SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
Download to read offline
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ หมายถึง ภาวะอากาศที่มีสารเจือปนอยู่ในปริมาณที่สูงกว่าระดับปกติเป็นเวลา นาน
พอที่จะทาให้เกิดอันตรายแก่มนุษย์ สัตว์พืช หรือทรัพย์สินต่าง ๆ อาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ฝุ่นละอองจาก
ลมพายุ ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว ไฟไหม้ป่า ก๊าซธรรมชาติอากาศเสียที่เกิดขึ้น โดยธรรมชาติเป็นอันตรายต่อ
มนุษย์น้อยมาก เพราะแหล่งกาเนิดอยู่ไกลและปริมาณที่เข้าสู่สภาพ แวดล้อมของมนุษย์และสัตว์มีน้อย กรณีที่เกิด
จากการกระทาของมนุษย์ ได้แก่ มลพิษจากท่อไอเสีย ของรถยนต์จากโรงงานอุตสาหกรรมจากขบวนการผลิตจาก
กิจกรรมด้านการเกษตรจากการระเหย ของก๊าซบางชนิด ซึ่งเกิดจากขยะมูลฝอยและของเสีย เป็นต้น
แหล่งกาเนิดสารมลพิษทางอากาศ
แหล่งกาเนิดมลพิษทางอากาศที่สาคัญของประเทศไทย แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ
ดังนี้
ยานพาหนะ
โรงงานอุตสาหกรรม
แหล่งกาเนิดจากยานพาหนะ
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วของประเทศจากภาคเกษตรกรรม มาเป็นภาคอุตสาหกรรมทาให้
กรุงเทพมหานครซึ่งเป็นศูนย์กลางของแหล่งธุรกิจและความเจริญมีจานวนประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิด
ความต้องการในการเดินทางและการขนส่งมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้เกิดปัญหาจราจรติดขัดเข้าขั้นวิกฤต และนับวันจะทวี
ความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ การจราจรที่ติดขัดทาให้รถเคลื่อนตัวได้ด้วยความเร็วต่า มีการหยุดและออกตัวบ่อยครั้ง ขึ้น
น้ามันถูกเผาผลาญมากขึ้น การสันดาปของน้ามันเชื้อเพลิงไม่สมบูรณ์ และมีการระบายสารมลพิษทางท่อไอเสียใน
สัดส่วนที่เพิ่มมากขึ้น ดังนั้นบริเวณที่ใกล้ถนนที่มีการจราจรติดขัด จะมีปัญหามลพิษทางอากาศที่รุนแรงกว่า ในบริเวณ
ที่มีการจราจรคล่องตัว สารมลพิษที่ระบายเข้าสู่บรรยากาศที่เกิดจาก การคมนาคมขนส่ง ได้แก่ ก๊าซ
คาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน
สารตะกั่วและก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
แหล่งกาเนิดจากโรงงานอุตสาหกรรม
มลพิษทางอากาศจากแหล่ง กาเนิดอุตสาหกรรม เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงและ
กระบวนการผลิต ซึ่งเป็นตัวการสาคัญที่ก่อให้เกิดผล กระทบต่อคุณภาพอากาศในบรรยากาศ
และอาจส่งผล กระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชน โดยทั่วไปหรือก่อให้เกิด
ความเดือดร้อนราคาญเชื้อเพลิงที่ใช้สาหรับอุตสาหกรรมมีอยู่ 3 ประเภทใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือ
เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็ง
เชื้อเพลิงที่เป็นของเหลว ได้แก่ น้ามันเตา และน้ามันดีเซล
เชื้อเพลิงที่เป็นก๊าซ ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ และก๊าซ LPG
สารมลพิษทางอากาศหลัก
1. ฝุ่นละออง ( Particle Matter : PM ) หมายถึง อนุภาคของแข็งหรือของเหลวที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
โดยประมาณอยู่ระหว่าง 0.001 ไมครอน ( 1 ไมครอน = 0.000001 เมตร ) ซึ่งเป็นขนาดของอนุภาคฝุ่นขนาดเล็ก
จนถึง 500 ไมครอน ซึ่งเป็นขนาดของทราย หยาบ เวลาที่อนุภาคมลสารเหล่านี้จะสามารถแขวนลอยอยู่ใน
บรรยากาศมีค่าตั้งแต่ไม่ กี่วินาทีจนถึงหลายๆ เดือนขึ้นอยู่กับขนาด นอกจากนี้อนุภาคมลสารจะเกิดปฏิกิริยาเคมี
กับสารอื่นๆ ได้ขึ้นอยู่กับชนิดของอนุภาคมลสารและสารเคมีที่จับอยู่บนอนุภาคมลสาร ทาให้เกิดเป็น
สารประกอบที่สามารถกัดกร่อนโลหะหรือเป็นอันตรายต่อพืชต่างๆ และยังมีผลกระทบต่อสุขภาพความเป็นอยุ่
ของมนุษย์อีกด้วย ผลของฝุ่นก่อให้เกิดผลได้ 3 ทาง ได้แก่
- ฝุ่นเป็นพิษเนื่องจากองค์ประกอบทางเคมีหรือลักษณะทางกายภาพ
- ฝุ่นเข้าไปรบกวนระบบหายใจ
- ฝุ่นเป็นตัวพาหรือดูดซับสารพิษและพาเข้าสู่ร่างกาย
2. ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ( CO ) เป็นก๊าซไม่มีสี และกลิ่น สามารถคงตัวอยู่ในบรรยากาศได้นาน 2 ถึง 4
เดือน โดยเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์เป็นหลัก มีผลต่อสุขภาพโดยจะเข้าไปรวมกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง
เป็นผลให้ความสามารถในการจับออกซิเจนของเม็ดเลือดแดง ลดลง ทาให้เซลล์ในร่างกายขาดออกซิเจนซึ่งอาจ
นาไปสู่การเสียชีวิตได้
3. สารประกอบซัลเฟอร์ออกไซด์ ( SOx ) ในบรรยากาศจะพบมากในรูปของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ( SO2 )
ซึ่งเป็นก๊าซไม่มีสี ไม่ติดไฟ และไม่ระเบิด อาจก่อให้เกิดรสได้ถ้ามีในปริมาณสูง ซัลเฟอร์ไดออกไซด์เมื่อนาน
เข้าจะถูกเปลี่ยนเป็นซัลเฟอร์ไซด์และกรดซัลฟูริ คและเกลือซัลเฟต โดยปฏิกิริยา catalytic หรือปฏิกิริยาเคมีแสง
( Photochemical Reaction ) ในอากาศ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์มักเกิดจาการเผาไหม้ของซัลเฟอร์ที่ปรากฏอยู่ใน
เชื้อ เพลิงที่มาจากปิโตรเลียมและถ่านหิน เป็นก๊าซมลพิษที่มีแหล่งกาเนิดหลักมาจากโรงงานอุตสาหกรรมและ
เครื่องยนต์ ดีเซล
4. สารประกอบไนโตรเจนออกไซด์ ( NOx) ก๊าซไนตริกออกไซด์ ( N2O ) และก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (
NO2 ) เกิดจากการสันดาปที่อุณหภูมิสูงและเป็นสารหลักในกลุ่มนี้ที่ก่อให้เกิดปัญหา มลภาวะทางอากาศ ก๊าซ
ไนโตรเจนไดออกไซด์สามารถทาปฏิกิริยาในละอองน้าเกิดเป็น กรดไนตริก ( HNO2 ) ที่สามารถกัดกร่อน
โลหะได้นอกจากนั้นสามารถทาปฎิกิริยาเคมีแสง ซึ่งจะลดความสามารถในการมองเห็นในบรรยากาศลง ก๊าซ
ไนโตรเจนไดออกไซด์มีความเป็นพิษ มากกว่าก๊าซไนตริกออกไซด์
5. ก๊าซโอโซน โอโซนเป็นสารโฟโตเคมีคอลออกซิแดนท์ประเภทหนึ่ง ซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาเคมี
Photochemical Oxidation ระหว่างสารประกอบไฮโดรคาร์บอน และก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน โดยมี
แสงแดดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา สารโฟโตเคมีคอลตัวอื่นๆ ได้แก่ สารประกอบพวกอัลดีไฮด์ คีโตนและ
Peroxyacetyl Nitrate (PAN) ก่อให้เกิดสภาพที่เรียกว่า Photochemical Smog ซึ่งมีลักษณะเหมือนหมอกสีขาว
ปกคลุมอยู่ทั่วไปในอากาศ โดยทั่วไปแล้ว ก๊าซโอโซนจะก่อให้เกิดการระคายเคืองตา และระคายเคืองต่อระบบ
ทางเดินหายใจ ลดความสามารถในการทางานของปอดลง
