SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
A : เดินหน้า 1 ช่อง
B : เลี้ยว ซ้าย
C : เลี้ยว ขวา
A : เดินหน้า 1 ช่อง
B : เลี้ยว ซ้าย
C : เลี้ยว ขวา
A : เดินหน้า 1 ช่อง
B : เลี้ยว ซ้าย
C : เลี้ยว ขวา
A : เดินหน้า 1 ช่อง
B : เลี้ยว ซ้าย
C : เลี้ยว ขวา
กระบวนการแก้ปัญหา
การเรียนกรสอนวิทยาศาสตร์มีจุดมุ่งหมายประการหนึ่ง คือ เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึก
แก้ปัญหาต่างๆ โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติอย่างมีระบบ ผลที่ได้จากการฝึกจะช่วยให้
ผู้เรียนสามารถตัดสินใจแก้ปัญหาต่างๆ ด้วยวิธีการคิดอย่างสมเหตุสมผล โดยใช้กระบวนการหรือ
วิธีการ ความรู้ทางทักษะต่างๆ และทาความเข้าใจปัญหานั้น มาประกอบกันเพื่อเป็นข้อมูลในการ
แก้ปัญหา
กระบวนการแก้ปัญหา มีขั้นตอนดังนี้
1) การทาความเข้าใจปัญหา
2) การวางแผนในการแก้ปัญหา
3) การดาเนินการแก้ปัญหาตามแผนที่วางไว้
4) การตรวจสอบ
IPO Model
(Program
Flowchart)
ขั้นตอนในการพัฒนาโปรแกรม
การวิเคราะห์ปัญหา
การเขียนผังงาน
- ผังงานแบบลาดับ
- ผังงานแบบเงื่อนไข
- ผังงานแบบวนซ้า
การทางานแบบตามลาดับ
(Sequence)
การเขียนให้ทางานจากบนลงล่าง เขียนคาสั่งเป็นบรรทัด และทาทีละบรรทัดจากบรรทัด
บนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการทางาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คานวณ และ
พิมพ์ จะเขียนเป็นผังงาน(Flowchart) ในแบบตามลาดับได้ตามภาพ
การเลือกกระทาตามเงื่อนไข
(Decision)
การเขียนโปรแกรมเพื่อนาค่าไปเลือกกระทา โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทา 2
กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะกระทากระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทาอีกกระบวนการ
หนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผัง
งานนี้จะแสดงผลการเลือกอย่างง่าย เพื่อกระทากระบวนการเพียงกระบวนการเดียว
การทาซ้า(Repeation or Loop)
การทากระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม หมายถึงการทาซ้าเป็น
หลักการที่ทาความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่
แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผังงาน(Flowchart) ผู้เขียนโปรแกรมต้องจินตนาการ
ถึงรูปแบบการทางาน และใช้คาสั่งควบคุมด้วยตนเอง ตัวอย่างผังงานที่นามาแสดงนี้เป็นการแสดง
คาสั่งทาซ้า(do while) ซึ่งหมายถึงการทาซ้าในขณะที่เป็นจริง และเลิกการทาซ้าเมื่อเงื่อนไข
เป็นเท็จ
สัญลักษณ์ผังงาน (Flowchart Symbols)
• สัญลักษณ์ที่ใช้เขียนผังงานเป็นสัญลักษณ์มาตรฐานสากล กาหนดขึ้นโดย ANSI (The
American National Standard Institute)
ภาพสัญลักษณ์ ความหมาย
Processing กระบวนการ การคานวณ
Input/Output
Data
ข้อมูล รับหรือแสดงข้อมูลโดยไม่
ระบุชนิดอุปกรณ์
ครูพีระพงษ์ ปรีดาชม โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต
