็นล้านๆ ตัน และหลังจากนั้นเมื่อความต้องการใช้ไฟฟ้าของประเทศ
ไทยเพิ่มสูงขึ้นการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) ได้ทยอยก่อสร้าง
โรงไฟฟ้าเพิ่มเติมขึ้นเป็นลาดับ จนถึงปัจจุบันโรงไฟฟ้าแม่เมาะมีโรงไฟฟ้า ทั้งหมด
รวม 13 เครื่อง กาลังผลิตรวมทั้งสิ้น 2,625 เมกะวัตต์ผลิตพลังงานไฟฟ้าได้
ประมาณ 15,450 ล้าน หน่วยต่อปี
หน้าหลัก 2
ระบบส่งไฟฟ้ า
ในบริเวณโรงไฟฟ้ าแม่เมาะประกอบด้วยลานไกไฟฟ้ า 3 แห่ง
เพื่อรองรับพลังไฟฟ้ า จากโรงไฟฟ้ าแล้วส่งผ่านสายส่งไฟฟ้ าไปยัง
จังหวัดต่างๆ ด้วยแรงดันไฟฟ้ าหลายระดับ คือ 115,230 และ 500
กิโลโวลต์ โดยเชื่อมโยงกับระบบส่งไฟฟ้ าทั้งภาคเหนือตอนบนและ
ตอนล่าง ภาคกลาง และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ
หน้าหลัก 2
โรงไฟฟ้ าบางปะกง
ความเป็นมา
โรงไฟฟ้ าบางปะกง เป็นโรงไฟฟ้ าแห่งแรกของประเทศไทยที่ใช้ก๊าซ
ธรรมชาติจากอ่าวไทยเป็นเชื้อเพลิง ในการผลิตกระแสไฟฟ้ าเพื่อสนอง
นโยบายของรัฐที่ต้องการพัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติภายในประเทศให้
เกิดประโยชน์สูงสุด
สถานที่ตั้ง
โรงไฟฟ้ าบางปะกงตั้งอยู่บนเนื้อที่ 1,134 ไร่ บริเวณฝั่งซ้ายของแม่น้า
บางปะกง เลขที่ 4 หมู่ 6 ตาบล ท่าข้าม อาเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
โดยอยู่ห่างจากปากแม่น้าบางปะกงขึ้นมาตามลาน้าประมาณ 11 กิโลเมตร
หรือห่างจากสะพานเทพหัสดินทร์ไปทางเหนือประมาณ 2.5 กิโลเมตร
หน้าหลัก 2
การใช้เชื้อเพลิง
โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนบางปะกงสามารถใช้ก๊าซธรรมชาติและ
น้ามันเตาเป็นเชื้อเพลิงในการผลิต กระแสไฟฟ้ า ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ ก๊าซ
ธรรมชาติจากแหล่งอ่าวไทยเป็นเชื้อเพลิงหลัก โดยขนส่งทางท่อก๊าซของ
บริษัทปตท. จากัด (มหาชน) ส่วนโรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่วมบางปะกง
จะใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลัก และน้ามันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง
สารองในกรณีฉุกเฉิน โดยซื้อจากคลังน้ามันศรีราชา จังหวัดชลบุรี หรือ
คลัง น้ามัน จังหวัด ระยอง ของ บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน)
หน้าหลัก 2
โรงไฟฟ้ าบางปะกง หน้าหลัก 2
โรงไฟฟ้ าพระนครเหนือ ชุดที่ 1.
โครงการโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 1 ได้รับอนุมัติจาก
คณะรัฐมนตรีให้ กฟผ. ดาการก่อสร้าง เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2549 โดยจะใช้
ระยะเวลาในการก่อสร้างทั้งสิ้นประมาณ 36 เดือน ซึ่งสามารถจ่ายไฟฟ้าเข้า
ระบบได้ในเดือนมีนาคม 2553
โครงการโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 1 ตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่
โรงไฟฟ้าพระนครเหนือเดิม ซึ่งหมดอายุ และรื้อถอนออกไปริมแม่น้า
เจ้าพระยา ตาบลบางกรวย อาเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี มีพื้นที่ประมาณ
125 ไร่ แบ่งเป็นพื้นที่โรงไฟฟ้า 70 ไร่ และพื้นที่สีเขียว 55 ไร่ เป็นโรงไฟฟ้า
พลังความร้อน จานวน 1 ชุด ขนาด กาลังผลิตติดตั้ง 704 เมกะวัตต์
ประกอบด้วยเครื่องผลิตไฟฟ้ากังหันแก๊ส จานวน 2 เครื่อง ขนาดกาลังผลิต
เครื่องละ 221 เมกะวัตต์และเครื่องผลิตไฟฟ้ากังหันไอน้า จานวน 1 เครื่อง
ขนาดกาลังผลิต 262 เมกะวัตต์ หน้าหลัก 2
โรงไฟฟ้ าพระนครเหนือ ชุดที่ 1. หน้าหลัก 2
โรงไฟฟ้ ากระบี่
โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนกระบี่ ออกแบบให้ใช้เชื้อเพลิงได้ทั้งน้ํามันเตาและก๊าซธรรมชาติ
ประกอบด้วยเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า กาลังผลิตติดตั้ง 315 เมกะวัตต์ จานวน 1 เครื่อง ภายในติดตั้ง
อุปกรณ์ ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ไว้ครบถ้วน หากเกิดเหตุขัดข้องที่จุดหนึ่งจุดใด
ภายในโรงไฟฟ้ า จะมี สัญญาณแจ้งเหตุและบอกวิธีแก้ไขในสาเหตุนั้นๆ ได้ทันที (Expert
System)และเพื่อเป็นการลดผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่พ.ศ. 2555 เป็นต้นมา
โรงไฟฟ้ ากระบี่ใช้น้ํามันเตาที่มีกามะถันไม่เกินร้อยละ 0.5 ในปี พ.ศ. 2557 ได้มีการปรับระบบเผา
ไหม้ใหัใช้น้ํามันปาล์มดิบ (Crude Palm Oil - CPO) เป็น เชี้อเพลิงพร้อมกับน้ํามันเตาใน
สัดส่วนร้อยละ 10 โดยรัฐบาลมีนโยบายให้ กฟผ. รับซื้อน้ํามันปาล์มดิบใน ราคา 25 บาทต่อ
กิโลกรัม เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรในกรณีที่น้ํามันปาล์มดิบในประเทศมีราคาต่า การปรับปรุง
ดังกล่าวทาให้โรงไฟฟ้ ากระบี่เป็นโรงไฟฟ้ าแห่งแรกที่ใช้เชี้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel) ร่วมกับ
น้ํามันเตา เป็นการสนับสนุนการใช้พลังงานหมุนเวียนอีกรูปแบบหนึ่ง เปรียบเสมือนมีโรงไฟฟ้ า
เชี้อ เพลิง น้ํามันปาล์มดิบขนาด 34 เมกะวัตต์ อยู่คู่กับโรงไฟฟ่ากระบี่ สาหรับแผนพัฒนากาลัง
ผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย PDP 2010 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 กาหนดให้ กฟผ. ดาเนินการ
ก่อสร้างโครงการโรงไฟฟ้ าถ่านหิน จังหวัดกระบี่ ขนาดกาลังผลิต 870 เมกะวัตต์ เพื่อเพิ่ม
ศักยภาพกาลังผลิตไฟฟ้ าภาคใต้ฝั่งตะวันตก โดยใช้ถ่านหินบิทูมินัสที่นาเข้าจากอินโดนีเซีย คาด
ว่าจะสามารถ จ่ายไฟ้ าเชิงพาณิชย์ได้ในปี 2562
หน้าหลัก 2
โรงไฟฟ้ ากระบี่ หน้าหลัก 2
โรงไฟฟ้ าน้าพอง
โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่วมน้าพอง ปัจจุบันเป็นโรงไฟฟ้ าขนาดใหญ่ที่สุดของ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ช่วยเพิ่มกาลังผลิตให้แก่ภูมิภาคนี้ได้อีกถึง 710,000
กิโลวัตต์และสามารถผลิตพลังงานไฟฟ้ าปีละ 4,660 ล้าน กิโลวัตต์ชั่วโมง นอกจากนี้
ยังเป็นโรงไฟฟ้ าแห่งเดียวในภูมิภาคนี้ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในการผลิต
ไฟฟ้ า
กฟผ. ได้พิจารณาสถานที่ที่เหมาะสม สาหรับก่อสร้างโรงไฟฟ้ าพลังความร้อน
ร่วมที่ใช้ก๊าซธรรมชาติ จากแหล่งผลิตน้าพองเป็นเชื้อเพลิง โดยเปรียบเทียบความ
เหมาะสมด้านระบบส่งไฟฟ้ า ระบบเชื้อเพลิง ระบบ ส่งน้า การคมนาคม และ
ผลกระทบสิ่งแวดล้อม กฟผ. จึงเลือกบริเวณใกล้กับสถานีไฟฟ้ าแรงสูงน้าพองห่าง
ออกไปทางทิศตะวันตกประมาณ 5 กิโลเมตร เป็นสถานที่ก่อสร้างโรงไฟฟ้ าพลังความ
ร้อนร่วมน้าพองมีพื้นที่ ทั้งหมด 631 ไร่และอยู่ระหว่างเส้นทางเข้าเขื่อนอุบลรัตน์โดย
ห่างจากเขื่อน 18 กิโลเมตร และห่างจากแหล่ง ก๊าซธรรมชาติหลุมน้าพอง 3 กิโลเมตร
หน้าหลัก 2
โรงไฟฟ้ าน้าพอง
หน้าหลัก 2
โรงไฟฟ้ าจะนะ
กฟผ. เล็งเห็นว่า จังหวัดสงขลาเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจการลงทุน
ที่หลากหลายและยังเป็นจังหวัดที่มีความต้องการไฟฟ้ าใช้สูงที่สุดใน
ภาคใต้ จึงได้เสนอการสร้างโรงไฟฟ้ าจะนะเข้าไปใน แผนพัฒนากาลัง
ผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย 2547- 2558
โรงไฟฟ้ าจะนะเป็นโรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่วม มีกาลังผลิต 1,476
เมกะวัตต์ สามารถผลิตไฟฟ้ า ได้ 7,035 ล้านหน่วย/ปี สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนิน ไปทรงเปิด
โรงไฟฟ้ าจะนะ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2558
หน้าหลัก 2
โรงไฟฟ้ าจะนะ หน้าหลัก 2
โรงไฟฟ้ าพระนครใต้
โรงไฟฟ้ าพระนครใต้ ตั้งอยู่ที่ตาบลบางโปรง อาเภอเมือง จังหวัด
สมุทรปราการ ห่างจากถนนสุขุมวิท ไปทางทิศตะวันตก 7 กิโลเมตร บนพื้นที่
216 ไร่ ตัวโรงไฟฟ้ าด่านหน้าติดแม่น้ําเจ้าพระยา ทาให้สะดวกต่อ การ
คมนาคมขนส่งอุปกรณ์ในการก่อสร้างโรงไฟฟ้ า
โรงไฟฟ้ าพระนครใต้ได้รับการอนุมัติโครงการฯเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม
