SlideShare a Scribd company logo
เกี่ยวกับโครงงาน
ชื่อโครงงาน
ไฟฟ้ามาจากไหน (where does electricity come from?)
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ผู้จัดทา 1.นางสาวอมิตา ปุยบัณฑิต
2. นางสาวอักษราภัค หิตะสิริ
คุณครูที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
ที่มาและความสาคัญ
ปัจจุบันไฟฟ้าเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดปัจจัยหนึ่งสาหรับการดารง
ชีวิตประจาวันของชนในชาติ การสื่อสาร การคมนาคม การให้ความรู้
ไฟฟ้าจึงเป็นตัวแปรสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจการเพิ่มผลผลิตทั้ง
เกษตรรวมและอุตสาหกรรมที่ทันสมัย การกระจายรายได้และสร้างขีด
ความสามารถในการแข่งขันในด้านการผลิต และการขายสินค้า ซึ่งเป็น
เป้าหมายสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ ดังนั้น การให้ความรู้เรื่องการ
ผลิตไฟฟ้ากับประชาชนซึ่งเป็นผู้บริโภคประโยชน์จากไฟฟ้าโดยตรงจึง
เป็นเรื่องสาคัญยิ่ง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับแหล่งที่มาของพลังงานไฟฟ้า
2. เพื่อเผยแพร่ความรู้แก่ผู้ที่สนใจ
3. เพื่อนาทักษะการเรียนรู้จากวิชาคอมพิวเตอร์มาบูรณาการ
ขอบเขตของโครงงาน
ศึกษาเกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้าในประเทศไทย และจัดทาสื่อการ
เรียนรู้ในรูปแบบ PowerPoint
ไฟฟ้ ามาจากไหน ?
แหล่งผลิตไฟฟ้ า
ไฟฟ้าไม่ใช่แหล่งพลังงาน แต่เป็นเพีงพลังงานแปรรูปที่
สะอาด และใช้ได้สะดวกรูปหนึ่งเท่านั้น สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงาน
อื่นๆได้ง่าย เช่น แสงสว่าง เสียง ความร้อน พลังงานกล เป็นต้น ทั้งยัง
สามารถส่งไปยังระยะทางไกลได้อย่างรวดเร็ว กล่าวคือไฟฟ้ามีความเร็ว
ใกล้เคียงกับแสง ในระยะทาง100 กิโลเมตร ใช้เวลา
เพียง 1 ใน 3,000 วินาที ดังนั้นจึงส่งไปถึงผู้ใช้งานได้ตลอดเวลา
สาหรับแหล่งพลังงานไฟฟ้าที่แท้จริง ก็คือ พลังที่นามาใช้ทาให้
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าหมุนตลอดเวลาหากเครื่องกาเนิดไฟฟ้าหยุดหมุน การ
ผลิตไฟฟ้าจะหยุดไปด้วย
การผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทยที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1. ประเภทไม่ใช้เชื้อเพลิง
1.1 โรงไฟฟ้ าพลังน้าจากน้าในอ่างเก็บน้า หรือจากลาห้วยที่อยู่ในระดับสูงๆ
1.2 โรงไฟฟ้ าพลังงานธรรมชาติจากต้นพลังงานที่ไม่หมดสิ้น เช่น พลังงาน
แสงอาทิตย์ ลม ความร้อนใต้พิภพ
2. ประเภทใช้เชื้อเพลิง
2.1 โรงไฟฟ้ าพลังไอน้า ใช้ก๊าซธรรมชาติ ถ่านลิกไนต์ หรือน้ามันเตา เป็น
เชื้อเพลิงให้ความร้อนแก่น้าจนเดือดเป็นไอ น้า นาแรงดันจากไอน้ามาใช้ในการ
ผลิตไฟฟ้ า
2.2 โรงไฟฟ้ าพลังความร้อน ใช้ก๊าซธรรมชาติหรือน้ามันดีเซลมาสันดาป
ทาให้เกิดพลังงานกลต่อไป
โรงไฟฟ้ าพลังความร้อน
เป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้พลังงานความร้อนจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงต้ม
น้า เพื่อสร้างไอน้าแรงดันสูงมาเป็นพลังงานขับเคลื่อนกังหัน และเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้า โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน ใช้เชื้อเพลิงได้หลายขนาด
เช่น ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน น้ามันเตาเหมาะสาหรับเดินเครื่องเป็น
โรงไฟฟ้าฐาน ที่ใช้เดินเครื่องผลิตไฟฟ้าตลอด 24 ชั่วโมง
โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่วม
เป็นโรงไฟฟ้าที่นาเอาเทคโนโลยีของโรงงานกังหันก๊าซ และเครื่อง
กังหันไอน้ามาทางานเป็นระบบร่วมกัน โดยการนาไอเสียจากโรงไฟฟ้า
กังหันก๊าซ ซึ่งมีความร้อนสูง ประมาณ 500 องศาเซลเซียสไปผ่านหม้อน้า
และถ่ายเทความร้อนให้กับน้า ทาให้น้าเดือดกลายเป็นไอ เพื่อขับกังหันไอ
น้าที่มีเพลาต่อตรงไปยังเครื่องกาเนิดไฟฟ้าต่อไป
โรงไฟฟ้าก๊าซในประเทศไทยส่วนใหญ่จะใช้โรงไฟฟ้าชนิดนี้ เพราะ
มีประสิทธิภาพที่ดีกว่า เช่น โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ โรงงานไฟฟ้าพระ
นครใต้โรงไฟฟ้าน้าพอง โรงไฟฟ้าราชบุรี โรงไฟฟ้าบางประกง
โรงไฟฟ้าจะนะ เป็นต้น
โรงไฟฟ้ าพลังน้า
ใช้แรงดันของน้าจากเขื่อนและอ่างเก็บน้า โรงไฟฟ้าในยุคแรกๆ
ของประเทศไทยจะเป็นแบบโรงไฟฟ้าพลังน้า โดยกฟผ. จะเป็น
ผู้รับผิดชอบในการดูแลการปล่อยน้า ทั้งเพื่อผลิตไฟฟ้าและการ
ชลประทาน แต่ปัจจุบันการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่เพื่อผลิตไฟฟ้าได้ด้วย
นั้น จะมีข้อจากัดในด้านความเหมาะสมของภูมิประเทศ
โรงไฟฟ้ ากังหันก๊าซ
เป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้กังหันก๊าซเป็นเครื่องต้นกาลัง ซึ่งได้พลังงานจากการ
เผาไหม้ของส่วนผสมระหว่างก๊าซธรรมชาติ หรือน้ามันดีเซล กับความดันสูง
จากเครื่องดันอากาศในห้องเผาไหม้เกิดเป็นไอร้อนที่ความดันและอุณหภูมิ
สูง ไปขับดันใบกังหัน และเพลากังหันไปขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า เพื่อผลิต
พลังงานไฟฟ้า
เครื่องกังหันก๊าซ เป็นเครื่องยนต์สันดาปภายใน เปลี่ยนสภาพพลังงาน
เชื้อเพลิงเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยใช้น้ามันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง โดยทาการอัด
อากาศให้มีความดันสูง 8-10 เท่า และส่งอากาศเข้าไปในห้องเผาไหม้ทาให้
เกิดการขนาดตัว เกิดแรงดัน และอุณหภูมิสูง ส่งอากาศเข้าไปหมุนเครื่อง
กังหันก๊าซ เพลาของเครื่องกังหันก๊าซ จะต่อกับเพลาของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ทาให้เกิดการเหนี่ยวนา และได้กระแสไฟฟ้า
โรงไฟฟ้ าดีเซล
เป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนประเภทหนึ่ง ใช้น้ามันดีเซลเป็น
เชื้อเพลิง หลักการทางานคล้ายกับเครื่องยนต์ดีเซล ที่ถูกฉีดเข้าไปใน
กระบอกสูบของเครื่องยนต์ที่ถูกอัดอากาศ มีอุณหภูมิที่เรียกว่า “จังหวะ
อัด” ในขณะเดียวกัน น้ามันดีเซลที่ถูกฉีดเข้าไปจะทาให้การสันดาปกับ
อากาศที่มีความร้อนสูง เกิดการระเบิดดันลูกสูบเคลื่อนที่ลงไปเพลาข้อ
เหวี่ยง ซึ่งต่อกับเพลาของเครื่องยนต์ที่ต่อกับเพลาของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
เกิดการเหนี่ยวนาด้วยกระแสไฟฟ้า
แหล่งอ้างอิง
•http://www.sukhothaitc.ac.th/sutee/Artical/EP
1.htm
•http://www.sukhothaitc.ac.th/sutee/Artical/EP
1.htm
•http://www.egat.co.th/index.php?option=com
_content&view=article&id=80&Itemid=116