6. ตะกั่ว (Pb) ตะกั่วที่อยู่ในอากาศโดยเฉพาะในเมือง จะมาจากยานพาหนะที่ใช้นามันเบนซิน เนื่องจาก
ในน้ามันเบนซินจะมีสาร Tertrathyl Lead หรือ Tetramethyl Lead ผสมอยู่ เพื่อเพิ่มค่าออกเทนให้แก่
น้ามันเบนซิน สาหรับป้องกันการน็อกของเครื่องยนต์ ตะกั่วจะถูกระบายออกมาทางท่อไอเสียในรูปของ
อนุภาคของแข็ง ตะกั่วเป็นโลหะหนัก มีความเป็นพิษสูง และจะรุนแรงมากในเด็ก ก่อให้เกิดอันตรายต่อ
สุขภาพได้หลายอย่าง เช่น ทาลายไขกระดูกและเม็ดเลือดแดง ทาให้เกิดโรคโลหิตจาง สามารถถุก
ถ่ายทอดจากมารดาผ่านรกไปยังทารกที่อยู่ในครรภ์ได้
ปัญหามลพิษทางอากาศ
ภาวะของอากาศที่มีการเจือปนของสารพิษ ในปริมาณที่สามารถทาให้อากาศเสื่อม
คุณภาพ ก่อให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์สัตว์และพืช ทั้งทางตรงและทางอ้อม
ฝุ่ นละอองในบรรยากาศ เป็นปัญหามลพิษทางอากาศที่สาคัญที่สุดของกรุงเทพมหานคร และเมืองใหญ่ๆ และ
ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนทั้งทางตรง และทางอ้อม
ฝุ่นละอองคือ อนุภาคของแข็งขนาดเล็กที่ล่องลอยอยู่ในอากาศ ซึ่งเกิดจากวัตถุที่ถูกทุบ ตี บด กระแทก จนแตก
ออกเป็นชิ้นส่วนเล็ก ๆ เมื่อถูกกระแสลมพัดก็จะปลิวกระจายตัวอยู่ในอากาศ และตกลงสู่พื้น ซึ่งเวลาในการตกจะ
ช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับน้าหนักของอนุภาคฝุ่น แหล่งกาเนิดของฝุ่นจะแสดงถึงคุณสมบัติความเป็นพิษของฝุ่นด้วย
เช่น แอสเบสตอส ตะกั่ว ไฮโดรคาร์บอน กัมมันตรังสี
ฝุ่นแบ่งตามขนาดเป็น 2 ส่วน คือ ฝุ่นขนาดใหญ่ และฝุ่นขนาดเล็ก ซึ่งเรียกว่า PM10 (ฝุ่นละอองที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่
10 ไมครอนลงมา) แหล่งที่มาของฝุ่นละอองในบรรยากาศ โดยทั่วไปจะแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
ฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ (Natural Particle)
เกิดจากกระแสลมที่พัดผ่านตามธรรมชาติ ทาให้เกิดฝุ่น เช่น ดิน ทราย ละอองน้า เขม่าควันจากไฟป่า ฝุ่นเกลือจากทะเล
ฝุ่นละอองที่เกิดจากกิจกรรมที่มนุษย์(Man-made Particle)
- การคมนาคมขนส่ง
รถบรรทุกหิน ดิน ทราย ซีเมนต์หรือวัตถุที่ทาให้เกิดฝุ่น หรือดินโคลนที่ติดอยู่ที่ล้อรถ ขณะแล่นจะมีฝุ่นตกอยู่บนถนน แล้ว
กระจายตัวอยู่ในอากาศ ไอเสียจากรถยนต์เครื่องยนต์ดีเซลปล่อยเขม่า ฝุ่น ควันดา ออกมา ถนนที่สกปรก มีดินทรายตกค้าง
อยู่มาก หรือมีกองวัสดุข้างถนนเมื่อรถแล่นจะทาให้เกิดฝุ่นปลิวอยู่ในอากาศ การก่อสร้างถนนใหม่ หรือการปรับปรุงผิว
จราจร ทาให้เกิดฝุ่นมาก ฝุ่นที่เกิดจากยางรถยนต์และผ้าเบรค
- การก่อสร้าง
การก่อสร้างหลายชนิด มักมีการเปิดหน้าดินก่อนการก่อสร้าง ซึ่งทาให้เกิดฝุ่นได้ง่าย เช่น อาคาร สิ่งก่อสร้าง การ
ปรับปรุงสาธารณูปโภค การก่อสร้างอาคารสูงทาให้ฝุ่นปูนซีเมนต์ถูกลมพัดออกมาจากอาคาร การรื้อถอน ทาลาย
อาคารหรือสิ่งก่อสร้าง
- โรงงานอุตสาหกรรม
การเผาไหม้เชื้อเพลิง เช่น น้ามันเตา ถ่านหิน ฟืน แกลบ เพื่อนาพลังงานไปใช้ในการผลิต กระบวนการผลิตที่มีฝุ่น
ออกมา เช่น การปั่นฝ้าย การเจียรโลหะ การเคลื่อนย้ายวัตถุดิบ
ผลกระทบของมลพิษทางอากาศ
1. ทาอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ การที่สารที่มีอยู่ในอากาศจะเป็นอันตรายต่อร่างกายเพียงใดขึ้นอยู่กับ
ปริมาณ ของสารนั้นๆ สารมีความเป็นพิษร้ายแรงเพียงใด ระยะเวลาที่ร่างกายสัมผัสกับอากาศสกปรกนั้นๆ
ความต้านทานของร่างกาย ต่ออากาศสกปรก
2. ทาอันตรายต่อพืชและสัตว์ต่างๆ
3. ทาความเสียหายต่อทรัพย์สิน โดยก่อให้เกิดการกัดกร่อนต่อสิ่งก่อสร้าง วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ทาให้
เสื่อมสภาพเร็ว และทาให้สิ่งของเครื่องใช้สกปรกง่าย
4. จากัดการมองเห็น (การที่ควัน หรือฝุ่นละอองปนในอากาศมากทาให้ แสงสว่างส่องลงมาได้น้อยกว่าปกติ)
ทาให้เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนได้ง่าย
5. ทาให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ โดยทาให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการปรับปรุงการเผาไหม้ ปรับปรุง
วิธีการที่จะลดมลสารในอากาศ รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการวิจัย
ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์
นอกจากฝุ่นละอองจะทาให้เกิดอาการคายเคืองตาแล้ว ยังทาอันตรายต่อระบบหายใจ เมื่อเราสูดเอาอากาศที่มีฝุ่น
ละอองเข้าไป โดยอาการระคายเคืองนั้นจะเกิดขึ้นตามส่วนต่าง ๆ ของระบบทางเดินหายใจขึ้นอยู่กับขนาดของฝุ่น
ละออง โดยฝุ่นที่มีขนาดใหญ่ร่างกายจะดักไว้ได้ที่ขนจมูก ส่วนฝุ่นที่มีขนาดเล็กนั้นสามารถเล็ดลอดเข้าไปในระบบ
หายใจ ทาให้ระคายเคือง แสบจมูก ไอ จาม มีเสมหะ หรือมีการสะสมของฝุ่นในถุงลมปอด ทาให้การทางานของปอด
เสื่อมลง
สารมลพิษ
• ฝุ่นรวม (TSP)
• ฝุ่นละอองขนาดเล็ก(PM-10)
ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (มก./ลบ.ม)
• 0.33
• 0.12
ค่าเฉลี่ย 1 ปี (มก./ลบ.ม)
• 0.10
• 0.05
.แนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ
1. ควบคุมเทคโนโลยีการใช้และการแปรรูปให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยให้เกิดของเสียและ
มลสารน้อยที่สุด
2. ไม่ใส่มลสารเข้าสู่ขบวนการใช้และการแปรรูป แต่ถ้าจาเป็นต้องควบคุมปริมาณทั้งที่ใช้
และการแปรรูป แต่ถ้าจาเป็น ต้องควบคุมปริมาณทั้งที่ใช้ให้อยู่กว่าเกณฑ์มาตรฐาน
3. ควบคุมปริมาณการใช้ทรัพยากรให้พอเหมาะพอดี โดยส่วนที่เหลือจะต้องทาหน้าที่ได้
เท่ากับปริมาณที่มีตามปกติ
4. เมื่อใดก็ตามที่จะมีการใช้ทรัพยากรอย่างหนึ่ง แล้วส่งผลกระทบกับอีกทรัพยากรหนึ่งต้อง
ไม่ทาให้ของเสียหรือมลสาร มีพิษต่อทรัพยากรนั้นๆ เช่น ผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยถ่านหินลิกไนต์
ต้องไม่ให้เกิดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซต์ มีค่าเกินมาตรฐาน
5. ใช้มาตรการทางกฎหมาย เพื่อป้องกัน พร้อมทั้งระบุโทษให้ประจักษ์ชัดตามความรุนแรง
ของการกระทา การแก้ไขปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม
กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 กาหนดสิทธิชุมชนไว้ในมาตรา 67 ว่าเป็นสิทธิ ของ
บุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในการอนุรักษ์ บารุงรักษาและการได้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุ้มครอง ส่งเสริม และรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อม เพื่อให้ดารงชีพอยู่ได้อย่างปกติและต่อเนื่องในสิ่งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อ