2510 และเริ่มงานก่อสร้างใน ปลายปี พ.ศ. 2511 เป็นโรงไฟฟ้ าประเภทพลัง
ความร้อน ใช้น้ํามันเตาเป็นเชื้อเพลิง ประกอบด้วยเครื่อง กาเนิดไฟฟ้ า 5
เครื่อง รวมกาลังผลิตทั้งสิ้น 1,330 เมกะวัตต์ สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้ าได้
ปีละ 9,320 ล้าน กิโลวัตต์ชั่วโมง
หน้าหลัก 2
โรงไฟฟ้ าสุราษฏร์ธานี
โรงไฟฟ้ าสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกันกับที่ตั้งโรงไฟฟ้ าสุ
ราษฎร์ธานีเดิม ในท้องที่ ตาบลเขาหัวควาย อาเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์
ธานีบนพื้นที่รวม 115 ไร่ ห่างจากตัวจังหวัดไปตามเส้นทาง หลวงหมายเลข
401 เป็นระยะทางประมาณ 21 กิโลเมตร
กฟผ. ได้ก่อสร้างโรงไฟฟ้ าสุราษฎร์ธานีขึ้นใหม่ เพื่อทดแทน โรงไฟฟ้ า
เดิม ซึ่งหมดอายุการใช้งานและได้ปลดออกจากระบบไปเมื่อเดือนธันวาคม
พ.ศ. 2542 โรงไฟฟ้ าแห่ง ใหม่นี้เป็นโรงไฟฟ้ าประเภทกังหันก๊าซ
ประกอบด้วยเครื่องกาเนิดไฟฟ้ ากังหันก๊าซ จานวน 2 เครื่อง ขนาดกาลัง
ผลิตเครื่องละ 122 เมกะวัตต์รวมกาลังผลิตไฟฟ้ า 244 เมกะวัตต์ซึ่งเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้ าทั้ง 2 เครื่อง ได้รื้อย้าย มาจากโรงไฟฟ้ ากังหันก๊าซ ไทรน้อย
อาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรีกฟผ. เริ่มงานก่อสร้างตัวโรงไฟฟ้ าเมื่อ วันที่
27 ตุลาคม พ.ศ. 2542
หน้าหลัก 2
โรงไฟฟ้ าวังน้อย
โรงไฟฟ้ าวังน้อยเป็นโรงไฟฟ้ าพลังงานความร้อนร่วม ลักษณะการ
ทางานจะนาเอาเครื่องกันหันก๊าซ และเครื่องกังหันไอน้ามาใช้ร่วมกัน
เชื้อเพลิงจะถูกส่งเข้าไปยังห้องเผาไหม้ โดยมีอากาศที่ถูกอัดด้วยความดันสูง
จากเครื่องอัดอากาศถูกอัดเข้ามาในห้องเผาไหม้ จากนั้นก๊าซจะได้รับความ
ร้อนจากห้องเผาไหม้เกิดการขยายตัวของก๊าซร้อน,ความดัน,อุณหภูมิ เเล้ว
ก๊าซร้อนจะถูกส่งเข้าไปขับดันกังหันก๊าซ ขับเคลื่อนและฉุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า
ที่ต่ออยู่บนเพลาเดียวกัน ส่วนก๊าซร้อนที่ขับดันกังหันก๊าซจะถูกส่งออกไปยัง
ห้องเผาไหม้อีกครั้งหนึ่งและนาความร้อนนี้ไปต้มน้าที่หม้อน้า น้าที่ถูกต้มจะ
กลายเป็นไอความดันสูงไปขับกังหันไอน้าเพื่อขับเคลื่อนเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า
ส่วนไอน้าที่ขับดันกังหันไอน้าแล้วส่วนที่ยังคงมีความดันสูงอยู่จะไหลผ่าน
วาล์วความดันได้ไอน้าส่วนนี้ก็จะขับดันกังหันอีกครั้งหนึ่ง ส่วนไอน้าความดัน
ลดลงก็จะถูกส่งเข้าไปยังเครื่องควบแน่นซึ่งจะระบายความร้อนของไอน้าด้วย
น้า ไอน้าจะถูกควบแน่นเป็นน้าเเละปั๊มจะส่งไปยังถังพักน้า เพื่อส่งไปต้ม
ต่อไปยังหม้อต้มน้า หน้าหลัก 2
โรงไฟฟ้ าพลังน้าลาตะคอง
การไฟฟ้ าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ( กฟผ. ) ได้วางแผนก่อสร้างโรงไฟฟ้ าพลัง
น้าลาตะคอง แบบสูบกลับบริเวณฝั่งขวาของอ่างเก็บน้าลาตะคองซึ่งอยู่ห่างจากตัว
เขื่อนเดิมประมาณ 5 กิโลเมตร โดยการสูบน้าจากอ่างเก็บน้าลาตะคอง (อ่างล่าง)จาก
เขื่อนลาตะคอง ซึ่งอยู่ในความดูแลของกรมชลประทาน สูบขึ้นไปเก็บไว้ชั่วคราวที่อ่าง
เก็บน้าที่ก่อสร้างใหม่บนภูเขา(อ่างบน) แล้วปล่อยน้ากลับมาในอ่างล่าง ผ่านกังหันน้า
เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ า กฟผ. ได้ปรึกษาหารือกับ กรมชลประทานเพื่อพิจารณาวิธีการ
หลักเกณฑ์ในการสูบน้าจากอ่างเก็บน้าลาตะคองและปล่อยกลับมาเพื่อผลิต
กระแสไฟฟ้ าให้เหมาะสมกับสภาพน้าในอ่างเก็บน้าลาตะคองในปัจจุบัน และอนาคต
เพื่อให้การใช้น้าจากอ่างเก็บน้าลาตะคองเกิดประโยชน์สูงสุด แก่ทุก ๆ ฝ่ายโครงการลา
ตะคองแบบสูบกลับ เป็นโครงการผลิตกระแสไฟฟ้ าด้วยน้า ตัวโครงการตั้งอยู่บริเวณ
เส้นแบ่งเขตระหว่าง อาเภอปากช่อง และ อาเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ห่างจาก
อาเภอเมืองสระบุรีและอาเภอเมืองนครราชสีมา เป็นระยะทาง 82 กิโลเมตรและ 70
กิโลเมตร ตามลาดับ ในการศึกษาความเหมาะสมของโครงการนี้
หน้าหลัก 2
การไฟฟ้ าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ( กฟผ. ) ได้รับการสนับสนุนจาก
รัฐบาลญี่ปุ่น ( Japan International Cooperation Agency.
JICA ) โดยได้ทาการศึกษาความเหมาะสมด้านวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์ และ
สิ่งแวดล้อมเบื้องต้น แล้วเสร็จในปี 2534การดาเนินโครงการนี้ได้กาหนดให้
ระยะแรกโรงไฟฟ้ าติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าขนาด 250 เมกะวัตต์ จานวน 2
เครื่อง รวมกาลังผลิต 500 เมกะวัตต์ ระยะที่สองติดตั้งเพิ่มอีกเท่ากับกาลังผลิต
รวมในระแรก ซึ่งเมื่อรวมกาลังผลิตทั้งโครงการแล้วจะได้กาลังผลิตทั้งหมด
1,000 เมกะวัตต์วัตถุประสงค์ของโครงการลาตะคอง แบบสูบกลับคือ เพื่อผลิต
กระแสไฟฟ้ าเสริมการใช้พลังงานไฟฟ้ าในช่วงเวลาที่มีความต้องการไฟฟ้ าสูง
และช่วยลดเงินลงทุนในการเพิ่มกาลังผลิตของระบบไฟฟ้ าเนื่องจากระบบนี้มีค่า
ลงทุนต่อหน่วยของกาลังผลิตต่ากว่าระบบทั่วไป
หน้าหลัก 2
หน้าหลัก 2
นโยบายพลังงาน
แผนพัฒนากาลังการผลิตไฟฟ้ า (Power Development
Plan หรือ พีดีพี) ของประเทศไทยเป็นแผนที่จัดทาขึ้นเป็นประจาโดย
การไฟฟ้ าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แผนดังกล่าวเป็นแผน
แม่บทสาหรับ การลงทุนพัฒนากาลังการผลิตไฟฟ้ าในประเทศ โดย
กาหนดว่าจะมีการสร้างโรงไฟฟ้ าแบบใดขึ้นบ้างเป็นจานวนเท่าไร ที่ไหน
และเมื่อไร แผนพีดีพีไม่เพียงแต่กาหนดอนาคตของภาคพลังงาน ภูมิ
ทัศน์ ทางสังคม และสิ่งแวดล้อมของประเทศเท่านั้น หากยังส่งผลต่อ
ประเทศเพื่อนบ้านต่างๆ อีกด้วย
หน้าหลัก 2
แผนพัฒนากาลังการผลิตไฟฟ้ าฉบับทางการ สะท้อนให้เห็นถึง
กระบวนการวางแผนที่เป็นปัญหา ถึงขั้นวิกฤต การเลือกที่จะสร้าง
โรงไฟฟ้ าเป็นจานวนมากก่อให้เกิดมลพิษ มีต้นทุนและความเสี่ยงสูง ขัด
กับ นโยบายด้านการพลังงานของประเทศไทย และสร้างผลกระทบให้
เกิดต่อชุมชน และชาวบ้านเป็นจานวน มาก ไม่ว่าจะเป็น ผลกระทบ
ด้านร่างกาย ผลกระทบด้านสังคม ความขัดแย้งภายในชุมชน การลงทุน
ใน โครงการผลิตไฟฟ้ าพลังน้าในประเทศเพื่อนบ้าน ก่อให้เกิดการ
ละเมิดสิทธิมนุษยชน ท าลายวิถีชีวิตชุมชน ริมน้า น้าท่วมพื้นที่อนุรักษ์
พื้นที่ป่าไม้ที่มีคุณค่า และทาลายระบบนิเวศของแม่น้า
หน้าหลัก 2
จากการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ า และมีการกาหนด
แผนพัฒนาการผลิตไฟฟ้ า ที่มีความ ต้องการไฟฟ้ าเพิ่มขึ้น และมีความ
จาเป็นต้องก่อสร้างโรงไฟฟ้ าใหม่เพิ่มมากขึ้น รวมถึงต้องซื้อไฟฟ้ าจาก
ต่างประเทศมาใช้นั้น เป็นข้อสงสัยของคนในสังคมว่าผู้ที่ใช้ไฟฟ้ า
จานวนมากนั้นเป็นกลุ่มไหน โดยมีผู้ที่ได้ ศึกษาการใช้ไฟฟ้ าเปรียบเทียบ
เป็นตัวอย่างตั้งต้นว่าแนวทางการพยากรณ์หรือการกาหนดแผนนั้น ต้อง
4 ทบทวนและคานึง ถึงความมั่นคงของพลังงานและผลกระทบต่อ
ประชาชนและสิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้นใน การกาหนดแผนหรือไม่ โดย
ข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้ าในปี 25491 พบว่าภาคครัวเรือนใช้ไฟฟ้ า
27,005 ล้านหน่วย เพิ่มขึ้น 4,893 ล้านหน่วยในช่วง 5 ปีส่วนภาคธุรกิจ
ใช้ไฟฟ้ า 40,535 ล้านหน่วย เพิ่มขึ้น 8,894 ล้านหน่วยในช่วง 5 ปี
หน้าหลัก 2
คลิปวิดิโอ
ไฟฟ้ ามาจากไหน?
หน้าหลัก 2
แหล่งอ้างอิง
•http://www.sukhothaitc.ac.th/sutee/Artical/EP1.htm
•http://www.sukhothaitc.ac.th/sutee/Artical/EP1.htm
•http://www.egat.co.th/index.php?option=com_content
&view=article&id=80&Itemid=116
• http://www.thia.in.th/uploads/file/HIA..
•http://www.egat.co.th/index.php?option=com_content
&view=article&id=92&Itemid=117
หน้าหลัก 2
รายชื่อผู้จัดทา
นางสาวอมิตา ปุยบัณฑิต เลขที่ 6
นางสาวอักษราภัคหิตะสิริ เลขที่ 8
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2
หน้าหลัก 2