สัญลักษณ์ผังงาน (Flowchart Symbols)
ภาพสัญลักษณ์ ความหมาย
Decision
Symbol การตัดสินใจ การเปรียบเทียบ
Document
Output
เอกสารแสดงผล, การแสดงผลทาง
เครื่องพิมพ์
ครูพีระพงษ์ ปรีดาชม โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต
สัญลักษณ์ผังงาน (Flowchart Symbols)
ภาพสัญลักษณ์ ความหมาย
Preparation
Symbol
การเตรียมการ การกาหนดค่า
ล่วงหน้าหรือกาหนดค่าเป็นชุดตัวเลข
Manual Input
ป้อนข้อมูลด้วยตนเอง การรับข้อมูล
เข้าทางแป้นพิมพ์
Manual Control
ขั้นตอนที่ทาด้วยตนเอง การควบคุม
โปรแกรมทางแป้นพิมพ์
ครูพีระพงษ์ ปรีดาชม โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต
สัญลักษณ์ผังงาน (Flowchart Symbols)
ภาพสัญลักษณ์ ความหมาย
More Document เอกสารแสดงผลหลายฉบับ
Monitor จอภาพแสดงผล
Card การ์ดหรือบัตรเจาะรู ใช้ใส่ข้อมูล
Tape เทป (สื่อบันทึกข้อมูล)
ครูพีระพงษ์ ปรีดาชม โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต
สัญลักษณ์ผังงาน (Flowchart Symbols)
ภาพสัญลักษณ์ ความหมาย
Start/End Symbol
เริ่มต้น/สิ้นสุด, การเริ่มต้นหรือการ
ลงท้าย
Connection
Symbol จุดเชื่อมต่อในหน้าเดียวกัน
Connection
Symbol ตัวเชื่อมต่อไปหน้าอื่น
จุดร่วมการเชื่อมต่อ
ครูพีระพงษ์ ปรีดาชม โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต
สัญลักษณ์ผังงาน (Flowchart Symbols)
ภาพสัญลักษณ์ ความหมาย
ดิสก์แม่เหล็ก
หน่วยเก็บแบบเข้าถึงโดยตรง
Flow Line เส้นแสดงลาดับกิจกรรม
Comment Line แสดงคาอธิบายหรือหมายเหตุ
ครูพีระพงษ์ ปรีดาชม โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต
สัญลักษณ์ที่ใช้บ่อย
• แทนการประมวลผลทั่วไป ยกเว้นการอ่านข้อมูลและการแสดงผลลัพธ์
• แทนการนาข้อมูลเข้า (Input) และการนาผลลัพธ์ออก (Output) โดยทั้ง
2 กรณีนี้ยังไม่ได้ระบุชนิดเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ใช้
• แทนกิจกรรมเปรียบเทียบข้อมูลกับเงื่อนไข โดยมีเส้นทางออกเป็น
ทางเลือก
• แทนจุดเริ่มต้น และจุดสิ้นสุดงาน ซึ่งอาจเป็นทั้งโปรแกรมย่อย
(Subroutine) หรือโปรแกรมหลัก
ครูพีระพงษ์ ปรีดาชม โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต
สัญลักษณ์ที่ใช้บ่อย
อ่านข้อมูล...
อ่านข้อมูล...
อ่านข้อมูล...
อ่านข้อมูลจากแป้นพิมพ์
อ่านข้อมูลจากอุปกรณ์ใดๆ
สัญลักษณ์แทนการอ่านข้อมูลที่ระบุและไม่ระบุอุปกรณ์
ครูพีระพงษ์ ปรีดาชม โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต
สัญลักษณ์ที่ใช้บ่อย
แสดงผล...
แสดงผล...
แสดงผล...
แสดงผล...
แสดงผลทางจอภาพ
แสดงผลในรูปเอกสาร
(เครื่อง printer)
แสดงผลทางอุปกรณ์ใดๆ
สัญลักษณ์แทนการแสดงผลโดยระบุและไม่ระบุอุปกรณ์
ครูพีระพงษ์ ปรีดาชม โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต
ขั้นตอนพัฒนาโปรแกรม
การพัฒนาโปรแกรม 5 ขั้นตอน
1. กาหนดปัญหา
2. วิเคราะห์ปัญหา
3. เขียนผังงาน
4. เขียนโปรแกรม
5. ทดสอบโปรแกรม
ปัญหาคืออะไร?