More Related Content

What's hot

7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
Preeyapat Lengrabam
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
Thitaree Samphao
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
dnavaroj
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่npapak74
 
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
พัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะKook Su-Ja
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
wanchalerm sotawong
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
KruNistha Akkho
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
Wan Wan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
Taweesak Poochai
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
Ponpirun Homsuwan
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 

What's hot (20)

7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
 
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 

Similar to ไฟฟ้ามาจากไหน

Analysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationAnalysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the education
Tor Jt
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศrunjaun
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศrunjaun
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศrunjaun
 
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
Jitsupapa Rungpakdeesawat
 
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
Jitsupapa Rungpakdeesawat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2 8โครงงานคอมพิวเตอร์ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2 8Yaowalak Tappanya
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8Ns-mooham Cnx
 
ใบงานท 2-8 ซ_น
ใบงานท   2-8 ซ_นใบงานท   2-8 ซ_น
ใบงานท 2-8 ซ_นNNarumon Obtom
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
NATTAWANKONGBURAN
 
ประวัติและประสบการณ์การทำงาน
ประวัติและประสบการณ์การทำงานประวัติและประสบการณ์การทำงาน
ประวัติและประสบการณ์การทำงาน
sukhom
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Information professional and digital economy
Information professional and digital economyInformation professional and digital economy
Information professional and digital economy
Maykin Likitboonyalit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
kroobee
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
niramon_gam
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1ratiporn555
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsmileoic
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารMapowzee Dahajee
 

Similar to ไฟฟ้ามาจากไหน (20)

Analysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationAnalysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the education
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2 8โครงงานคอมพิวเตอร์ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2 8
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
ใบงานท 2-8 ซ_น
ใบงานท   2-8 ซ_นใบงานท   2-8 ซ_น
ใบงานท 2-8 ซ_น
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
 
ประวัติและประสบการณ์การทำงาน
ประวัติและประสบการณ์การทำงานประวัติและประสบการณ์การทำงาน
ประวัติและประสบการณ์การทำงาน
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
 
Information professional and digital economy
Information professional and digital economyInformation professional and digital economy
Information professional and digital economy
 
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

ไฟฟ้ามาจากไหน