More Related Content

What's hot

9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
guest9e1b8
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
guest6eaa7e
 
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
Chantana Papattha
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติ
mou38
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย
Nitinop Tongwassanasong
 

What's hot (20)

9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
สับเซตและพาวเวอร์เซต
สับเซตและพาวเวอร์เซตสับเซตและพาวเวอร์เซต
สับเซตและพาวเวอร์เซต
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
 
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทยขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 รายก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
 
03 โครงสร้างและผังงานโปรแกรม
03 โครงสร้างและผังงานโปรแกรม03 โครงสร้างและผังงานโปรแกรม
03 โครงสร้างและผังงานโปรแกรม
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
สถิติ เบื้องต้น 2
สถิติ เบื้องต้น 2สถิติ เบื้องต้น 2
สถิติ เบื้องต้น 2
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
Fluid
FluidFluid
Fluid
 
บทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติบทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติ
 
4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติ
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย
 

Similar to ไฟฟ้ามาจากไหน 2

ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
Chanukid Chaisri
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
Chanukid Chaisri
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
Chanukid Chaisri
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้า
Chanukid Chaisri
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
Chanukid Chaisri
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
Chanukid Chaisri
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้า
Chanukid Chaisri
 
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
Chanukid Chaisri
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้า
Chanukid Chaisri
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้า
Chanukid Chaisri
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
anantragool1735
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
anantragool1735
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
anantragool1735
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
Keatisak TAtanarua
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
Powergift_vip
 

Similar to ไฟฟ้ามาจากไหน 2 (20)

ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้า
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้า
 
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ามาจากไหน
ไฟฟ้ามาจากไหนไฟฟ้ามาจากไหน
ไฟฟ้ามาจากไหน
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้า
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้า
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
 
บทที่ 15 พลังงานกับชีวิต
บทที่ 15  พลังงานกับชีวิตบทที่ 15  พลังงานกับชีวิต
บทที่ 15 พลังงานกับชีวิต
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
 