คาตอบที่ต้องการคืออะไร
Output
ผลลัพธ์
Problem
กาหนดปัญหา
Analysis
วิเคราะห์ปัญหา
Flowchart
เขียนผังงาน
Testing
ทดสอบโปรแกรม
Input
ข้อมูล
Program
เขียนโปรแกรม
วิเคราะห์ปัญหา
วิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis) : 3 ขั้นตอน
1. การรับข้อมูล (input Data)
2. การคานวณ (Process)
3. การแสดงผลลัพธ์ (Output Result)
ข้อมูล Input และ Out put ในโปรแกรมจะต้องเก็บไว้ใน Memory
ผ่านตัวแปร (Variables) เช่น x,y,…..
ตัวอย่างที่ 1.1
 การวิเคราะห์ปัญหา การคานวณผลบวก ที่คล้ายการทางาน
ของเครื่องคิดเลขอย่างง่าย
 ตัวแปร X , Y สาหรับเก็บค่าของเลข 2 ค่า
 ตัวแปร Sum สาหรับเก็บผลลัพธ์
การวิเคราะห์ปัญหา
1) Input : รับค่า X , Y
2) Process : คานวณ Sum = X + Y
3) Output : พิมพ์ค่า Sum
…
Memory
X
Y
Sum
ตัวอย่างที่ 1.2
 การวิเคราะห์ปัญหา การคานวณค่าเฉลี่ยของเลข 3 ค่า
 ตัวแปร X1 , X2 , X3 สาหรับเก็บค่าของเลข 3 ค่า
 ตัวแปร Sum สาหรับเก็บผลบวก
 ตัวแปร Mean สาหรับเก็บค่าเฉลี่ย
การวิเคราะห์ปัญหา
1) Input : รับค่า X1 , X2 , X3
2) Process : คานวณ Sum = X1 + X2 + X3
Mean = Sum/3
3) Output : พิมพ์ค่า Mean
…
Memory
X
1X
2X
3Sum
Mea
n
ตัวอย่างที่ 1.3
 การวิเคราะห์ปัญหา การคานวณค่าเฉลี่ยของเลข N ค่า
 ตัวแปร N สาหรับเก็บจานวนค่า
 ตัวแปร i สาหรับเก็บค่าของการกาหนดจานวนรอบ(โปรแกรมวนซ้า)
 ตัวแปร X สาหรับเก็บค่าของเลข N ค่า (เป็นข้อมูลเข้าในแต่ละรอบ)
 ตัวแปร Sum สาหรับเก็บผลบวก (แบบสะสมในแต่ละรอบ)
 ตัวแปร Mean สาหรับเก็บค่าเฉลี่ย
 การวิเคราะห์ปัญหา
1) Input : รับค่า N (1ครั้ง) และรับค่า X (N ครั้ง) โดยรับรอบละค่า
2) Process : ในแต่ละรอบ (i= 1 , 2 , …. , N)
- รับค่า X
- คานวณ Sum = Sum + X
จบการทางานซ้า (เมื่อครบ N รอบ)
คานวณ Mean = Sum/N
3) Output : พิมพ์ค่า Mean …
Memory
X
Sum
Mea
n
N
การเขียนผังงาน
 ผังงาน (Flowchart) เป็นแผนภาพที่ใช้อธิบายขั้นตอน
และลาดับการทางานของโปรแกรมตั้งแต่เริ่มจนจบ
สัญลักษณ์พื้นฐานที่ใช้ในผังงาน
รูปแบบของผังงาน
1. ผังงานแบบลาดับ
2. ผังงานแบบเงื่อนไข
3. ผังงานแบบวนซ้า
1. ผังงานแบบลาดับ
 ผังงานแบบลาดับ (Sequence)
แสดงขั้นตอนการทางานที่ทางาน
ตามลาดับ (จากบนลงล่าง)
ไม่มีการข้ามขั้น หรือย้อนกลับ
start
Input
Process
Output
end
ตัวอย่าง 1.4
 แสดง Flowchart ของการหาผลบวก (Sum)
ของข้อมูล 2 ค่า (X , Y) พร้อมแสดงผลบวก
start
Input X,Y
Sum = X+Y
Print Sum
end
…
Memory
X
Y
Sum
50
10
0
150
2. ผังงานแบบเงื่อนไข
 ผังงานแบบเงื่อนไข (Decision)
แสดงการทางานตามเงื่อนไขที่จะต้องเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
ซึ่งมี 3 กรณี คือ เลือกจาก 1 , 2 และ n เส้นทาง
2.1 เงื่อนไขทางเลือกจาก 1 เส้นทาง
check
condition Statement(s)
yes
no
จะทางาน (Statement) เมื่อเงื่อนไขเป็นจริง
เท่านั้น
ตัวอย่าง 1.5