สุขภาพ อนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ย่อมได้รับการคุ้มครองตามความเหมาะสม มาตรา
67 (วรรคสอง) การดาเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่าง รุนแรงทั้ง
ทางคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ จะกระทามิได้เว้นแต่จะได้ศึกษาและ
ประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการ
รับฟัง ความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน ....ฯลฯ
2 . พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ. 2535 ลงวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2535
กาหนดไว้ในส่วนที่ 4 มลพิษทางอากาศและเสียง มาตรา 68 ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนา ของคณะกรรมการ
ควบคุมมลพิษมีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กาหนดประเภทของแหล่งกานิด มลพิษที่จะต้องถูก
ควบคุม การปล่อยอากาศเสีย รังสีหรือมลพิษอื่นใดที่อยู่ในสภาพเป็นควัน ไอ ก๊าซ เขม่า ฝุ่น ละออง เถ้าถ่าน
หรือมลพิษอากาศ ในรูปแบบใดออกสู่บรรยากาศไม่เกินมาตรฐานควบคุมมลพิษอากาศจาก แหล่งกาเนิดที่
กาหนดตามมาตรา 55 หรือมาตรฐานที่ส่วนราชการใดกาหนดโดยอาศัยอานาจตามกฎหมายอื่น และมาตรฐาน
นั้นยังมีผลใช้บังคับตามมาตรา 56 หรือมาตรฐานที่ผู้ว่าราชการจังหวัดกาหนดเป็นพิเศษสาหรับ เขตควบคุม
มลพิษตามมาตรา 58
มาตรา 68 (วรรคสอง) เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษที่กาหนดตามวรรคหนึ่งมีหน้าที่ ต้อง
ติดตั้ง หรือจัดให้มีระบบบาบัดอากาศเสีย อุปกรณ์หรือเครื่องมืออื่นใดสาหรับการควบคุม กาจัด ลด หรือ ขจัด
มลพิษ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อคุณภาพอากาศตามที่เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษกาหนด
3 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2535 มาตรา 7 แบ่งประเภท โรงงาน ตาม
ประเภทชนิดหรือขนาดออกเป็น 3 จาพวก โรงงานจาพวกที่ 1 ได้แก่โรงงานที่สามารถประกอบ กิจการ
โรงงานทันทีตามความประสงค์ของผู้ประกอบกิจกาโรงงาน โรงงานจาพวกที่ 2 ได้แก่โรงงานที่เมื่อจะ
ประกอบกิจการต้องแจ้งให้ผู้อนุญาตทราบก่อน และโรงงานจาพวกที่ 3 ได้แก่โรงงานที่ต้องได้รับใบอนุญาต
ก่อนจึงจะดาเนินการได้
มาตรา 8 กาหนดให้รัฐมนตรีมีอานาจออกกฎกระทรวงในเรื่อง (5) กาหนดมาตรฐานและวิธีการ ควบคุม
การปล่อยของเสีย มลพิษหรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งเกิดขึ้นจากการประกอบกิจการ โรงงาน
4 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2535 มาตรา 8 ใน กรณีที่เกิดหรือมีเหตุ
อันควรสงสัยว่าจะเกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับ การดารงชีพของ
ประชาชนซึ่งจาเป็นต้องมีการแก้ไขโดยเร่งด่วน ให้อธิบดีกรมอนามัยมอานาจออกคาสั่งให้ เจ้าของวัตถุหรือ
บุคคลซึ่งเกี่ยวข้องกับการก่อให้เกิดหรืออาจเกิดความเสียหายดังกล่าวระงับการกระทาหรือให้ กระทาการใด ๆ
เพื่อแก้ไขหรือป้องกันความเสียหายเช่นว่านั้นได้ตามที่เห็นสมควร
มาตรา 28 ในกรณีที่มีเหตุราคาญเกิดขึ้นในสถานที่เอกชน ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอานาจออกคาสั่ง เป็น
หนังสือให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองสถานที่นั้นระงับเหตุราคาญภายในเวลาอันสมควรตามที่ระบุไว้ในคาสั่ง
และถ้าเห็นว่าสมควรจะให้กระทาโดยวิธีใดเพื่อระงับเหตุราคาญนั้น หรือสมควรกาหนดวิธีการเพื่อป้องกันมิ
ให้ มีเหตุราคาญเกิดขึ้นในอนาคต ให้ระบุไว้ในคาสั่งได้
ในกรณีที่ไม่มีการปฏิบัติตามคาสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามวรรคหนึ่ง ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมี อานาจ
ระงับเหตุราคาญนั้นและอาจจัดการตามความจาเป็นเพื่อป้องกันมิให้มีเหตุราคาญเกิดขึ้นอีก และถ้าเหตุ ราคาญ
เกิดขึ้นจากการกระทา การละเลย หรือการยินยอมของเจ้าของหรือผู้ครอบครองสถานที่นั้น เจ้าของ หรือผู้
ครอบครองสถานที่ดังกล่าวต้องเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายสาหรับการนั้น
ในกรณีที่ปรากฏแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่นว่าเหตุราคาญที่เกิดขึ้นในสถานที่เอกชนอาจเกิดอันตรายอย่าง
ร้ายแรงต่อสุขภาพ หรือมีผลกระทบต่อสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดารงชีพของประชาชน เจ้า
พนักงานท้องถิ่นจะออกคาสั่งเป็นหนังสือห้ามมิให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองใช้หรือยินยอมให้บุคคลใดใช้
สถานที่ นั้นทั้งหมดหรือบางส่วน จนกว่าจะเป็นที่พอใจแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่นว่าได้มีการระงับเหตุราคาญนั้น
แล้วก็ได้
มาตรฐานสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายและมาตรฐานคุณภาพอากาศเป็นแรงขับเคลื่อนการตรวจวัดคุณภาพอากาศ การตรวจวัด คุณภาพ
อากาศของหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน รวมถึงบริษัทที่ปรึกษาและห้องปฏิบัติการ เอกชน เป็นไป
เพื่อการบังคับใช้และปฏิบัติตามกฎหมาย โดยอาจกล่าวได้ว่า เหตุผลสาคัญที่สุดที่ผู้จัดการ โรงงานทาการ
ตรวจวัดคุณภาพอากาศเพราะกฎหมายกาหนดให้โรงงานทาการติดตามตรวจวัดและงานบริการ ด้านสิ่งแวดล้อม
มีอยู่เพื่อตอบสนองข้อกาหนดกฎหมายในเรื่องการติดตามตรวจวัด การฟื้นฟูสภาพและการ ป้องกันสิ่งแวดล้อม
ดังนั้น ผู้ที่ทางานด้านสิ่งแวดล้อมจะต้องตระหนักและติดตามการเปลี่ยนแปลงของ กฎหมายให้ทันสมัยอยู่เสมอ
ไม่ว่าจะเป็นกฎหมายของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงอุตสาหกรรม
กระทรวงสาธารณสุข รวมถึงกฎหมายต่างประเทศที่ประเทศไทยอ้างอิง เช่น US EPA ฯลฯ
1. มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศตามประกาศ
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับแรกตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อปีพ.ศ 2524 แต่ได้มีการปรับปรุงอย่าง
ต่อเนื่องมาโดยตลอด (ตารางที่ 3.1) เนื่องจากมีหลักฐานจากงานวิจัยชี้ให้เห็นถึงอันตรายจากมลพิษที่ชัดเจนขึ้น ในเรื่อง
ของลักษณะมลพิษ (ขนาดของฝุ่นละอองที่เล็กเป็นพิษมากกว่าฝุ่นขนาดใหญ่) ความเป็นพิษที่สะสมในระยะเวลายาว (ใช้
ค่าเฉลี่ย 1 เดือนแทน 24 ชั่วโมงสาหรับตะกั่ว ใช้ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมงสาหรับโอโซนเพิ่มจากค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง และใช้