ไฟฟ้ามาจากไหน 2

  • 1.
  • 2. เกี่ยวกับโครงงาน ชื่อโครงงาน ไฟฟ้ามาจากไหน (where does electricity come from?) ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ผู้จัดทา 1.นางสาวอมิตา ปุยบัณฑิต 2. นางสาวอักษราภัค หิตะสิริ คุณครูที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
  • 3. ที่มาและความสาคัญ ปัจจุบันไฟฟ้าเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดปัจจัยหนึ่งสาหรับการดารง ชีวิตประจาวันของคนในชาติ ใช้ในการสื่อสาร การคมนาคม การให้ ความรู้ และไฟฟ้ายังเป็นตัวแปรสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ การเพิ่ม ผลผลิตทั้งเกษตรภาครวมและอุตสาหกรรมที่ทันสมัย การกระจายรายได้ และสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันในด้านการผลิต และการขาย สินค้า ซึ่งเป็นเป้าหมายสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ ดังนั้น การให้ ความรู้เรื่องการผลิตไฟฟ้ากับประชาชนซึ่งเป็นผู้บริโภคประโยชน์จาก ไฟฟ้าโดยตรงจึงเป็นเรื่องสาคัญยิ่ง
  • 4. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับแหล่งที่มาของพลังงานไฟฟ้า 2. เพื่อเผยแพร่ความรู้แก่ผู้ที่สนใจ 3. เพื่อนาทักษะการเรียนรู้จากวิชาคอมพิวเตอร์มาบูรณาการ ขอบเขตของโครงงาน ศึกษาเกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้าในประเทศไทย และจัดทาสื่อการ เรียนรู้ในรูปแบบ PowerPoint
  • 6. ที่มาของไฟฟ้ า โรงไฟฟ้ าถ่านหินโรงไฟฟ้ าดีเซล โรงไฟฟ้ า กังหันก๊าซ โรงไฟฟ้ าพลังน้า โรงไฟฟ้ าพลัง ความร้อนร่วม หน้าหลัก1
  • 8. ไฟฟ้ ามาจากไหน ? แหล่งผลิตไฟฟ้ า ไฟฟ้าไม่ใช่แหล่งพลังงาน แต่เป็นเพียงพลังงานแปรรูปที่ สะอาด และใช้ได้สะดวกรูปหนึ่งเท่านั้น สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงาน อื่นๆได้ง่าย เช่น แสงสว่าง เสียง ความร้อน พลังงานกล เป็นต้น ทั้งยัง สามารถส่งไปยังระยะทางไกลได้อย่างรวดเร็ว กล่าวคือไฟฟ้ามีความเร็ว ใกล้เคียงกับแสง ในระยะทาง100 กิโลเมตร ใช้เวลา เพียง 1 ใน 3,000 วินาที ดังนั้นจึงส่งไปถึงผู้ใช้งานได้ตลอดเวลา สาหรับแหล่งพลังงานไฟฟ้าที่แท้จริง ก็คือ พลังที่นามาใช้ทาให้ เครื่องกาเนิดไฟฟ้าหมุนตลอดเวลาหากเครื่องกาเนิดไฟฟ้าหยุดหมุน การ ผลิตไฟฟ้าจะหยุดไปด้วย หน้าหลัก 1
  • 9. การผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทยที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. ประเภทไม่ใช้เชื้อเพลิง 1.1 โรงไฟฟ้ าพลังน้าจากน้าในอ่างเก็บน้า หรือจากลาห้วยที่อยู่ในระดับสูงๆ 1.2 โรงไฟฟ้ าพลังงานธรรมชาติจากต้นพลังงานที่ไม่หมดสิ้น เช่น พลังงาน แสงอาทิตย์ ลม ความร้อนใต้พิภพ 2. ประเภทใช้เชื้อเพลิง 2.1 โรงไฟฟ้ าพลังไอน้า ใช้ก๊าซธรรมชาติ ถ่านลิกไนต์ หรือน้ามันเตา เป็น เชื้อเพลิงให้ความร้อนแก่น้าจนเดือดเป็นไอ น้า นาแรงดันจากไอน้ามาใช้ในการ ผลิตไฟฟ้ า 2.2 โรงไฟฟ้ าพลังความร้อน ใช้ก๊าซธรรมชาติหรือน้ามันดีเซลมาสันดาป ทาให้เกิดพลังงานกลต่อไป หน้าหลัก 1
  • 10. หลักการพื้นฐานของโรงไฟฟ้ า ในการผลิตไฟฟ้ าจะใช้หลักการพื้นฐานคือการเปลี่ยนรูปของพลังงาน รูปแบบอื่นๆ ให้เป็นพลังงาน ไฟฟ้ า เช่น การเปลี่ยนรูปของพลังงานกล พลังงานศักย์ พลังงานจลน์ พลังงานเคมี พลังงานชีวเคมี เป็นต้น โดย พลังงานไฟฟ้ าจะสามารถส่งผ่านไปยังที่ต่างๆ ได้ง่ายกว่าพลังงานรูปแบบ อื่นๆ ตัวกลางที่ทาการเปลี่ยน พลังงานรูปแบบอื่นๆ ให้เป็นไฟฟ้ าก็คือขวด ลวดทองแดงและสนามแม่เหล็ก โดยอาศัยการแปรสภาพ พลังงานใดๆเป็ นพลังงานจลน์ก่อนจะถูกแปรเป็นพลังงานไฟฟ้ าอีกครั้งหนึ่ง จากกฎของฟา ราเดย์ (Faraday’s Law) ที่ว่าเมื่อหมุนขดลวดทองแดงตัด สนามแม่เหล็ก จะทาให้เกิดความต่างศักย์ Voltage (V generator) และเหนี่ยวนาให้เกิดกระแสไฟฟ้ าขึ้น ฉะนั้นพลังงานใดๆที่ สามารถหมุนขดลวดนี้ได้ก็สามารถ ถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้ าได้ หน้าหลัก 1
  • 11. ด้วยเหตุนี้จะเห็นได้ว่าผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมจึงไม่ได้ ขึ้นกับหลักการพื้นฐานของ การผลิตไฟฟ้ า แต่ขึ้นอยู่กับการเลือกชนิดของ พลังงานหรือแหล่งพลังงานที่จะนามาแปรรูปเป็นพลังงานไฟฟ้ า ยกตัวอย่าง เช่น ถ้าใช้ลิกไนต์หรือน้ามันเตา (พลังงานเคมี) มาเป็นแหล่งพลังงานจลน์ ใน ที่นี้คือการ ต้มน้าให้กลายเป็นไอเพื่อหมุนกังหันที่ต่ออยู่กับขดลวดทองแดง จะก่อเกิดมลพิษได้สูงกว่าการใช้ ก๊าซธรรมชาติ และถ้าหากไม่ใช้เชื้อเพลิงใน กระบวนการผลิตไฟฟ้ าเลย เช่นการใช้พลังน้า พลังลม หรือ แสงอาทิตย์ ซึ่ง เป็นรูปแบบพลังงานศักย์ หรือพลังงานจลน์อาจเรียกได้อีกอย่างว่าพลังงาน สะอาด มา เปลี่ยนเป็นพลังงานจลน์เพื่อหมุนขดลวดจะส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมน้อยกว่าการผลิตแบบใช้เชื้อเพลิงมาก หน้าหลัก 1
  • 12. โรงไฟฟ้ าพลังความร้อน เป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้พลังงานความร้อนจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงต้ม น้า เพื่อสร้างไอน้าแรงดันสูงมาเป็นพลังงานขับเคลื่อนกังหัน และเครื่อง กาเนิดไฟฟ้า โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน ใช้เชื้อเพลิงได้หลายขนาด เช่น ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน น้ามันเตาเหมาะสาหรับเดินเครื่องเป็น โรงไฟฟ้าฐาน ที่ใช้เดินเครื่องผลิตไฟฟ้าตลอด 24 ชั่วโมง หน้าหลัก 1