 แสดง Flowchart เพื่อตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อคัดเลือกที่
สอบผ่าน (คะแนน X>=60) และแสดงผลเฉพาะผู้ที่สอบ
ผ่าน
…
Memory
X
start
end
Input ID,X
X >= 60 yes
Print ID,X
no
2.2 เงื่อนไขทางเลือกจาก 2 เส้นทาง
เมื่อเงื่อนไขเป็นจริงจะทา (Statement 1)
เมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จจะทา (Statement 2)
check
conditionyes
statement 1
no
statement 2
ตัวอย่าง 1.6
 แสดง Flowchart เพื่อแบ่งนักศึกษาเป็น 2
กลุ่ม
ตามเพศ คือ ชาย (Male) หรือหญิง
(Female)
start
end
Input ID,
Name,Gender
Gender=‘M’
yesPrint “Male”
Print “Female”
no
2.3 เงื่อนไขทางเลือกจาก n เส้นทาง
เมื่อเงื่อนไข 1 เป็นจริงจะทาคาสั่ง 1 (statement1)
ถ้าไม่แต่เงื่อนไข 2 เป็นจริงจะทาคาสั่ง 2 (statement2)
. . .
ถ้าไม่แต่เงื่อนไข n-1 เป็นจริงจะทาคาสั่ง n-1 (statement n-1)
statement n
cond1 yes statement1
no
cond2 statement2yes
no
cond3 statement3yes
no
condn-1 statement n-1
yes
no
ถ้าไม่จะทาคาสั่งสุดท้าย คือ n (statement n)
ถ้าไม่แต่เงื่อนไข 3 เป็นจริงจะทาคาสั่ง 3 (statement3)
ตัวอย่าง 1.7
 แสดง Flowchart เพื่อตัดเกรดตามคะแนน
พร้อมแสดงผลทางลัพธ์
เงื่อนไข >>>
คะแนน 80-100 เกรด A
คะแนน 70-79 เกรด B
คะแนน 60-69 เกรด C
คะแนน 50-59 เกรด D
คะแนน < 50 เกรด F
37
Grade = ‘F’
end
Input ID
Name,X
Print Grade
X >= 80 yesGrade = ‘A’
no
X >= 70 yesGrade = ‘B’
no
X >= 60 yesGrade = ‘C’
no
X >= 50 yesGrade = ‘D’
no
start
3. ผังงานแบบวนซ้า
 การทาซ้า (Looping) แบ่งเป็น 3
กรณี
While , do-while ,
for
3.1 การทาซ้าที่มีเงื่อนไขแบบ While
no
exit loop
statement(s)
check
condition
yes
ตรวจสอบเงื่อนไขก่อน
จะทางาน (Statement) ซ้าเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง
(ออกจากทาซ้าเมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ)
3.1 การทาซ้าที่มีเงื่อนไขแบบ While
 การทาซ้า (ขั้นพื้นฐาน) ที่นิยม คือ กาหนดตัวแปรเก็บค่าเลขนับ
(เช่น I = 1, 2, 3, … , 100) เพื่อควบคุมรอบการทาซ้า
กาหนดค่า I = 1, 2, 3, ..., 99, 100
ค่าเริ่มต้น
ค่าสุดท้าย
ค่าเพิ่ม
I=1
I=100
I=I+1
3 คาสั่งในการทาซ้า
yes
while I<=100
start
I = 1
no
Print I
end
I = I+1
ตัวอย่าง 1.8
 แสดง Flowchart เพื่อคานวณ ผลบวกของเลขนับ
1+2+...+100 (ด้วยคาสั่ง while)
กาหนดค่า I = 1, 2, 3, ..., 100
คานวณ SUM = 1+2+3+...+100
ค่าเริ่มต้น
ค่าสุดท้าย
ค่าเพิ่ม
I=1
I=100
I=I+1
ค่า SUM เริ่มต้น
ค่า SUM เพิ่ม
SUM=0
SUM+I
3 คาสั่งในการทาซ้า
SUM = SUM+I
I = I+1
start
end
yes
while I<=100
no
Print SUM
I = 1
SUM = 0
3.1 การทาซ้าที่มีเงื่อนไขแบบ Do-
While
42
และทาซ้าถ้าเงื่อนไขเป็นจริง
ทางาน (Statement) ก่อน
จึงทาการตรวจเงื่อนไขstatement(s)
check
condition
yes
exit loopno
(จนกระทั่งเงื่อนไขเป็นเท็จจึง
ออกจากทางานซ้า)
ตัวอย่าง 1.9