ค่าเฉลี่ย 1 ปีสาหรับแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์เพิ่มจากค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง) ในขณะเดียวกันเหตุการณ์ภัยพิบัติ จากมลพิษ
ในพื้นที่แม่เมาะชี้ให้เห็นถึงความจาเป็นในการกาหนดมาตรฐานแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์เฉลี่ย 1 ชั่วโมงสาหรับ
ผลกระทบแบบเฉียบพลัน (เพิ่มจากค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง และ 1 ปี)
พ.ร.บ.ดังกล่าวข้างต้นจะให้อานาจแก่รัฐมนตรีในการกาหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยมลพิษจาก แหล่งกาเนิดเพื่อ
ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มาตรฐานมลพิษอากาศที่ควรให้ความสาคัญ นอกจาก มาตรฐานควบคุมการปล่อย
มลพิษจากแหล่งกาเนิดแล้ว ยังได้แก่มาตรฐานมลพิษอากาศในสถานประกอบการ และมาตรฐานคุณภาพอากาศใน
บรรยากาศ ดังสรุปต่อไปนี้
2. มาตรฐานควบคุมการปล่อยมลพิษจากแหล่งกาเนิด
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออก
จาก โรงงาน พ.ศ. 2549 ลงวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2549 กาหนดปริมาณของสารเจือปนไว้15 ชนิด
และวิธีตรวจวัด ของสารเจือปนแต่ละชนิด รวมถึงวิธีการรายงานผลการตรวจวัด ให้รายงานผลที่
ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 25 ที่สภาวะแห้ง โดยมีปริมาตรอากาศส่วนเกินในการเผาไหม้
ร้อยละ 50 หรือมีปริมาตร ออกซิเจนในอากาศเสีย ร้อยละ 7 เว้นแต่ในกรณีที่ไม่มีการเผาเชื้อเพลิง
หรือเป็นการเผาเชื้อเพลิงระบบเปิด ให้ รายงานที่ปริมาตรออกซิเจนในอากาศเสียสภาวะจริง
ในขณะตรวจวัด
3 มาตรฐานมลพษอากาศในสถานประกอบการ
คุณภาพอากาศในสถานประกอบการมีความสาคัญเป็นอันดับแรกสาหรับพนักงานที่ทางานในสถาน
ประกอบการ ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม (สารเคมี)
ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2520 กาหนดปริมาณความเข้มข้นสูงสุดของสารเคมีที่ปลอดภัยต่อสุขภาพอนามัย
(TLV – Threshold Limit Value) มีวัตถุประสงค์เพื่อสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย
สาหรับ
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ภาวะมลพิษทางอากาศอาจเป็นอันตรายต่อผู้คนจานวนมากตัวอย่างเช่น กรณีของเมืองโบปาล ประเทศอินเดียเมื่อเดือน
ธันวาคม 2527 เกิดการรั่วไหลของเมทิลไอโซไซยาเนทจากโรงงานของบริษัทยูเนียน คาร์ไบด์ทาให้มีคนตายกว่า 2,000 คน และ
คนหลายหมื่นคนได้รับบาดเจ็บ เจ็บป่วยและพิการ นับเป็น โศกนาฎกรรมครั้งยิ่งใหญ่ เช่นเดียวกับ กรณีเชอโนบิล ประเทศสหภาพ
โซเวียต เกิดการระเบิดของเตาปฏิกรณ์ นิวเคลียร์ของโรงไฟฟ้า ปล่อยสารกัมมันตรังสีแพร่กระจายไปในบรรยากาศกว้างหลายพัน
ตารางกิโลเมตร มีผู้คนจานวนมากได้รับอันตรายจากสารกัมมันตรังสีและมีผลเสียหายต่อผลิตผลทางเกษตรกรรมคิดเป็นมูลค่า
มหาศาล
ในประเทศไทย กรณีไฟไหม้สารเคมีในคลังสินค้าที่ท่าเรือคลองเตยมีผลกระทบอย่างรุนแรงและระยะ ยาว
ต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนในบริเวณใกล้เคียงท่าเรือ และบริเวณที่ทาการกลบฝังสารพิษ ตัวอย่าง
เหล่านี้กระตุ้นให้คนไทยตื่นตัวในเรื่องสิ่งแวดล้อม หวาดกลัวต่อพิษภัยที่อาจเกิดขึ้น และตระหนักใน
ความสาคัญของการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
ปัญหามลพิษอากาศโดยทั่วไปมาจากโรงงานอุตสาหกรรมและการจราจรสารมลพิษจากไอเสียรถยนต์
เป็นสิ่งที่ใกล้ตัวผู้คนทั่วไปมากที่สุด ผู้ใช้รถใช้ถนนตลอดจนผู้ปฏิบัติงานบนท้องถนนล้วนได้รับผลกระทบ
ต่อ สุขภาพอนามัยจากไอเสียรถยนต์ประชาชนทั่วไปตลอดจนนักธุรกิจผู้ลงทุน และนักท่องเที่ยวจาก
ต่างประเทศ ระบุว่าภาวะมลพิษอากาศเป็นปัญหาอันดับหนึ่งที่ควรได้รับการแก้ไขโดยด่วนมิฉะนั้นแล้วจะมี
ผลกระทบระยะ ยาวต่อการลงทุนและธุรกิจการท่องเที่ยวในประเทศไทย และโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อคุณภาพ
ชีวิตของคน กรุงเทพฯ
ผลกระทบจากภาวะมลพิษอากาศในระดับภูมิภาคและระดับโลก
ภาวะมลพิษอากาศไม่ได้จากัดขอบเขตอยู่เฉพาะในพื้นที่รอบโรงงานแต่ในปัจจุบันได้แผ่ขยายออกไป เป็นปัญหาระดับภูมิภาคและระดับ
โลกภาวะมลพิษทางอากาศระดับ ภูมิภาค ได้แก่ ปัญหาฝนกรด ส่วนภาวะ มลพิษทางอากาศระดับโลก ได้แก่ ปัญหาโลกร้อน และการ
สูญเสียโอโซนในบรรยากาศชั้นบน
ภาวะมลพิษอากาศเป็นปัญหาที่อยู่ใกล้ตัวเรามากที่สุด ทุกครั้งที่เราสูดลมหายใจเราอาจได้รับผล เสียหายจากมลภาวะอากาศ ใน
ขณะเดียวกันมลภาวะอากาศเป็นปัญหาที่อยู่ไกลจากตัวเรามาก เป็นปัญหา ระดับภูมิภาคหรือระดับโลก ซึ่งมีผลกระทบต่อเราอย่างช้าๆ และ
ใช้เวลานานกว่าที่เราจะรู้ว่าเกิดจากมลพิษ ภาวะอากาศ
ปัญหาระดับโลกซึ่งเป็นที่สนใจกันมากและได้พิสูจน์ให้เห็นจริงในปัจจุบันคือ ปัญหาเรือนกระจก (Greenhouse Effect) ซึ่งเกิดจากไอเสีย
จากการเผาไหม้เชื้อเพลิง และก๊าซจากการเน่าเปื่อยของอินทรีย์วัตถุ สะสมในบรรยากาศชั้นบนของโลก สะกัดกั้นการถ่ายเทความร้อนจากผิว
โลกคืนสู่บรรยากาศนอกโลก (เปรียบเสมือนเรือนกระจกที่ใช้ปลูกต้นไม้เมืองร้อน ที่มีอุณหภูมิภายในเรือนกระจกสูงพอที่จะปลูกต้นไม้เมือง
ร้อน) ทาให้อุณหภูมิผิวโลกร้อนขึ้นตามลาดับ และอาจมีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก ฝนแล้ง น้าท่วม และการ
เกษตรกรรมเสียหาย
ปัญหาระดับโลกอีกประการหนึ่งซึ่งเป็นที่ยอมรับนานาประเทศและกาลังแก้ไขอยู่ในปัจจุบันคือ
การทาลายชั้นโอโซน (Ozone Depletion) ในบรรยากาศที่หุ้มห่อโลก ชั้นโอโซนนี้สกัดกั้นรังสีอุลตรา ไวโอเลตในแสงอาทิตย์ทาให้แสงแดดที่
ส่งถึงผิวโลกไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์หากคนเราได้รับรังสีอุลตรา ไวโอเลตมากเกินไปจะทาให้เกิดมะเร็งผิวหนัง เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อ
สุขภาพ นักวิทยาศาสตร์ได้พิสูจน์ว่า สารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (Chloro-fluoro-Carbon-CFC) ซึ่งใช้ในเครื่องทาความเย็นและสเปรย์กระป๋ อง
เมื่อใช้แล้วและลอยขึ้นสู่บรรยากาศชั้นบนจะทาลายชั้นโอโซน ดังปรากฏจากภาพถ่ายดาวเทียมว่าเกิดรูในชั้น โอโซน (Ozone Hole) บริเวณขั้ว
โลกใต้ดังนั้นประเทศต่างๆทั่วโลกจึงได้ลงนามในสนธิสัญญาเพื่อลดและ ระงับการใช้สารเคมีชนิดนี้
ปัญหาระดับภูมิภาคที่เกิดขึ้นในหลายๆประเทศคือฝนกรดซึ่งเกิดจากก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์จากการเผา
ไหม้เชื้อเพลิง รวมตัวกับฝนตกลงสู่พื้นผิวโลก ฝนดังกล่าวนี้มีสภาพเป็น กรดค่าพีเอชต่ากว่า 5 เมื่อไหลลงสู่แหล่งน้า ทะเลสาบ น้าที่มีสภาพเป็น
