SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
WelcomeWelcome
พวกเราจะนำาเสนอเรื่อง....
อัตราส่วนและ
ร้อยละ

อัตราส่วนอัตราส่วน
คือปริมาณอย่างหนึ่งที่แสดงถึง
จำานวนหรือขนาดตามสัดส่วนเมื่อเปรียบ
เทียบกับอีกปริมาณหนึ่งที่เกี่ยวข้องกัน
อัตราส่วนจะเป็นปริมาณที่ไม่มีหน่วย
หากอัตราส่วนนั้นเกี่ยวข้องกับปริมาณที่
อยู่ในมิติเดียวกัน และเมื่อปริมาณสอง
อย่างที่เปรียบเทียบกันเป็นคนละชนิดกัน
หน่วยของอัตราส่วนจะเป็นหน่วยแรก
"ต่อ" หน่วยที่สอง
...ก่อนอื่นเรามาทำาความรู้จักอัตราส่วนและร้อย
ละกันก่อนนะคะ...
ตัวอย่างเช่น ความเร็วสามารถแสดงได้ใน
หน่วย "กิโลเมตรต่อชั่วโมง" เป็นต้น ถ้าหน่วยที่
สองเป็นหน่วยวัดเวลา เราจะเรียกอัตราส่วนชนิดนี้
ว่า อัตรา (rate)
อัตราส่วน 2:3 (สองต่อสาม) หมายความว่า
ปริมาณทั้งหมดประกอบขึ้นจากวัตถุแรก 2 ส่วน
และวัตถุหลังอีก 3 ส่วน ดังนั้นปริมาณวัตถุจะมี
ทั้งหมด 5 ส่วน
 ร้อยละ
อัตราร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์
(percentage/percent) คือแนวทางในการนำา
เสนอจำานวนโดยใช้เศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น
100 มักใช้สัญลักษณ์เป็น เครื่องหมาย
เปอร์เซนต์ "%" เช่น ร้อยละ 45 หรือ 45% มี
ค่าเทียบเท่ากับ
100
4
 การเขียนอัตราส่วนให้อยู่การเขียนอัตราส่วนให้อยู่
ในรูปร้อยละในรูปร้อยละ
การเขียนอัตราส่วนใดให้อยู่ในรูปร้อยละ จะต้อง
เขียนด้วยอัตราส่วนนั้นให้อยู่ในรูปที่มีจำานวนหลังของ
อัตราส่วนเป็น 100 แล้วจะได้จำานวนแรกของอัตราส่วน
เป็นค่าร้อยละที่ต้องการ เช่น
 การเขียนร้อยละให้อยู่ในการเขียนร้อยละให้อยู่ใน
รูปอัตราส่วนรูปอัตราส่วน
การเขียนร้อยละให้เป็นอัตราส่วนทำาได้โดย
เขียนเป็นอัตราส่วนที่มีจำานวนแรกเป็นค่าของร้อยละ
และจำานวนหลังเป็น 100 ดังตัวอย่างต่อไปนี้.....
 อัตราส่วนหลายหลายอัตราส่วนหลายหลาย
จำานวนจำานวน
อัตราส่วนของจำานวนหลายๆ จำานวน a : b : c เรา
สามารถเขียนอัตราส่วนของ จำานวนทีละสองจำานวนได้
เป็น a : b และ b : c
เมื่อ m แทนจำานวนบวกใดๆ จะได้ว่า a : b =
am : bm และ b : c = bm : cm ดังนั้น a : b : c = am :
bm : cm เมื่อ m แทนจำานวนบวก ในทำานองเดียวกัน
ถ้ามีอัตรส่วนของจำานวนที่มากกว่าสามจำานวนก็สามารถ
ใช้หลักการเดียวกันนี้ เช่น a : b : c : d = am : bm :
cm : dm เมื่อ m แทนจำานวนบวก
ตัวอย่าง รูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งอัตราส่วนของความยาวของ
ด้านทั้งสามเป็น 2:5:6 ถ้าด้านที่สั้นที่สุดยาว 8 เซนติเมตร
จงหาความยาวรอบรูป
วิธีทำา ในอัตราส่วนที่กำาหนดให้ 2:5:6 มี 2 เป็นความยาว
ของด้านที่สั้นที่สุด ถ้าต้องการให้ด้านที่สั้นที่สุดยาวเป็น 8
จะต้องนำา 4 มาคูณทุกจำานวนในอัตราส่วนนี้
จากอัตราส่วนของความยาวของด้านทั้งสาม ของรูป
สามเหลี่ยม เป็น 2:5:6
จะได้ดังนั้นความยาวรอบรูป
เท่ากับ
ตอบตอบ 5252 เซนติเมตรเซนติเมตร