  • 14. โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่วม เป็นโรงไฟฟ้าที่นาเอาเทคโนโลยีของโรงงานกังหันก๊าซ และเครื่อง กังหันไอน้ามาทางานเป็นระบบร่วมกัน โดยการนาไอเสียจากโรงไฟฟ้า กังหันก๊าซ ซึ่งมีความร้อนสูง ประมาณ 500 องศาเซลเซียสไปผ่านหม้อน้า และถ่ายเทความร้อนให้กับน้า ทาให้น้าเดือดกลายเป็นไอ เพื่อขับกังหันไอ น้าที่มีเพลาต่อตรงไปยังเครื่องกาเนิดไฟฟ้าต่อไป โรงไฟฟ้าก๊าซในประเทศไทยส่วนใหญ่จะใช้โรงไฟฟ้าชนิดนี้ เพราะ มีประสิทธิภาพที่ดีกว่า เช่น โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ โรงงานไฟฟ้าพระ นครใต้โรงไฟฟ้าน้าพอง โรงไฟฟ้าราชบุรี โรงไฟฟ้าบางประกง โรงไฟฟ้าจะนะ เป็นต้น หน้าหลัก 1
  • 15. โรงไฟฟ้ าพลังน้า ใช้แรงดันของน้าจากเขื่อนและอ่างเก็บน้า โรงไฟฟ้าในยุคแรกๆ ของประเทศไทยจะเป็นแบบโรงไฟฟ้าพลังน้า โดยกฟผ. จะเป็น ผู้รับผิดชอบในการดูแลการปล่อยน้า ทั้งเพื่อผลิตไฟฟ้าและการ ชลประทาน แต่ปัจจุบันการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่เพื่อผลิตไฟฟ้าได้ด้วย นั้น จะมีข้อจากัดในด้านความเหมาะสมของภูมิประเทศ หน้าหลัก 1
  • 17. โรงไฟฟ้ ากังหันก๊าซ เป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้กังหันก๊าซเป็นเครื่องต้นกาลัง ซึ่งได้พลังงานจากการ เผาไหม้ของส่วนผสมระหว่างก๊าซธรรมชาติ หรือน้ามันดีเซล กับความดันสูง จากเครื่องดันอากาศในห้องเผาไหม้เกิดเป็นไอร้อนที่ความดันและอุณหภูมิ สูง ไปขับดันใบกังหัน และเพลากังหันไปขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า เพื่อผลิต พลังงานไฟฟ้า เครื่องกังหันก๊าซ เป็นเครื่องยนต์สันดาปภายใน เปลี่ยนสภาพพลังงาน เชื้อเพลิงเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยใช้น้ามันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง โดยทาการอัด อากาศให้มีความดันสูง 8-10 เท่า และส่งอากาศเข้าไปในห้องเผาไหม้ทาให้ เกิดการขนาดตัว เกิดแรงดัน และอุณหภูมิสูง ส่งอากาศเข้าไปหมุนเครื่อง กังหันก๊าซ เพลาของเครื่องกังหันก๊าซ จะต่อกับเพลาของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ทาให้เกิดการเหนี่ยวนา และได้กระแสไฟฟ้า หน้าหลัก 1
  • 19. โรงไฟฟ้ าดีเซล เป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนประเภทหนึ่ง ใช้น้ามันดีเซลเป็น เชื้อเพลิง หลักการทางานคล้ายกับเครื่องยนต์ดีเซล ที่ถูกฉีดเข้าไปใน กระบอกสูบของเครื่องยนต์ที่ถูกอัดอากาศ มีอุณหภูมิที่เรียกว่า “จังหวะ อัด” ในขณะเดียวกัน น้ามันดีเซลที่ถูกฉีดเข้าไปจะทาให้การสันดาปกับ อากาศที่มีความร้อนสูง เกิดการระเบิดดันลูกสูบเคลื่อนที่ลงไปเพลาข้อ เหวี่ยง ซึ่งต่อกับเพลาของเครื่องยนต์ที่ต่อกับเพลาของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า เกิดการเหนี่ยวนาด้วยกระแสไฟฟ้า หน้าหลัก 1
  • 21. โรงไฟฟ้ าถ่านหิน วัตถุดิบหลักของการผลิตไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าถ่านหินก็คือถ่านหิน ถ่านหิน หรือ Coal คือเชื้อเพลิง ฟอสซิลซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ จากการแปลสภาพทางเคมีและกายภาพของซากพืชที่ถูกพัดพามา ตกตะกอนทับถมกันในหนองน้าที่มีสภาพเหมาะสม หน้าหลัก 1
  • 22. ถ่านหินที่เกิดขึ้นสามารถจาแนกได้ออกเป็น4 ประเภท ประกอบไป ด้วย ลิกไนต์(lignite) จัดเป็นถ่านหินที่มีคุณภาพต่าสุด เมื่อเปรียบเทียบกับถ่าน หินประเภท อื่นๆ ให้พลังงาน 4-8 BTU/lb มีสีน้าตาลผิวด้าน มีซากพืช หลงเหลืออยู่เล็กน้อย มีคาร์บอนร้อยละ 60-75 มีออกซิเจนค่อนข้างสูง มี ความชื้นสูงถึงร้อยละ 30-70 เมื่อติดไฟ มีควันและเถ้าถ่านมาก เป็นถ่านหินที่ ใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับผลิตกระแสไฟฟ้าได้17 ซับบิทูมินัส (subbituminous) ให้พลังงาน 8-13 BTU/lb เป็นถ่าน หินที่ใช้เวลาในการเกิด นานกว่าลิกไนต์มีสีน้าตาลถึงสีด า ผิวมีทั้งด้านและ เป็นมัน (รูปที่ 6c) มีทั่งเนื้ออ่อนและ เนื้อแข็ง มีความชื้นประมาณร้อยละ 25- 30 มีคาร์บอนสูงกว่าลิกไนต์เป็นเชื้อเพลิงที่มี คุณภาพเหมาะสมในการผลิต กระแสไฟฟ้าและงานอุตสาหกรรม หน้าหลัก 1
  • 23. บิทูมินัส (bituminous) ให้พลังงาน 11-15 BTU/lb เป็นถ่าน หินที่ใช้เวลาในการเกิดนาน กว่าซับบิทูมินัส เนื้อแน่น แข็ง มีสีน้าตาลถึงสีดา สนิท ประกอบด้วยชั้นถ่านหินสี ดามันวาว ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อการถลุงโลหะ และเป็นวัตถุดิบเพื่อเปลี่ยนเป็นเชื้อเพลิงอื่นๆ แอนทราไซต์(anthracite) เป็นถ่านหินที่ใช้เวลาในการเกิดนาน ที่สุด และเกิดในที่ลึกๆ และอุณหภูมิสูงกว่าการเกิดถ่านหินประเภทอื่นๆ มี ลักษณะดาเป็นเงา มันวาวมาก มี ปริมาณคาร์บอนประมาณร้อยละ 90-98 ความชื้นต่าประมาณร้อยละ 2-5 มีค่าความร้อน สูงแต่ติดไฟยาก เมื่อติดไฟ ให้เปลวไฟสีน้าเงิน ไม่มีควัน เหมาะกับการใช้เป็นเชื้อเพลิงใน อุตสาหกรรม ต่างๆ และเป็นเชื้อเพลิงชั้นดีในการผลิตไฟฟ้ า แต่หายากและราคาแพง หน้าหลัก 1
  • 25. ผลกระทบจากโรงไฟฟ้ าถ่านหิน ผลผลิตที่ได้จากโรงไฟฟ้าถ่านหิน คือกระแสไฟฟ้า ที่จะถูกส่งเข้าสู่ ระบบและจ่ายไปตามบ้านเรือน ที่อยู่อาศัย โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น หาก ในกระบวนการผลิตไฟฟ้ามีการระบายมลพิษออกมาหลาย ชนิด ซึ่งต้องมี ระบบการเฝ้าระวังและควบคุมการปล่อยสู่ธรรมชาติอย่างเข้มงวด เนื่องด้วย ถ่านหิน มี องค์ประกอบของแร่ธาตุทั้งที่ไม่เป็นอันตราย เช่น คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน และ องค์ประกอบรองอย่างกามะถัน ข้อมูล จากสถาบันวิศวกรรมศาสตร์ และชีวเวชศาสตร์ ประเทศ สหรัฐอเมริกา แสดง ให้เห็นว่า สารที่ระบายในอากาศที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ณ แหล่งกานิดมากที่สุด คือ กลุ่มของกรดไฮโดรคลอริก ปรอท และสารหนู นอกจากนี้ยังมีก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ไนโตรเจนไดออกไซด์ และฝุ่น เป็น ต้น หน้าหลัก 1