กรดจะทาให้โลหะหนักละลายได้ดีขึ้น เพิ่มความเป็นพิษของโลหะหนัก ทาให้ปลาตายในที่สุด ในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป โดยเฉพาะ
กลุ่ม ประเทศสแกนดิเนเวียน ทะเลสาบมากมายหลายแห่งเมื่อมีสภาพเป็นกรดแล้วก็ขาดสัตว์น้า กลายเป็นแหล่งน้า ซึ่งไม่มีชีวิต
ในประเทศไทยเราสามารถมองไปรอบๆตัวเราและมองเห็นปัญหามลภาวะอากาศจากไอเสียรถยนต์ ควันดาจากโรงงานอุตสาหกรรมซึ่ง
เป็นผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน
งานวางโครงการระบบควบคุมมลพิษทางอากาศ
เป็นงานแรกที่สามัญวิศวกรพึงมีความสามารถในการดาเนินการได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดในผลงานที่รับผิดชอบและต่อการแก้ไขปัญหาในฐานะสามัญวิศวกรสิ่งแวดล้อม อันประกอบด้วย
1. การกาหนดหลักเกณฑ์ในการเลือกระบบควบคุมมลพิษอากาศ
1) การทบทวนมาตรฐานมลพิษอากาศสาหรับประเภทแหล่งกาเนิดและชนิดมลพิษอากาศที่ ต้องการควบคุม
เพื่อให้สามารถกาหนดความต้องการของระบบได้อย่างเหมาะสมและ เพียงพอกับข้อกาหนดทางกฎหมาย
2) ทบทวนข้อมูลอัตราไหลและลักษณะสมบัติของอากาศเสียที่ต้องการควบคุม รวมถึง ลักษณะการทางาน
ของแหล่งกาเนิดอากาศเสีย และช่วงเวลาการทางาน เช่น เป็นแบบต่อเนื่อง หรือมีวงจรการทางาน เป็นช่วงเวลาหนึ่ง
ของวัน หรือตามฤดูกาล
3) การกาหนดเกณฑ์ในการตรวจสอบและเฝ้าระวังระบบ โดยเน้นผลสัมฤทธิ์ (Outcome) ของระบบและให้
เกิดปัญหาตามมาน้อยที่สุด ลดข้อบกพร่องของระบบ เพิ่มความเชื่อมั่นต่อ ผลงานของวิศวกรสิ่งแวดล้อม
2 การเสนอทางเลือกและการคัดเลือกระบบที่เหมาะสม
ในการวางโครงการ วิศวกรพึงเสนอทางเลือกของระบบเพื่อประกอบการตัดสินใจคัดเลือกระบบ อันจะทา
ให้ได้ระบบที่มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้นในการเสนอทางเลือกของสามัญวิศวกร ควร
ประกอบด้วย
1 .การกาหนดทางเลือก (Alternative) ของระบบที่มีรูปแบบแตกต่างและมีข้อดีข้อด้อย แตกต่างกัน อาทิมีทางเลือกไม่
น้อยกว่า 2 ทางเลือกไว้ประกอบการพิจารณา โดยที่ ทางเลือกดังกล่าวจะต้องเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
2 วิธีการเลือกทางเลือกที่เหมาะสม จะต้องกาหนดตัวชี้วัดหรือปัจจัยต่างๆ ที่มีความสาคัญต่อ ระบบ อันจะทาให้
ระบบประสบความสาเร็จ ทั้งนี้วิธีการเลือกจะต้องเสนอวิธีการ / เกณฑ์ ในการเลือกหรือตัดสินใจ รวมถึง
ประสิทธิภาพและข้อจากัดของแต่ละทางเลือก
3 การตัดสินใจเลือกและการสนับสนุนข้อมูล ควรอยู่บนพื้นฐานที่ยุติธรรม ไม่ลาเอียงเพราะ ผลประโยชน์ตอบแทน
(Conflict of Interest) แต่อยู่บนพื้นฐานหลักวิชาการทาง วิศวกรรม ความมั่นคงปลอดภัย และประหยัดงบประมาณ
และทรัพยากรอื่นๆ ดังนั้น การมี ข้อมูลสนับสนุนยืนยันต่อความเหมาะสมของทางเลือกจึงเป็นสิ่งจาเป็น
3 การจัดทารายละเอียดข้อกาหนดของระบบ
การจัดทารายละเอียดหลักเกณฑ์หรือข้อกาหนดของระบบเป็นสิ่งจาป็น เพื่อให้ระบบ สามารถเกิดขึ้นได้ดังนั้นจึงควร
ประกอบด้วย
1) รายละเอียดของข้อกาหนดที่มีความชัดเจนที่ผู้นาไปใช้ / ดาเนินการสามารถปฏิบัติได้ อย่างไม่มีข้อสงสัย อาทิการ
เลือกผ้ากรอง ต้องกาหนดชนิดวัสดุความหนา ขนาดรูพรุน อัตราไหลอากาศในการกรองและในการทาความสะอาด
เป็นต้นซึ่งเป็นสิ่งที่ต้อง ดาเนินการให้ชัดเจนและสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ที่มีจาหน่ายในตลาด เป็นต้น และเป็น
ค่าที่อยู่ในช่วงสามารถดาเนินการได้โดยไม่ผิดพลาดจากข้อกาหนด
2) รายละเอียดของข้อกาหนดต้องมีความทันสมัย ไม่ตกยุค เป็นจริง ที่ผู้ดาเนินการสามารถ จัดหาได้ทั้งนี้ในการหา
รายละเอียด สามัญวิศวกรพึงหาแหล่งอ้างอิงหรือหลักฐานได้เป็น ปัจจุบัน
3) การจัดทารายละเอียด จะต้องใช้ภาษาที่เป็นสากลที่สื่อความเข้าใจของผู้ออกแบบกับ ผู้ดาเนินการก่อสร้างได้ใน
ทิศทางเดียวกัน
4) รูปแบบของรายละเอียดข้อกาหนดของทางเลือกที่เหมาะสม ต้องสามารถสื่อสารเข้าใจ ง่าย ไม่วกวน กากวม หรือ
ซ่อนประเด็นให้ผู้ดาเนินการเข้าใจผิดจนก่อให้เกิดผลเสียต่อ โครงการ
งานออกแบบและคานวณระบบควบคุมมลพิษทางอากาศ
การออกแบบและคานวณระบบบาบัดมลพิษอากาศ จะต้องทราบถึงชนิดและแหล่งกาเนิดของมลพิษ
อากาศ สารมลพิษอากาศจาแนกออกได้เป็น 2 ชนิด คือ ฝุ่นแขวนลอย และก๊าซ ฝุ่นแขวนลอยมาจากการเผา
ไหม้เชื้อเพลิง เช่น ถ่านหิน น้ามัน ซึ่งเรามองเห็นในรูปของควันดา และกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม
เช่น โรงหลอมเหล็ก โรงปูนซีเมนต์โรงโม่หิน ฝุ่นแขวนลอยเหล่านี้มีขนาดต่างๆกัน ตั้งแต่เล็กกว่า 1 ไมครอน
จนถึง หลายร้อยไมครอน และประกอบด้วยแร่ธาตุต่างๆ
สารมลพิษประเภทก๊าซมีมากมายหลายร้อยชนิดแต่เราสามารถจัดกลุ่มได้เป็นกลุ่มซัลเฟอร์ ไนโตรเจน
คาร์บอน และฮาโลเจน ก๊าซเหล่านี้อาจมีสีมีกลิ่น มีความเป็นกรด เป็นด่างหรือมีความเป็นพิษ แตกต่างกัน
ที่มาของก๊าซมลพิษ ได้แก่การเผาไหม้เชื้อเพลิง โรงงานกระดาษโรงกลั่นน้ามัน โรงงานปิโตรเคมี เป็นต้น
แหล่งกาเนิดสารมลพิษในอากาศได้แก่ การเผาไหม้เชื้อเพลิง และกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม การเผาไหม้
เชื้อเพลิงมีอยู่ทั่วไป นอกจากการใช้เชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรมแล้ว ยังรวมถึงการเผาไหม้ เชื้อเพลิงใน
โรงไฟฟ้า ที่อยู่อาศัยและอาคารพาณิชย์ต่างๆ ส่วนกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมมีการปล่อย ฝุ่นละออง สารเคมี
หรือสารมลพิษต่างๆตามแต่ประเภทของอุตสาหกรรม
ระบบควบคุมมลพิษอากาศเริ่มต้นที่การนามลพิษอากาศออกจากพื้นที่ทางาน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดผล กระทบ
ต่อสุขภาพอนามัยของคนงาน ต่อจากนั้นเป็นการควบคุมมลพิษอากาศที่แหล่งกาเนิดโดยการสันดาป อย่างมี
ประสิทธิภาพ สุดท้ายจึงเป็นการบาบัดมลพิษอากาศด้วยเทคโนโลยีควบคุมฝุ่นละอองและก๊าซ
วิธีการควบคุมมลพิษอากาศ
เป็นศาสตร์ที่มีความหลากหลาย ความกว้างและความลึกของเทคโนโลยีซึ่งไม่สามารถครอบคลุมได้โดยละเอียดในคู่มือเล่มนี้
ผู้อ่านจึงควรศึกษาเพิ่มเติมจากตาราและคู่มือมาตรฐาน เช่น ตาราระบบบาบัดมลพิษอากาศ ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม และหนังสือ
มลภาวะอากาศ โดย วงศ์พันธ์ ลิมปเสนีย์. ธีระ เกรอต และนิตยา มหาผล ซึ่งคู่มือฉบับนี้ใช้อ้างอิง
1 การระบายอากาศ
อากาศเสียเกิดจากการที่อากาศได้ถูกนาเข้าไปในกระบวนการและหลังจากใช้งานได้ เปลี่ยนเป็นอากาศไม่บริสุทธิ์จาเป็นต้อง