 อัตราส่วนที่อัตราส่วนที่
เท่ากันเท่ากัน
หลักการคูณ เมื่อคูณแต่ละจำานวนในอัตราส่วน
ใดด้วยจำานวนเดียวกันโดยที่จำานวนนั้นไม่เท่ากับ
ศูนย์ จะได้อัตราส่วนใหม่ที่เท่ากับอัตราส่วนเดิม
หลักการหาร เมื่อหารแต่ละจำานวนใน
อัตราส่วนใดด้วยจำานวนเดียวกันโดยที่จำานวนนั้นไม่
เท่ากับศูนย์ จะได้อัตราส่วนใหม่ที่เท่ากับอัตราส่วน
เดิม
ตัวอย่างที่ จงหาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วน 7:9 มาอีก 2
อัตราส่วนโดยใช้หลักการคูณ
วิธีทำา
18
14
29
27
9
7
9:7 =
×
×
==
27
21
39
37
9
7
9:7 =
×
×
==
ดังนั้น อัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วน 7:9
คือ 14:18 และ 21:27
โดยทั่วไปเราสามารถตรวจสอบการเท่ากันของ
อัตราส่วน
ด้วยการ คูณไขว้
b
a
d
c
แล้วพิจารณา ผลคูณไขว้ a x d และ b x c ตามหลักการ
ดังนี้
ถ้า a x d = b x c  แล้ว
d
c
b
a
=
ถ้า a x d ≠ b x
c แล้ว
d
c
b
a
≠
ตัวอย่าง  จงตรวจสอบว่าอัตราส่วนในข้อนี้เท่ากัน
หรือไม่
6
2
แล
ะ
45
15วิธีทำา
6
2
45
15
จะได้ 2×45 = 90
6×15 = 90
ดังนั้น 2×45 =
6×15
นั่นคือ
45
15
6
2
=
 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
ร้อยละร้อยละ
เพื่อนๆลองพิจารณาตัวอย่างโจทย์และวิธีแก้
ปัญหาโจทย์เกี่ยวกับร้อยละ โดยใช้สัดส่วนต่อไปนี้กัน
ดูนะ
โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียน 1,800 คน
นักเรียนที่หนักเกิน 60 กิโลกรัม 81 คน จงหาว่า
จำานวนนักเรียนที่หนักเกิน 60 กิโลกรัม คิดเป็นกี่
เปอร์เซ็นต์ของ จำานวนนักเรียนทั้งหมด
เราลองมาดูวิธีการทำาพร้อมๆกัน
เลย...
วิธีทำา ให้จำานวนนักเรียนที่หนักเกิน 60 กิโลกรัม เป็น x%
ของจำานวนนักเรียนทั้งหมด เขียนสัดส่วนได้ดังนี้
800,1
81
100
=
x
จะ
ได้
800,1
81100
81100800,1
×
=
×=×
x
x
ดัง
นั้น
5.4=x
เราลองมาดูตัวอย่างกันอีกสักข้อดี
กว่านะ...
ร้านทำาเครื่องเรือนแห่งหนึ่งรับเหมาทำาโต๊ะ และม้า
นั่งนักเรียนให้แก่โรงเรียนแห่งหนึ่งเป็นเงิน 28,600 บาท
ปรากฏว่ามีกำาไร 10% อยากทราบว่าต้นทุนของการทำาโต๊ะ
และม้านั่งนี้เป็นเท่าไร
วิธีทำา      ให้ต้นทุนของโต๊ะและม้านั่งเป็นเงิน x บาท
อัตราส่วนของต้นทุนต่อค่ารับเหมาทำาโต๊ะและม้านั่ง เป็น
600,28
x
ได้กำาไร 10% แสดงว่าต้นทุน 100 บาท ต้องคิดค่ารับเหมา
110 บาท
จะได้อัตราส่วนของต้นทุนต่อค่ารับเหมาทำาโต๊ะและม้านั่ง
เป็น
110
100
000,26
110
100600,28
100600,28110
110
100
600,28
=
×
=
×=×
=
x
x
x
x
เขียนอัตราส่วนได้ดังนี้
นั่นคือ ต้นทุนของโต๊ะและม้านั่งเป็น
26,000 บาท
ตอบ 26,000 บาท
สัดส่ว
น
คือ อัตราส่วนสองอัตราส่วนที่เท่ากัน สำาหรับ
การหาค่าตัวแปรในอัตราส่วน ใช้หลักการคูณ
ไขว้ในการแก้สมการ
การแก้โจทย์ปัญหาสัดส่วน
 การแก้ปัญหาโจทย์สัดส่วน
     1. อ่านโจทย์ให้เข้าใจว่าโจทย์ต้องการอะไร และให้
ข้อมูลอะไรมาบ้าง
     2. สมมุติตัวแปร  แทนสิ่งที่ต้องการ