 แสดง Flowchart เพื่อคานวณ ผลบวกของเลขนับ
1+2+...+100 (ด้วยคาสั่ง do-while)
กาหนดค่า I = 1, 2, 3, ..., 100
คานวณ SUM = 1+2+3+...+100
ค่าเริ่มต้น
ค่าสุดท้าย
ค่าเพิ่ม
I=1
I=100
I=I+1
ค่า SUM เริ่มต้น
ค่า SUM เพิ่ม
SUM=0
SUM+I
3 คาสั่งในการทาซ้า
3.3 การทาซ้าตามจานวนที่ระบุ For
44
โดยเริ่มจากรอบเริ่มต้น (i=1) ไป
ยังรอบสุดท้าย (i=N)
ทางานตามรอบที่กาหนด
แต่ละรอบปกติจะเพิ่มทีละ 1 ค่า
(i = i+1))
(ออกจากทางานซ้าเมื่อ i > N)
ตัวอย่าง 1.10
แสดง Flowchart เพื่อคานวณ ผลบวก ของเลขนับ1+2+...+100
(ด้วยคาสั่ง for)
กาหนดให้ I = 1, 2, 3, ..., 100
SUM = SUM+I
yes
for I=1 to 100
start
SUM = 0
no
Print SUM
end
ค่าเริ่มต้น
ค่าสุดท้าย
ค่าเพิ่ม
I=1
I=100
I=I+1
3 ค่าในการทาซ้า
กาหนดใน for เดียว
คานวณ SUM = 1+2+3+...+100
ตัวอย่าง 1.11แสดง Flowchart เพื่อคานวณ ผลคูณ 1x2x...x10
กาหนดให้ I = 1, 2, 3, ..., 100
SUM = SUM+I
yes
for I=1 to 100
start
SUM = 0
no
Print SUM
end
ค่าเริ่มต้น
ค่าสุดท้าย
ค่าเพิ่ม
I=1
I=100
I=I+1
3 ค่าในการทาซ้า
กาหนดใน for เดียว
คานวณ MUL= 1X2X3X...X100
ตัวอย่าง 1.12
แสดง Flowchart เพื่อคานวณ สูตรคูณแม่ T (เช่น T=2)
กาหนด i=1, 2, …, 12, และ R = T x i
T x i = R
2 x 1 = 2
2 x 2 = 4
2 x 3 = 6
2 x 4 = 8
2 x 5 = 10
2 x 6 = 12
2 x 7 = 14
2 x 8 = 16
2 x 9 = 18
2 x10 = 20
2 x11 = 22
2 x12 = 24
R = T x i
i
<=12
for i=1 to 12
start
Print T, i, R
i > 12
end
Input T
โจทย์คาถาม
1) แสดง Flowchart ของการหาผลคูณ ของข้อมูล 3 ค่า พร้อมแสดงผลคูณ
2) แสดง Flowchart เพื่อตรวจสอบเงื่อนไขผู้ที่มาชาระเงินค่าเล่าเรียน 1000 บาทว่าพอ
จ่ายหรือไม่
และแสดงผลเฉพาะผู้ที่มีเงินครบ (คนที่ไม่พอจ่ายไม่ต้องแสดงชื่อ)
3) แสดง Flowchart เพื่อตัดเกรดตามคะแนน พร้อมแสดงผลลัพธ์
เงื่อนไข คะแนน 80-100 เกรด 4 คะแนน 75-79 เกรด 3.5
คะแนน 70-74 เกรด 3 คะแนน 65-69 เกรด 2.5
คะแนน 60-64 เกรด 2 คะแนน 55-59 เกรด 1.5
คะแนน 50-54 เกรด 1 คะแนน < 50 เกรด 0
4) จงเขียนผังงานแสดงคานวณหาค่าเฉลี่ยคะแนนนักเรียนจานวน 10 คน พร้อมแสดงผลลัพธ์
โจทย์คาถาม
1. จงเขียนผังงานแสดงคานวณพื้นที่สามเหลี่ยมโดยมีสูตร พื้นที่สามเหลี่ยม = 0.5*ฐาน*สูง
2. จงเขียนผังงานแสดงคานวณหาผลรวมของ 1+3+5+9+11+..+99
3. จงเขียนผังงานแสดงคานวณหาผลรวมของเลขคู่ตั้งแต่ 0 จนถึง 500
4. จงเขียนผังงานแสดงคานวณหาค่าเฉลี่ยคะแนนนักเรียนจานวน 10 คน
5. จงเขียนผังงานแสดงคานวณหาค่าเฉลี่ยคะแนนนักเรียนจนกว่าจะหมดข้อมูล
6. จงเขียนผังงานแสดงคานวณหาภาษีตามหลักเกณฑ์ดังนี้
o รายได้อยู่ในช่วง 1 บาท – น้อยกว่า 50,000 บาทคิดภาษี 5% ขอรายได้
o รายได้อยู่ในช่วง 50,000 บาท – น้อยกว่า 75,000 บาทคิดภาษี 10% ขอรายได้
o รายได้อยู่ในช่วง 75,000 บาท – น้อยกว่า 100,000 บาทคิดภาษี 15%ขอรายได้
o รายได้อยู่ในช่วง 100,000 บาทขึ้นไป คิดภาษี 20% ขอรายได้