  • 29. โรงไฟฟ้ าแม่เมาะ โรงไฟฟ้ าแม่เมาะเป็นแหล่งผลิตพลังงานไฟฟ้ าขนาดใหญ่ในภาคเหนือ เป็นสื่อกลางในการ นา ความเจริญรุ่งเรื่องมาสู้ท้องถิ่นของชนในภาคเหนือ และพลังงานไฟฟ้ าส่วนที่เหลือยังสามารถ ส่งไปหล่อเลี้ยง จุดศูนย์กลางที่หนาแน่นไปด้วยอุตสาหกรรม ธุรกิจ การค้า และที่อยู่อาศัย ที่มี ความต้องการใช้ไฟฟ้ าในปริมาณมากเป็นลาดับของประเทศ รวมทั้งส่งพลังงาน ไฟฟ้ าไปยังภาค ตะวันออกเฉียงเหนืออีกด้วยการที่แม่เมาะมีโรงไฟฟ้ าถึง 13 เครื่อง เนื่องจากแม่เมาะอุดม สมบูรณ์ ไปด้วยแหล่งเชื้อเพลิงลิกไนต์ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่สาคัญยิ่งของประเทศ หากไม่นามาพัฒนา และใช้ ประโยชน์ในยามที่ประเทศต้องการพลังงานไฟฟ้ า ก็จะเป็นการสูญเสียโอกาสและ หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่ต้องนาเข้า น้ามันเชื้อเพลิงจากต่างประเทศ ซึ่งมีราคาแพงและไม่แน่นอน ทั้งยัง ทาให้ต้นทุนในการผลิตกระแสไฟฟ้ าเพิ่ม สูงขึ้น ส่งผลกระทบแก่ผู้ใช้ไฟฟ้ าโดยรวมควบคู่ไปกับการ ดาเนินงานผลิตไฟฟ้ า กฟผ. ได้เฝ้ าระมัดระวัง ตรวจสอบคุณภาพอากาศ น้า และดิน ที่มี ผลกระทบโดยตรงต่อการดารงชีวิตของชุมชน สัตว์เลี้ยงและพืชต่างๆ อันเกิดจากการดาเนินงาน ขยายเหมือง การลาเลียงถ่านลิกไนต์เข้าสู่โรงไฟฟ้ า และการเดินเครื่องโรงไฟฟ้ าอย่าง สม่าเสมอ เพื่อให้แม่เมาะเป็นเมืองที่น่าอยู่ ปราศจากมลภาวะ สามารถอานวยประโยชน์ด้าน พลังงานไฟฟ้ า สร้างความเจริญให้แก่ท้องถิ่น ทั้งจังหวัดลาปางและหลายจังหวัดในประเทศอีกด้วย หน้าหลัก 2
  • 30. สถานที่ตั้ง โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ตั้งอยู่ที่ ตาบลแม่เมาะ อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง ห่าง จากตัวเมืองลาปาง เป็น ระยะทางประมาณ 26 กิโลเมตร ลักษณะโรงไฟฟ้ า เนื่องจากแหล่งแม่เมาะอุดมไปด้วยเชื้อเพลิงลิกไนต์จานวนมหาศาล ซึ่ง สามารถนามาผลิตกระแสไฟฟ้า ได้อย่างมั่นคง ในปี พ.ศ.2515 รัฐบาลอนุมัติ โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าแม่เมาะในระยะเริ่มแรกจานวน ๒ เครื่อง กาลังผลิต เครื่องละ 75 เมกะวัตต์งานขยายเหมืองแม่เมาะก็เพิ่มปริมาณจากที่เคยผลิตได้ปีละ แสนกว่า ตันเป็นล้านๆ ตัน และหลังจากนั้นเมื่อความต้องการใช้ไฟฟ้าของประเทศ ไทยเพิ่มสูงขึ้นการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) ได้ทยอยก่อสร้าง โรงไฟฟ้าเพิ่มเติมขึ้นเป็นลาดับ จนถึงปัจจุบันโรงไฟฟ้าแม่เมาะมีโรงไฟฟ้า ทั้งหมด รวม 13 เครื่อง กาลังผลิตรวมทั้งสิ้น 2,625 เมกะวัตต์ผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ ประมาณ 15,450 ล้าน หน่วยต่อปี หน้าหลัก 2
  • 31. ระบบส่งไฟฟ้ า ในบริเวณโรงไฟฟ้ าแม่เมาะประกอบด้วยลานไกไฟฟ้ า 3 แห่ง เพื่อรองรับพลังไฟฟ้ า จากโรงไฟฟ้ าแล้วส่งผ่านสายส่งไฟฟ้ าไปยัง จังหวัดต่างๆ ด้วยแรงดันไฟฟ้ าหลายระดับ คือ 115,230 และ 500 กิโลโวลต์ โดยเชื่อมโยงกับระบบส่งไฟฟ้ าทั้งภาคเหนือตอนบนและ ตอนล่าง ภาคกลาง และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ หน้าหลัก 2
  • 32. โรงไฟฟ้ าบางปะกง ความเป็นมา โรงไฟฟ้ าบางปะกง เป็นโรงไฟฟ้ าแห่งแรกของประเทศไทยที่ใช้ก๊าซ ธรรมชาติจากอ่าวไทยเป็นเชื้อเพลิง ในการผลิตกระแสไฟฟ้ าเพื่อสนอง นโยบายของรัฐที่ต้องการพัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติภายในประเทศให้ เกิดประโยชน์สูงสุด สถานที่ตั้ง โรงไฟฟ้ าบางปะกงตั้งอยู่บนเนื้อที่ 1,134 ไร่ บริเวณฝั่งซ้ายของแม่น้า บางปะกง เลขที่ 4 หมู่ 6 ตาบล ท่าข้าม อาเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยอยู่ห่างจากปากแม่น้าบางปะกงขึ้นมาตามลาน้าประมาณ 11 กิโลเมตร หรือห่างจากสะพานเทพหัสดินทร์ไปทางเหนือประมาณ 2.5 กิโลเมตร หน้าหลัก 2
  • 33. การใช้เชื้อเพลิง โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนบางปะกงสามารถใช้ก๊าซธรรมชาติและ น้ามันเตาเป็นเชื้อเพลิงในการผลิต กระแสไฟฟ้ า ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ ก๊าซ ธรรมชาติจากแหล่งอ่าวไทยเป็นเชื้อเพลิงหลัก โดยขนส่งทางท่อก๊าซของ บริษัทปตท. จากัด (มหาชน) ส่วนโรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่วมบางปะกง จะใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลัก และน้ามันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง สารองในกรณีฉุกเฉิน โดยซื้อจากคลังน้ามันศรีราชา จังหวัดชลบุรี หรือ คลัง น้ามัน จังหวัด ระยอง ของ บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) หน้าหลัก 2
  • 35. โรงไฟฟ้ าพระนครเหนือ ชุดที่ 1. โครงการโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 1 ได้รับอนุมัติจาก คณะรัฐมนตรีให้ กฟผ. ดาการก่อสร้าง เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2549 โดยจะใช้ ระยะเวลาในการก่อสร้างทั้งสิ้นประมาณ 36 เดือน ซึ่งสามารถจ่ายไฟฟ้าเข้า ระบบได้ในเดือนมีนาคม 2553 โครงการโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 1 ตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่ โรงไฟฟ้าพระนครเหนือเดิม ซึ่งหมดอายุ และรื้อถอนออกไปริมแม่น้า เจ้าพระยา ตาบลบางกรวย อาเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี มีพื้นที่ประมาณ 125 ไร่ แบ่งเป็นพื้นที่โรงไฟฟ้า 70 ไร่ และพื้นที่สีเขียว 55 ไร่ เป็นโรงไฟฟ้า พลังความร้อน จานวน 1 ชุด ขนาด กาลังผลิตติดตั้ง 704 เมกะวัตต์ ประกอบด้วยเครื่องผลิตไฟฟ้ากังหันแก๊ส จานวน 2 เครื่อง ขนาดกาลังผลิต เครื่องละ 221 เมกะวัตต์และเครื่องผลิตไฟฟ้ากังหันไอน้า จานวน 1 เครื่อง ขนาดกาลังผลิต 262 เมกะวัตต์ หน้าหลัก 2