     3. เขียนเป็นสัดส่วน (เปลี่ยนประโยคภาษาไทยให้
เป็นประโยคสัญลักษณ์)
     4. หาค่าตัวแปรในสัดส่วน
     5. ตรวจสอบคำาตอบ (นำาคำาตอบที่ได้ไปแทนค่าใน
โจทย์) เพื่อความไม่ประมาท
ตัวอย่างตัวอย่าง  การผสมปูนใช้ปูนซีเมนต์และทรายผสมกันด้วย
อัตราส่วน 2 : 3  ถ้าต้องการปูนฉาบ  25 ถัง จะต้องใช้
ปูนซีเมนต์และทรายอย่างละเท่าไร
วิธีทำาวิธีทำา ปูนซีเมนต์และทรายมีอัตราส่วน 2 : 3 
        ปริมาณปูนฉาบทั้งหมด= 2 + 3 = 5 
        ปูนซีเมนต์ต่อปูนฉาบทั้งหมด = 2  ต่อ 5
        สมมุติให้ ปูนซีเมนต์ จำานวน x  ถัง(กฎคูณไขว้)
 ดังนั้น ใช้ปูนซีเมนต์จำานวน  10  ถัง    ใช้ทราย จำานวน 
25-10 = 15  ถัง
ตัวอย่าง
ที่ 1
จงหาค่าของ a ในสัดส่วน 4 :
7 = a : 28
วิธีทำา ใช้หลักการคูณไขว้
เนื่องจาก
จะได้
4 x 28 = 7 x aหารด้วย 7 ทั้ง
 สองข้าง จะได้
ดังนั้น 16 = a
นั่นคือ a = 16
ถ้าในสัดส่วนมีตัวแปรที่เราไม่ทราบค่า และต้องการหา
จำานวนซึ่งเมื่อ
แทนตัวแปรใน สัดส่วน แล้ว จะทำาให้สมการเป็นจริง เรามีวิธีการ
หา
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 2
จงหาค่าของ b ในสัดส่วน 5 : b =
60 : 36
วิธีทำา ใช้หลักการคูณไขว้
เนื่องจาก
จะได้
5 x 36 = b x 60หารด้วย 60 ทั้งสอง
 ข้าง จะได้
ดังนั้น 3 = b
นั่นคือ b = 3
แบบทดสอบความ
เข้าใจ
ข้อที่ข้อที่ 11))
ห้องเรียนห้องหนึ่งมีความกว้าง 8 เมตร ยาว 10 เมตร อัตราส่วนระหว่างความ
กว้างต่อพื้นที่ห้องเท่ากับเท่าไร
1. 5:8
2. 1:10
3. 18:80
4. 8:5
ข้อที่ข้อที่ 2)2)
รูปปลาวาฬในหนังสือเล่มหนึ่ง ใช้มาตราส่วน 1:1000 ถ้าวัดรูปปลาวาฬใน
หนังสือได้ยาว 3.8 ซม. ปลาวาฬตัวจริง ยาวกี่เมตร
1. 3.8 เมตร
 2. 38 เมตร
 3. 308 เมตร
 4. 380 เมตร
ข้อที่ข้อที่ 3)3)
ชาวสวนปลูกต้นลำาไยในสวน 240 ต้น เขาจะต้องปลูกต้นฝรั่งกี่ต้น จึงจะทำาให้
อัตราส่วนต้นฝรั่งต่อต้นลำาไยเท่ากับ 2:5
1. 60 ต้น
2. 84 ต้น
3. 96 ต้น
4.100 ต้น
ข้อที่ข้อที่ 4)4)
มานีทำาขนมคุกกี้ใช้แป้ง 3 ส่วนต่อนำ้าตาล 1 ส่วน ถ้าเขาใช้นำ้าตาล 4 ถ้วยจะ
ต้องใช้แป้งกี่ถ้วย
1. 6 ถ้วย
2. 7 ถ้วย
3. 10 ถ้วย
4. 12 ถ้วย
ข้อที่ข้อที่ 5)5)
ส้ม 500 ผล เน่าเสีย 12 % เหลือส้มดีเป็นอัตราส่วนต่อส้มทั้งหมดเท่าไร
1. 23:27
2. 22:27
 3. 22:25
 4. 20:25
ข้อที่ข้อที่ 6)6)
วิชัยซื้อหนังสือพิมพ์มาขาย ต้นทุนฉบับละ 2.50 บาท แต่ขายไปราคา 3.00
บาท อัตราส่วนต้นทุนต่อราคาขายเท่ากับเท่าไร
1. 6:5
  2. 5:6
  3. 5:4
  4. 4:5
อุ๊บส์อุ๊บส์!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!! มาดูกันสิมาดูกันสิ
ว่าว่า
เพื่อนๆทำากันถูกรึเพื่อนๆทำากันถูกรึ
เปล่าเปล่า....
พวกเราขอจบการนำาเสนอ
เพียงเท่านี้ค่ะ....
#ขอบคุณที่ทนดูจนจบ
นะคะ^^
นำาเสนองานโดย:
1. ศศิประภา อินตาโย เลขที่
37
2. อารยา ตั้งเหล็กเพชร เลข
ที่ 40
3. ภาวิณี แดงทองคำา เลขที่
36
4. ณัฐการณ์ รัศมีสังข์ เลขที่
24