ระบายออก อากาศเสียที่เกิดจากการเผาไหม้อาทิหม้อต้มน้า ชนิดต่างๆ จะมีพัดลมที่นาอากาศเข้าไปเผาไหม้และมีพัดลมดูดอากาศเสีย
ออกไปทางปล่อง การออกแบบ ระบบระบายอากาศเสียอาจไม่ยุ่งยากมากนัก เพราะเพียงแต่คานวณขนาดของปล่องให้เหมาะสมกับ
ปริมาณ อากาศเสีย และให้อากาศเสียสามารถออกไปจากปล่องด้วยความเร็วที่เพียงพอและความต้านทานของปล่อง ไม่เป็นภาระแก่พัด
ลมมากนัก แต่ในบางกระบวนการผลิตซึ่งไม่ใช่หม้อต้มน้า อากาศเสียจะเกิดขึ้นและต้องถูก ดูดผ่าน Hood ชนิดต่างๆ กันตามความ
เหมาะสม จึงจาเป็นต้องออกแบบระบบดูดอากาศเสีย (Hood) เสียก่อน เมื่อทราบปริมาณอากาศเสียแล้วจึงมากาหนดขนาดของท่อและ
เส้นทาง เมื่อทราบความต้านทาน ของระบบทั้งหมดจึงมากาหนดขนาดของพัดลม และหากมีระบบกาจัดมลพิษเข้ามาเกี่ยวข้องก็จะต้อง
คานวณ ความต้านทานของระบบดังกล่าวเข้าไปอีกด้วย
(1) ความหมายของการระบายอากาศ การระบายอากาศเป็นวิธีการควบคุมมลพิษอากาศที่ได้ผลดียิ่งวิธีหนึ่ง
โดยอาศัยหลักการ เคลื่อนย้ายอากาศที่ปนเปื้อนด้วยมลพิษออกไปจากสถานที่ทางานการระบายอากาศจึงหมายถึง
การจัดการ เคลื่อนย้ายอากาศด้วยปริมาณที่กาหนดให้ไหลไปในทิศทางและด้วยความเร็วที่ต้องการดังนั้นการ
ระบาย อากาศจึงสามารถกาจัดสิ่งปนเปื้อนในอากาศอันไม่พึงประสงค์เช่นมลพิษความร้อนความชื้นกลิ่นรบกวน
ควัน และอื่นๆซึ่งปะปนอยู่ในอากาศให้ออกไปจากที่ปฏิบัติงานและในขณะเดียวกันก็สามารถดาเนินการให้อากาศ
บริสุทธิ์หรืออากาศที่มีสมบัติที่ต้องการไหลเข้ามาในสถานที่ทางานนั้นได้และด้วยความรู้ทางด้าน
วิศวกรรมศาสตร์ก็สามารถออกแบบและควบคุมการระบายอากาศให้เป็นไปตามความประสงค์ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพดังนั้นการระบายอากาศจึงเป็นวิธีการที่ใช้ได้ผลยิ่งวิธีหนึ่งในการป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและ/
หรือลดปัญหาความเดือดร้อนราคาญซึ่งอาจเกิดขึ้นกับพนักงานในสถานที่ทางาน
(2) ประโยชน์ของการระบายอากาศ การระบายอากาศนับเป็นสิ่งที่สาคัญมากในการป้องกันและควบคุม
อันตรายที่อาจจะเกิดต่อ สุขภาพอนามัยของคนเรา ประโยชน์ของการระบายอากาศจึงรวมทั้ง การคุ้มครอง
สุขภาพ และยังรวมถึง ความรู้สึกสบายของพนักงานอีกด้วย ดังนี้
- การระบายอากาศสามารถควบคุมระดับสิ่งปนเปื้อนในอากาศ เช่น ฝุ่นละออง ไอสารเคมี ก๊าซ ควัน
ฯลฯ ในห้องทางานให้อยู่ในระดับที่ปลอดภัยได้ซึ่งสิ่งปนเปื้อนเหล่านี้เมื่อได้รับเข้าสู่ร่างกายก็จะมี การสะสม
ในอวัยวะต่างๆ จนถึงระดับที่ทาให้คนเจ็บป่วยหรือไม่สบายได้ถ้ามีระบบการระบายอากาศที่ดีสิ่ง ปนเปื้อน
เหล่านี้จะถูกลดลงได้ในระดับที่ปลอดภัยอย่างรวดเร็ว
- การระบายอากาศที่ดียังสามารถควบคุมอุณหภูมิและความชื้นให้อยู่ในระดับที่รู้สึกสบายได้ เพราะ
ความร้อน และความชื้น ถ้าไม่เหมาะสมจะทาให้ป่วย หงุดหงิด อึดอัด และไม่สามารถทางานได้แล้วยัง เป็น
สาเหตุของอุบัติเหตุได้
(3) ชนิดของการระบายอากาศ
การระบายอากาศที่ใช้เพื่อป้องกันอันตรายต่อสุขภาพ และป้องกันความเดือดร้อนราคาญต่อ ผู้ปฏิบัติงานในอาคาร
จาแนกได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ (1) ระบบระบายอากาศพื้นที่ทั่วไป
(2) ระบบระบายอากาศ เฉพาะที่
1) การระบายอากาศพื้นที่ทั่วไป หรือ การระบายอากาศแบบทาให้เจือจาง เป็นการระบายอากาศเพื่อลด
ความเข้มข้นของมลพิษที่ปนเปื้อนอยู่ในอากาศ โดยการทาให้ เจือจางลงด้วยอากาศบริสุทธิ์จากภายนอก จนกระทั่งมลพิษ
เหล่านั้นมีความเข้มข้นอยู่ในระดับที่ไม่เป็น อันตรายต่อสุขภาพหรือ ทาให้ไม่เกิดความเดือดร้อนราคาญการคานวณ
ปริมาณอากาศที่ใช้ในการเจือจางจะ กาหนดเป็น ปริมาณห้องต่อเวลา (Air Change)
ข้อดี 1. การจัดทาระบบระบายอากาศง่ายกว่าแบบที่ 2 ซึ่งจะกล่าวต่อไป
2. เป็นวิธีการที่ประหยัด ใช้อุปกรณ์น้อย
3. ใช้ได้ดีกับมลพิษที่เป็นก๊าซ
ข้อจากัด 1. ไม่สามารถกาจัดปริมาณมลพิษในปริมาณที่มากได้เพราะจาเป็นต้องใช้อากาศบริสุทธิ์ที่ มาก เพื่อเจือจาง ถ้ายิ่ง
มีการติดตั้ง ระบบปรับอากาศแล้วระบบปรับอากาศจะต้องทางานหนัก ทาให้สิ้นเปลืองค่าไฟฟ้าสูงได้
2. มลพิษที่เกิดขึ้นควรมีความเป็นพิษต่า และไม่เป็นสารไวไฟ
3. ไม่สามารถจัดการกับฝุ่น เพราะมลพิษแบบนี้มักเกิดและปนเปื้อนในอากาศในปริมาณที่
ค่อนข้างสูง
2) การระบายอากาศแบบเฉพาะที่
เป็นการระบายอากาศที่มีจุดประสงค์เดียวกันกับการระบายอากาศแบบทั่วไปหรือแบบเจือ จาง แต่มีหลักการและ
วิธีการที่แตกต่างออกไป คือ การระบายอากาศแบบเฉพาะที่ใช้หลักการดูดระบาย อากาศที่ถูกปนเปื้อนออกจากบริเวณที่
เป็นจุดกาเนิดโดยตรงก่อนที่มลพิษนั้นจะเข้าปนเปื้อนกับอากาศในห้อง ทั้งนี้ด้วยการทางานของ 3 ส่วนใหญ่ๆ คือ ท่อดูด
อากาศ ท่อลม และพัดลมระบายอากาศ
ข้อดี 1. เป็นการใช้ระบบระบายอากาศกาจัดมลพิษที่ต้นกาเนิด ทาให้มลพิษไม่ปนไปกับอากาศ ในห้อง
2. ใช้ได้ผลดีกับมลพิษ สิ่งปนเปื้อนหลายๆ ชนิด ยิ่งกว่านั้นยังใช้ได้ดีกับระดับความเป็นพิษมาก
3. ปริมาณอากาศที่ต้องนาออกไป หรือนาเข้ามาแทนมีไม่มาก ทาให้ประหยัดพลังงาน
ข้อจากัด 1. การจัดทายากกว่าแบบแรก มีราคาแพงกว่า และดูแลรักษาอุปกรณ์ยากกว่า
3) การระบายอากาศด้วยพัดลมระบายอากาศ
พัดลมระบายอากาศในที่นี้หมายถึงพัดลมที่มีใบพัดใช้มอเตอร์ไฟฟ้าหมุนโดยตรงใช้ไฟฟ้า
กระแสสลับ 1 เฟสแรงดันไฟฟ้าไม่เกิน 250 โวลต์ความถี่กาหนดไม่เกิน 50 เฮิรตซ์ติดไว้เพื่อ
จุดประสงค์ใน การระบายอากาศเช่นที่ผนังห้องเพดานห้องฯลฯการใช้งานเฉพาะภายในอาคาร
หรือสถานที่อื่นโดยมีลักษณะ การใช้งานที่คล้ายคลึงกันในการระบายอากาศเสียภายในห้อง
ออกสู่ภายนอกห้องหรือการนาอากาศดีจาก ภายนอกห้องเข้ามาภายในห้อง
2 ระบบเผาไหม
การเผาไหม้ที่เกิดขึ้นในโรงงานอุตสาหกรรม แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ (1) การเผาในกระบวนการ ผลิต
ทั้งที่เป็นการเผาเชื้อเพลิง เช่น ในหม้อน้า และการเผาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต เช่น เตาเผาปูน เตาหลอมเหล็ก
เป็นต้น (2) การเผาของเสีย แต่ในปัจจุบัน การเผาของเสียอาจเป็นส่วนหนึ่งของการเผาของ เสียเพื่อนาพลังงาน
กลับคืน (Energy Recovery) การควบคุมการเผาไหม้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้พลังงาน สูงสุดในขณะเดียวกับที่
ก่อให้เกิดมลพิษน้อยที่สุด ทั้งนี้การเกิดมลพิษจะขึ้นกับปัจจัยที่สาคัญ ได้แก่ ชนิดของ เชื้อเพลิง อัตราส่วนอากาศ
ต่อเชื้อเพลิง และวิธีการควบคุมการเผาไหม้ซึ่งวิศวกรจะต้องให้ความสนใจ ในการควบคุมการเผาไหม้ให้มี
ประสิทธิภาพสูงสุด
1) ชนิดของเชื้อเพลิง เชื้อเพลิงที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมแบ่งออกได้เป็น