  • 37. โรงไฟฟ้ ากระบี่ โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนกระบี่ ออกแบบให้ใช้เชื้อเพลิงได้ทั้งน้ํามันเตาและก๊าซธรรมชาติ ประกอบด้วยเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า กาลังผลิตติดตั้ง 315 เมกะวัตต์ จานวน 1 เครื่อง ภายในติดตั้ง อุปกรณ์ ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ไว้ครบถ้วน หากเกิดเหตุขัดข้องที่จุดหนึ่งจุดใด ภายในโรงไฟฟ้ า จะมี สัญญาณแจ้งเหตุและบอกวิธีแก้ไขในสาเหตุนั้นๆ ได้ทันที (Expert System)และเพื่อเป็นการลดผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่พ.ศ. 2555 เป็นต้นมา โรงไฟฟ้ ากระบี่ใช้น้ํามันเตาที่มีกามะถันไม่เกินร้อยละ 0.5 ในปี พ.ศ. 2557 ได้มีการปรับระบบเผา ไหม้ใหัใช้น้ํามันปาล์มดิบ (Crude Palm Oil - CPO) เป็น เชี้อเพลิงพร้อมกับน้ํามันเตาใน สัดส่วนร้อยละ 10 โดยรัฐบาลมีนโยบายให้ กฟผ. รับซื้อน้ํามันปาล์มดิบใน ราคา 25 บาทต่อ กิโลกรัม เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรในกรณีที่น้ํามันปาล์มดิบในประเทศมีราคาต่า การปรับปรุง ดังกล่าวทาให้โรงไฟฟ้ ากระบี่เป็นโรงไฟฟ้ าแห่งแรกที่ใช้เชี้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel) ร่วมกับ น้ํามันเตา เป็นการสนับสนุนการใช้พลังงานหมุนเวียนอีกรูปแบบหนึ่ง เปรียบเสมือนมีโรงไฟฟ้ า เชี้อ เพลิง น้ํามันปาล์มดิบขนาด 34 เมกะวัตต์ อยู่คู่กับโรงไฟฟ่ากระบี่ สาหรับแผนพัฒนากาลัง ผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย PDP 2010 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 กาหนดให้ กฟผ. ดาเนินการ ก่อสร้างโครงการโรงไฟฟ้ าถ่านหิน จังหวัดกระบี่ ขนาดกาลังผลิต 870 เมกะวัตต์ เพื่อเพิ่ม ศักยภาพกาลังผลิตไฟฟ้ าภาคใต้ฝั่งตะวันตก โดยใช้ถ่านหินบิทูมินัสที่นาเข้าจากอินโดนีเซีย คาด ว่าจะสามารถ จ่ายไฟ้ าเชิงพาณิชย์ได้ในปี 2562 หน้าหลัก 2
  • 39. โรงไฟฟ้ าน้าพอง โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่วมน้าพอง ปัจจุบันเป็นโรงไฟฟ้ าขนาดใหญ่ที่สุดของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ช่วยเพิ่มกาลังผลิตให้แก่ภูมิภาคนี้ได้อีกถึง 710,000 กิโลวัตต์และสามารถผลิตพลังงานไฟฟ้ าปีละ 4,660 ล้าน กิโลวัตต์ชั่วโมง นอกจากนี้ ยังเป็นโรงไฟฟ้ าแห่งเดียวในภูมิภาคนี้ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในการผลิต ไฟฟ้ า กฟผ. ได้พิจารณาสถานที่ที่เหมาะสม สาหรับก่อสร้างโรงไฟฟ้ าพลังความร้อน ร่วมที่ใช้ก๊าซธรรมชาติ จากแหล่งผลิตน้าพองเป็นเชื้อเพลิง โดยเปรียบเทียบความ เหมาะสมด้านระบบส่งไฟฟ้ า ระบบเชื้อเพลิง ระบบ ส่งน้า การคมนาคม และ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม กฟผ. จึงเลือกบริเวณใกล้กับสถานีไฟฟ้ าแรงสูงน้าพองห่าง ออกไปทางทิศตะวันตกประมาณ 5 กิโลเมตร เป็นสถานที่ก่อสร้างโรงไฟฟ้ าพลังความ ร้อนร่วมน้าพองมีพื้นที่ ทั้งหมด 631 ไร่และอยู่ระหว่างเส้นทางเข้าเขื่อนอุบลรัตน์โดย ห่างจากเขื่อน 18 กิโลเมตร และห่างจากแหล่ง ก๊าซธรรมชาติหลุมน้าพอง 3 กิโลเมตร หน้าหลัก 2
  • 41. โรงไฟฟ้ าจะนะ กฟผ. เล็งเห็นว่า จังหวัดสงขลาเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจการลงทุน ที่หลากหลายและยังเป็นจังหวัดที่มีความต้องการไฟฟ้ าใช้สูงที่สุดใน ภาคใต้ จึงได้เสนอการสร้างโรงไฟฟ้ าจะนะเข้าไปใน แผนพัฒนากาลัง ผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย 2547- 2558 โรงไฟฟ้ าจะนะเป็นโรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่วม มีกาลังผลิต 1,476 เมกะวัตต์ สามารถผลิตไฟฟ้ า ได้ 7,035 ล้านหน่วย/ปี สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนิน ไปทรงเปิด โรงไฟฟ้ าจะนะ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2558 หน้าหลัก 2
  • 43. โรงไฟฟ้ าพระนครใต้ โรงไฟฟ้ าพระนครใต้ ตั้งอยู่ที่ตาบลบางโปรง อาเภอเมือง จังหวัด สมุทรปราการ ห่างจากถนนสุขุมวิท ไปทางทิศตะวันตก 7 กิโลเมตร บนพื้นที่ 216 ไร่ ตัวโรงไฟฟ้ าด่านหน้าติดแม่น้ําเจ้าพระยา ทาให้สะดวกต่อ การ คมนาคมขนส่งอุปกรณ์ในการก่อสร้างโรงไฟฟ้ า โรงไฟฟ้ าพระนครใต้ได้รับการอนุมัติโครงการฯเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2510 และเริ่มงานก่อสร้างใน ปลายปี พ.ศ. 2511 เป็นโรงไฟฟ้ าประเภทพลัง ความร้อน ใช้น้ํามันเตาเป็นเชื้อเพลิง ประกอบด้วยเครื่อง กาเนิดไฟฟ้ า 5 เครื่อง รวมกาลังผลิตทั้งสิ้น 1,330 เมกะวัตต์ สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้ าได้ ปีละ 9,320 ล้าน กิโลวัตต์ชั่วโมง หน้าหลัก 2
  • 44. โรงไฟฟ้ าสุราษฏร์ธานี โรงไฟฟ้ าสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกันกับที่ตั้งโรงไฟฟ้ าสุ ราษฎร์ธานีเดิม ในท้องที่ ตาบลเขาหัวควาย อาเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ ธานีบนพื้นที่รวม 115 ไร่ ห่างจากตัวจังหวัดไปตามเส้นทาง หลวงหมายเลข 401 เป็นระยะทางประมาณ 21 กิโลเมตร กฟผ. ได้ก่อสร้างโรงไฟฟ้ าสุราษฎร์ธานีขึ้นใหม่ เพื่อทดแทน โรงไฟฟ้ า เดิม ซึ่งหมดอายุการใช้งานและได้ปลดออกจากระบบไปเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2542 โรงไฟฟ้ าแห่ง ใหม่นี้เป็นโรงไฟฟ้ าประเภทกังหันก๊าซ ประกอบด้วยเครื่องกาเนิดไฟฟ้ ากังหันก๊าซ จานวน 2 เครื่อง ขนาดกาลัง ผลิตเครื่องละ 122 เมกะวัตต์รวมกาลังผลิตไฟฟ้ า 244 เมกะวัตต์ซึ่งเครื่อง กาเนิดไฟฟ้ าทั้ง 2 เครื่อง ได้รื้อย้าย มาจากโรงไฟฟ้ ากังหันก๊าซ ไทรน้อย อาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรีกฟผ. เริ่มงานก่อสร้างตัวโรงไฟฟ้ าเมื่อ วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2542 หน้าหลัก 2