More Related Content

What's hot

การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4Thanawut Rattanadon
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตพัน พัน
 
การผูกผ้า
การผูกผ้าการผูกผ้า
การผูกผ้าThakorn Yimtae
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์pavinee2515
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
แบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการแบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการNoir Black
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษรซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษรPawaputanon Mahasarakham
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft WordSupreeyar philarit
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างkrupeak
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกาWararit Wongrat
 

What's hot (20)

Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิต
 
การผูกผ้า
การผูกผ้าการผูกผ้า
การผูกผ้า
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
แบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการแบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการ
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษรซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
รูปแบบการสอนแบบทางตรง
รูปแบบการสอนแบบทางตรงรูปแบบการสอนแบบทางตรง
รูปแบบการสอนแบบทางตรง
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 

Similar to 03 โครงสร้างและผังงานโปรแกรม

Khsb kaaraekpayhaa aelakhantnwithii
Khsb kaaraekpayhaa aelakhantnwithiiKhsb kaaraekpayhaa aelakhantnwithii
Khsb kaaraekpayhaa aelakhantnwithiiChaiyanankaewthep
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่Chon Chom
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)kroojaja
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์Pasit Suwanichkul
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันkrurutsamee
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศNattapon
 
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์เทวัญ ภูพานทอง
 

Similar to 03 โครงสร้างและผังงานโปรแกรม (20)

Khsb kaaraekpayhaa aelakhantnwithii
Khsb kaaraekpayhaa aelakhantnwithiiKhsb kaaraekpayhaa aelakhantnwithii
Khsb kaaraekpayhaa aelakhantnwithii
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
 

03 โครงสร้างและผังงานโปรแกรม