1) เชื้อเพลิงปกติเช่น เชื้อเพลิงปิโตรเลียม
2) เชื้อเพลิงทดแทน ได้แก่ชีวมวล ของเสีย และวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร เช่น แกลบ ชานอ้อย เชื้อเพลิง
ปิโตรเลียมที่ใชในโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ก๊าซธรรมชาติก๊าซแอลพีจีน้ามันดีเซล น้ามันเตา และถ่านหิน ซึ่งอาจ
จาแนกตามสถานะได้เป็น ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ เชื้อเพลิงทดแทน (Renewable Energy) จาพวกชีวมวล ได้แก่
ฟืน ถ่าน ซึ่งรวมถึงวัสดุเหลือใช้ จากการเกษตร ได้แก่ ฟางข้าว แกลบ ชานอ้อย เส้นใยและกะลาปาล์ม ฯลฯ เชื้อเพลิง
ทดแทน จาพวกของเสีย ได้แก่ มลฝอยจากบ้านเรือนและสานักงาน เช่น กระดาษ ยาง รถยนต์ของเสียจาก
อุตสาหกรรมทั้งที่เป็นของแข็ง น้ามัน และจากกระบวนการบาบัดของเสีย เช่น ถ่านกัม มันต์ตะกอนน้าเสีย ฯลฯ เรา
อาจเรียงลาดับความสะอาดของเชื้อเพลิงได้ดังนี้คือ เชื้อเพลิงก๊าซ เชื้อเพลิงของเหลว และ เชื้อเพลิงแข็งรวมถึง
เชื้อเพลิงชีวมวล ซึ่งมีลกษณะสมบัติทั่วไปดังนี้
เชื้อเพลิง ก๊าซ ได้แก่ก๊าซธรรมชาติและเชื้อเพลิงก๊าซที่ผลิตขึ้นมาจากเชื้อเพลิงเหลว
และเชื้อเพลิงแข็งอื่นๆ ลักษณะเด่นโดยทั่วไปมีดังต่อไปนี้
- ประสิทธิภาพการเผาไหม้สูง สามารถเผาไหม้ได้สมบูรณ์และไม่เกิดเขม่า
- มีกามะถันเจือปนอยู่น้อยมาก ดังนั้นในไอเสียที่เกิดจากการเผาไหม้จึงมีซัลเฟอร์
ไดออกไซด์( so2) ผสมอยู่น้อยมาก
- ไม่มีขี้เถ้า จึงไม่ทาให้เกิดฝุ่นละออง แต่สาหรับเชื้อเพลิงบางชนิดที่ทามาจาก
เชื้อเพลิง บางครั้งจะมีฝุ่นละอองแขวนลอย
เชื้อเพลิงเหลว เชื้อเพลิงเหลวที่สาคัญคือ เชื้อเพลิงปิโตรเลียม น้ามันที่มีอยู่ตามธรรมชาติและถูกสูบขึ้นมาจากใต้ ดินเรียกว่า
น้ามันดิบ ซึ่งลักษณะทางกายภาพและทางเคมีจะแตกต่างกันไปตามพื้นที่ที่ผลิตได้องค์ประกอบ หลักคือสารประกอบของ
ไฮโดรคาร์บอน อาจมีสารเจือปนคือ S และ N น้ามันดิบจะถูกนาไปกลั่นใน กระบวนการที่มีทั้งการกลั่น การทาให้แตกตัว การ
ปรับคุณภาพ ในบรรดาผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม ที่ถูก นามาใช้เป็นเชื้อเพลิงก็มีก๊าซปิโตรเลียมเหลว น้ามันเบนซิน น้ามันก๊าด
น้ามันเตา โดยน้ามันเตาและน้ามัน ดีเซลมีปริมาณการใช้เชื้อเพลิงสาหรับอุตสาหกรรมมากที่สุดและรองลงไปตามลาดับ โดยมี
ลักษณะสมบัติทั่วไป ดังนี้
- น้ามันดีเซลเป็นเชื้อเพลิงที่ใช้สาหรับเครื่องยนต์ดีเซล แบงออกได้เป็น 2 ประเภท ประเภท แรก คือ น้ามนดีเซลหมุนเร็ว หรือ
น้ามันโซล่า ใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลทั้งรถยนต์และเครื่องยนต์ที่หมุนเกิน 1,000รอบต่อนาทีอีกประเภท คือน้ามันดีเซลหมุนช้า
หรือน้ามันขี้โล้ใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลรอบปานกลางหรือ รอบต่า ใช้ในเครื่องยนต์เรือ และในอตสาหกรรม
- น้ามันเตาเป็นน้ามันหนักที่เหลือจากการกลั่นน้ามันเชื้อเพลิงชนิดอื่น เป็นน้ามันที่มีราคาถูก กว่าจึงนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย
ในอุตสาหกรรม โดยใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับเตาหม้อน้าและเตาเผา หรือเตา หลอมในโรงงานอุสาหกรรม ในประเทศไทยได้มีการ
กาหนดลักษณะและคุณภาพน้ามันเตาเป็น 5 ชนิด โดย ชนิดที่1-4 มีปริมาณกามะถันไม่สูงกว่าร้อยละ 2 โดยมีค่าความหนืดต่างกัน
ส่วนชนิดที่ 5 มีปริมาณกามะถันไม่ สูงกว่าร้อยละ 0.50
เชื้อเพลงแข็ง
เชื้อเพลิงแข็งที่นามาใช้ในสภาพตามธรรมชาติเช่น ฟืน ถ่านหิน ลิกไนท์บิทูมินัสและแอนทรา ไซท์และเชื้อเพลิงที่ได้จาก
การนามาแปรรูป เช่น ถ่านไม้ถ่านโค้ก ถ่านหินป่นอัดก้อนเป็นต้น ในนเชิง อุตสาหกรรมแล้วจะใช้ถ่านหินซึ่งส่วนใหญ่เป็น
ถ่านหินบิทูมินัสเชื้อเพลิงแข็งนอกจากจะมีคาร์บอนเป็นธาตุหลัก แล้ว ยังมีธาตุอื่นๆเจือปน เชน่ ไฮโดรเจน ออกซิเจน
ไนโตรเจน และกามะถัน เป็นต้น โดยทั่วไปจะมีทั้งเถ้าซึ่ง เกิดจากสารอนินทรีย์และน้าทาให้เกิดเขมาควันปริมาณมาก
เชื้อเพลงชีวมวล
เชื้อเพลิงชีวมวลเป็นเชื้อเพลิงที่ได้จากพืชและสัตว์หรือองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตหรือ สารอินทรีย์ต่างๆ รวมทั้งผลผลิต
จากการเกษตรและป่าไม้ไม้ฟืน แกลบ ชานอ้อย วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ต่างๆ รวมทั้ง การนามูลสัตว์มาใช้ผลิตก๊าซ
ชีวภาพชีวมวลแต่ละชนิดมีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันออกไป บางชนิด ไม่เหมาะที่จะนามาเผาไหม้โดยตรงเพื่อผลิตไฟฟ้าเช่น
กากมันสาปะหลัง และส่าเหล้า เพราะมีความชื้นสูงถึง 80-90% บางชนิดต้องนามาย่อย ก่อนนาไปเผาไหม้เช่น เศษไม้
ยางพารา
การควบคุมฝุ่นละออง
เครื่องกรองฝุ่น (fabric filters)
เครื่องกรองฝุ่นโดยปกติจะเป็นถุงกรอง (bag filter) ทาจากวัสดุที่เป็นผ้าจากการทอ (woven) แต่ใน ปัจจุบันวัสดุที่ใช้ทาถุงกรอง
อาจเป็นแผ่นเส้นใย (เช่น พลาสติกโพลีพรอพเพอลีน) ที่ยึดติดกันด้วยความร้อน หรือแรงกลหรือทางเคมี โดยไม่ได้ใช้การทอ (non-woven)
ทาการกรองฝุ่นโดยให้อากาศที่สกปรกผ่านถุงกรอง จากด้านนอก อากาศที่ผ่านเข้าไปด้านในจะเป็นอากาศสะอาด เมื่อเดินระบบไปเป็น
ระยะเวลาหนึ่งจนฝุ่นเกาะ อยู่ที่ผิวถุงกรองเป็นปริมาณมาก จะทาให้เกิดการอุดตันและอากาศไหลผ่านได้น้อย และเกิดความดันลดที่ผิวถุง
กรองสูง จะต้องทาความสะอาดถุงกรองเพื่อให้กลับมาทางานได้ตามปกติ ส่วนสาคัญของเครื่องกรองฝุ่นได้แก่ คุณลักษณะของผ้ากรอง
และวิธีทาความสะอาดถุงกรอง โดยปกติถุงกรองจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 20-30 เซนติเมตร แต่อาจมีความยาวหลาย เมตร ใน
ห้องถุงกรองอาจมีถุงกรองหลายสิบถุงหรือมากกว่าร้อยถุง ทั้งนี้เพื่อให้มีพื้นที่ผิวในการกรองสูง สามารถกรองฝุ่นได้ปริมาณมากก่อนที่จะ
อุดตัน ตัวอย่างวัสดุที่ใช้ทาผ้ากรอง ได้แก่ ผ้าฝ้ายซึ่งทนอุณหภูมิได้ไม่เกินประมาณ 100 องศาเซลเซียส หรือโพลีพรอพพีลีนซึ่งทนกรด
การกัดกร่อน และการดัดโค้งงอได้ดีกว่า หรือ Nomex ซึ่งทนอุณหภูมิได้ประมาณ 200 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 5-5) หากอุณหภูมิก๊าซสูง
กว่าอุณหภูมิ การใช้งานของผ้ากรอง จะต้องทาให้ก๊าซเย็นลงก่อน
จัดทาโดย
นางสาว ธัญวรัตน์ จิตเจริญ 590404426095
นาย กมลภพ ตันกาบ 590404427923
นาย จักรพันธ์ ศรีหาบุญทัน 590404427839
นางสาว นิภาพรรณ ยวนรัมย์ 590404426493
แหล่งที่มาอ้างอิง
-มาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ 2551
-กองอนามัยสิ่งแวดล้อม สานักอนามัย
กรุงเทพมหานคร