  • 45. โรงไฟฟ้ าวังน้อย โรงไฟฟ้ าวังน้อยเป็นโรงไฟฟ้ าพลังงานความร้อนร่วม ลักษณะการ ทางานจะนาเอาเครื่องกันหันก๊าซ และเครื่องกังหันไอน้ามาใช้ร่วมกัน เชื้อเพลิงจะถูกส่งเข้าไปยังห้องเผาไหม้ โดยมีอากาศที่ถูกอัดด้วยความดันสูง จากเครื่องอัดอากาศถูกอัดเข้ามาในห้องเผาไหม้ จากนั้นก๊าซจะได้รับความ ร้อนจากห้องเผาไหม้เกิดการขยายตัวของก๊าซร้อน,ความดัน,อุณหภูมิ เเล้ว ก๊าซร้อนจะถูกส่งเข้าไปขับดันกังหันก๊าซ ขับเคลื่อนและฉุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า ที่ต่ออยู่บนเพลาเดียวกัน ส่วนก๊าซร้อนที่ขับดันกังหันก๊าซจะถูกส่งออกไปยัง ห้องเผาไหม้อีกครั้งหนึ่งและนาความร้อนนี้ไปต้มน้าที่หม้อน้า น้าที่ถูกต้มจะ กลายเป็นไอความดันสูงไปขับกังหันไอน้าเพื่อขับเคลื่อนเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า ส่วนไอน้าที่ขับดันกังหันไอน้าแล้วส่วนที่ยังคงมีความดันสูงอยู่จะไหลผ่าน วาล์วความดันได้ไอน้าส่วนนี้ก็จะขับดันกังหันอีกครั้งหนึ่ง ส่วนไอน้าความดัน ลดลงก็จะถูกส่งเข้าไปยังเครื่องควบแน่นซึ่งจะระบายความร้อนของไอน้าด้วย น้า ไอน้าจะถูกควบแน่นเป็นน้าเเละปั๊มจะส่งไปยังถังพักน้า เพื่อส่งไปต้ม ต่อไปยังหม้อต้มน้า หน้าหลัก 2
  • 46. โรงไฟฟ้ าพลังน้าลาตะคอง การไฟฟ้ าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ( กฟผ. ) ได้วางแผนก่อสร้างโรงไฟฟ้ าพลัง น้าลาตะคอง แบบสูบกลับบริเวณฝั่งขวาของอ่างเก็บน้าลาตะคองซึ่งอยู่ห่างจากตัว เขื่อนเดิมประมาณ 5 กิโลเมตร โดยการสูบน้าจากอ่างเก็บน้าลาตะคอง (อ่างล่าง)จาก เขื่อนลาตะคอง ซึ่งอยู่ในความดูแลของกรมชลประทาน สูบขึ้นไปเก็บไว้ชั่วคราวที่อ่าง เก็บน้าที่ก่อสร้างใหม่บนภูเขา(อ่างบน) แล้วปล่อยน้ากลับมาในอ่างล่าง ผ่านกังหันน้า เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ า กฟผ. ได้ปรึกษาหารือกับ กรมชลประทานเพื่อพิจารณาวิธีการ หลักเกณฑ์ในการสูบน้าจากอ่างเก็บน้าลาตะคองและปล่อยกลับมาเพื่อผลิต กระแสไฟฟ้ าให้เหมาะสมกับสภาพน้าในอ่างเก็บน้าลาตะคองในปัจจุบัน และอนาคต เพื่อให้การใช้น้าจากอ่างเก็บน้าลาตะคองเกิดประโยชน์สูงสุด แก่ทุก ๆ ฝ่ายโครงการลา ตะคองแบบสูบกลับ เป็นโครงการผลิตกระแสไฟฟ้ าด้วยน้า ตัวโครงการตั้งอยู่บริเวณ เส้นแบ่งเขตระหว่าง อาเภอปากช่อง และ อาเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ห่างจาก อาเภอเมืองสระบุรีและอาเภอเมืองนครราชสีมา เป็นระยะทาง 82 กิโลเมตรและ 70 กิโลเมตร ตามลาดับ ในการศึกษาความเหมาะสมของโครงการนี้ หน้าหลัก 2
  • 47. การไฟฟ้ าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ( กฟผ. ) ได้รับการสนับสนุนจาก รัฐบาลญี่ปุ่น ( Japan International Cooperation Agency. JICA ) โดยได้ทาการศึกษาความเหมาะสมด้านวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์ และ สิ่งแวดล้อมเบื้องต้น แล้วเสร็จในปี 2534การดาเนินโครงการนี้ได้กาหนดให้ ระยะแรกโรงไฟฟ้ าติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าขนาด 250 เมกะวัตต์ จานวน 2 เครื่อง รวมกาลังผลิต 500 เมกะวัตต์ ระยะที่สองติดตั้งเพิ่มอีกเท่ากับกาลังผลิต รวมในระแรก ซึ่งเมื่อรวมกาลังผลิตทั้งโครงการแล้วจะได้กาลังผลิตทั้งหมด 1,000 เมกะวัตต์วัตถุประสงค์ของโครงการลาตะคอง แบบสูบกลับคือ เพื่อผลิต กระแสไฟฟ้ าเสริมการใช้พลังงานไฟฟ้ าในช่วงเวลาที่มีความต้องการไฟฟ้ าสูง และช่วยลดเงินลงทุนในการเพิ่มกาลังผลิตของระบบไฟฟ้ าเนื่องจากระบบนี้มีค่า ลงทุนต่อหน่วยของกาลังผลิตต่ากว่าระบบทั่วไป หน้าหลัก 2
  • 49. นโยบายพลังงาน แผนพัฒนากาลังการผลิตไฟฟ้ า (Power Development Plan หรือ พีดีพี) ของประเทศไทยเป็นแผนที่จัดทาขึ้นเป็นประจาโดย การไฟฟ้ าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แผนดังกล่าวเป็นแผน แม่บทสาหรับ การลงทุนพัฒนากาลังการผลิตไฟฟ้ าในประเทศ โดย กาหนดว่าจะมีการสร้างโรงไฟฟ้ าแบบใดขึ้นบ้างเป็นจานวนเท่าไร ที่ไหน และเมื่อไร แผนพีดีพีไม่เพียงแต่กาหนดอนาคตของภาคพลังงาน ภูมิ ทัศน์ ทางสังคม และสิ่งแวดล้อมของประเทศเท่านั้น หากยังส่งผลต่อ ประเทศเพื่อนบ้านต่างๆ อีกด้วย หน้าหลัก 2
  • 50. แผนพัฒนากาลังการผลิตไฟฟ้ าฉบับทางการ สะท้อนให้เห็นถึง กระบวนการวางแผนที่เป็นปัญหา ถึงขั้นวิกฤต การเลือกที่จะสร้าง โรงไฟฟ้ าเป็นจานวนมากก่อให้เกิดมลพิษ มีต้นทุนและความเสี่ยงสูง ขัด กับ นโยบายด้านการพลังงานของประเทศไทย และสร้างผลกระทบให้ เกิดต่อชุมชน และชาวบ้านเป็นจานวน มาก ไม่ว่าจะเป็น ผลกระทบ ด้านร่างกาย ผลกระทบด้านสังคม ความขัดแย้งภายในชุมชน การลงทุน ใน โครงการผลิตไฟฟ้ าพลังน้าในประเทศเพื่อนบ้าน ก่อให้เกิดการ ละเมิดสิทธิมนุษยชน ท าลายวิถีชีวิตชุมชน ริมน้า น้าท่วมพื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่ป่าไม้ที่มีคุณค่า และทาลายระบบนิเวศของแม่น้า หน้าหลัก 2
  • 51. จากการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ า และมีการกาหนด แผนพัฒนาการผลิตไฟฟ้ า ที่มีความ ต้องการไฟฟ้ าเพิ่มขึ้น และมีความ จาเป็นต้องก่อสร้างโรงไฟฟ้ าใหม่เพิ่มมากขึ้น รวมถึงต้องซื้อไฟฟ้ าจาก ต่างประเทศมาใช้นั้น เป็นข้อสงสัยของคนในสังคมว่าผู้ที่ใช้ไฟฟ้ า จานวนมากนั้นเป็นกลุ่มไหน โดยมีผู้ที่ได้ ศึกษาการใช้ไฟฟ้ าเปรียบเทียบ เป็นตัวอย่างตั้งต้นว่าแนวทางการพยากรณ์หรือการกาหนดแผนนั้น ต้อง 4 ทบทวนและคานึง ถึงความมั่นคงของพลังงานและผลกระทบต่อ ประชาชนและสิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้นใน การกาหนดแผนหรือไม่ โดย ข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้ าในปี 25491 พบว่าภาคครัวเรือนใช้ไฟฟ้ า 27,005 ล้านหน่วย เพิ่มขึ้น 4,893 ล้านหน่วยในช่วง 5 ปีส่วนภาคธุรกิจ ใช้ไฟฟ้ า 40,535 ล้านหน่วย เพิ่มขึ้น 8,894 ล้านหน่วยในช่วง 5 ปี หน้าหลัก 2
  • 54. รายชื่อผู้จัดทา นางสาวอมิตา ปุยบัณฑิต เลขที่ 6 นางสาวอักษราภัคหิตะสิริ เลขที่ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 หน้าหลัก 2