More Related Content

What's hot

เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละApirak Potpipit
 
สีและการผสมสี
สีและการผสมสีสีและการผสมสี
สีและการผสมสีพัน พัน
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุนApirak Potpipit
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศgchom
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 KruPa Jggdd
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่Somporn Amornwech
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาkrurutsamee
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการaispretty
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามsawed kodnara
 

What's hot (20)

เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
 
สีและการผสมสี
สีและการผสมสีสีและการผสมสี
สีและการผสมสี
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
57 submath
57 submath57 submath
57 submath
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
 

Similar to การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ

ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 
3.1chudthii1aibkhwaamruu1.1 eruueng atraaswn
3.1chudthii1aibkhwaamruu1.1 eruueng atraaswn3.1chudthii1aibkhwaamruu1.1 eruueng atraaswn
3.1chudthii1aibkhwaamruu1.1 eruueng atraaswnnisapron
 
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5T'Rak Daip
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละfern1707
 

Similar to การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ (6)

ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
 
อัตราส่วน
อัตราส่วนอัตราส่วน
อัตราส่วน
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
3.1chudthii1aibkhwaamruu1.1 eruueng atraaswn
3.1chudthii1aibkhwaamruu1.1 eruueng atraaswn3.1chudthii1aibkhwaamruu1.1 eruueng atraaswn
3.1chudthii1aibkhwaamruu1.1 eruueng atraaswn
 
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
 

การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