More Related Content

What's hot

บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์NATTAWANKONGBURAN
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกdnavaroj
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์Issara Mo
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์Apinya Phuadsing
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 

What's hot (20)

แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 

Similar to มลพิษทางอากาศ

มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศJittrapornKhumthongt
 
บูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีบูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีninefiit
 
งานบูรณาการิชาเคมี
งานบูรณาการิชาเคมีงานบูรณาการิชาเคมี
งานบูรณาการิชาเคมีninefiit
 
Air pollution wasin katavut
Air pollution wasin katavutAir pollution wasin katavut
Air pollution wasin katavutPeetAthipong
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมNATTAWANKONGBURAN
 
บูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีบูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีninefiit
 
มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..Kyjung Seekwang
 
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน""อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"Fern Jariya
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อมเรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อมAraya Toonton
 
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทยสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทยcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมการประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมQuartz Yhaf
 

Similar to มลพิษทางอากาศ (19)

มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
 
บูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีบูรณาการเคมี
บูรณาการเคมี
 
งานบูรณาการิชาเคมี
งานบูรณาการิชาเคมีงานบูรณาการิชาเคมี
งานบูรณาการิชาเคมี
 
Air pollution wasin katavut
Air pollution wasin katavutAir pollution wasin katavut
Air pollution wasin katavut
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
 
บูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีบูรณาการเคมี
บูรณาการเคมี
 
มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..
 
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน""อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
001
001001
001
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
 
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อมเรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
 
Air Quatity.pdf
Air Quatity.pdfAir Quatity.pdf
Air Quatity.pdf
 
Global warmin-t
Global warmin-tGlobal warmin-t
Global warmin-t
 
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทยสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
 
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมการประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
 

มลพิษทางอากาศ

  • 2. มลพิษทางอากาศ หมายถึง ภาวะอากาศที่มีสารเจือปนอยู่ในปริมาณที่สูงกว่าระดับปกติเป็นเวลา นาน พอที่จะทาให้เกิดอันตรายแก่มนุษย์ สัตว์พืช หรือทรัพย์สินต่าง ๆ อาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ฝุ่นละอองจาก ลมพายุ ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว ไฟไหม้ป่า ก๊าซธรรมชาติอากาศเสียที่เกิดขึ้น โดยธรรมชาติเป็นอันตรายต่อ มนุษย์น้อยมาก เพราะแหล่งกาเนิดอยู่ไกลและปริมาณที่เข้าสู่สภาพ แวดล้อมของมนุษย์และสัตว์มีน้อย กรณีที่เกิด จากการกระทาของมนุษย์ ได้แก่ มลพิษจากท่อไอเสีย ของรถยนต์จากโรงงานอุตสาหกรรมจากขบวนการผลิตจาก กิจกรรมด้านการเกษตรจากการระเหย ของก๊าซบางชนิด ซึ่งเกิดจากขยะมูลฝอยและของเสีย เป็นต้น
  • 4. แหล่งกาเนิดจากยานพาหนะ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วของประเทศจากภาคเกษตรกรรม มาเป็นภาคอุตสาหกรรมทาให้ กรุงเทพมหานครซึ่งเป็นศูนย์กลางของแหล่งธุรกิจและความเจริญมีจานวนประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิด ความต้องการในการเดินทางและการขนส่งมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้เกิดปัญหาจราจรติดขัดเข้าขั้นวิกฤต และนับวันจะทวี ความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ การจราจรที่ติดขัดทาให้รถเคลื่อนตัวได้ด้วยความเร็วต่า มีการหยุดและออกตัวบ่อยครั้ง ขึ้น น้ามันถูกเผาผลาญมากขึ้น การสันดาปของน้ามันเชื้อเพลิงไม่สมบูรณ์ และมีการระบายสารมลพิษทางท่อไอเสียใน สัดส่วนที่เพิ่มมากขึ้น ดังนั้นบริเวณที่ใกล้ถนนที่มีการจราจรติดขัด จะมีปัญหามลพิษทางอากาศที่รุนแรงกว่า ในบริเวณ ที่มีการจราจรคล่องตัว สารมลพิษที่ระบายเข้าสู่บรรยากาศที่เกิดจาก การคมนาคมขนส่ง ได้แก่ ก๊าซ คาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน สารตะกั่วและก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
  • 5. แหล่งกาเนิดจากโรงงานอุตสาหกรรม มลพิษทางอากาศจากแหล่ง กาเนิดอุตสาหกรรม เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงและ กระบวนการผลิต ซึ่งเป็นตัวการสาคัญที่ก่อให้เกิดผล กระทบต่อคุณภาพอากาศในบรรยากาศ และอาจส่งผล กระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชน โดยทั่วไปหรือก่อให้เกิด ความเดือดร้อนราคาญเชื้อเพลิงที่ใช้สาหรับอุตสาหกรรมมีอยู่ 3 ประเภทใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือ เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็ง เชื้อเพลิงที่เป็นของเหลว ได้แก่ น้ามันเตา และน้ามันดีเซล เชื้อเพลิงที่เป็นก๊าซ ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ และก๊าซ LPG
  • 6. สารมลพิษทางอากาศหลัก 1. ฝุ่นละออง ( Particle Matter : PM ) หมายถึง อนุภาคของแข็งหรือของเหลวที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง โดยประมาณอยู่ระหว่าง 0.001 ไมครอน ( 1 ไมครอน = 0.000001 เมตร ) ซึ่งเป็นขนาดของอนุภาคฝุ่นขนาดเล็ก จนถึง 500 ไมครอน ซึ่งเป็นขนาดของทราย หยาบ เวลาที่อนุภาคมลสารเหล่านี้จะสามารถแขวนลอยอยู่ใน บรรยากาศมีค่าตั้งแต่ไม่ กี่วินาทีจนถึงหลายๆ เดือนขึ้นอยู่กับขนาด นอกจากนี้อนุภาคมลสารจะเกิดปฏิกิริยาเคมี กับสารอื่นๆ ได้ขึ้นอยู่กับชนิดของอนุภาคมลสารและสารเคมีที่จับอยู่บนอนุภาคมลสาร ทาให้เกิดเป็น สารประกอบที่สามารถกัดกร่อนโลหะหรือเป็นอันตรายต่อพืชต่างๆ และยังมีผลกระทบต่อสุขภาพความเป็นอยุ่ ของมนุษย์อีกด้วย ผลของฝุ่นก่อให้เกิดผลได้ 3 ทาง ได้แก่ - ฝุ่นเป็นพิษเนื่องจากองค์ประกอบทางเคมีหรือลักษณะทางกายภาพ - ฝุ่นเข้าไปรบกวนระบบหายใจ - ฝุ่นเป็นตัวพาหรือดูดซับสารพิษและพาเข้าสู่ร่างกาย
  • 7. 2. ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ( CO ) เป็นก๊าซไม่มีสี และกลิ่น สามารถคงตัวอยู่ในบรรยากาศได้นาน 2 ถึง 4 เดือน โดยเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์เป็นหลัก มีผลต่อสุขภาพโดยจะเข้าไปรวมกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง เป็นผลให้ความสามารถในการจับออกซิเจนของเม็ดเลือดแดง ลดลง ทาให้เซลล์ในร่างกายขาดออกซิเจนซึ่งอาจ นาไปสู่การเสียชีวิตได้ 3. สารประกอบซัลเฟอร์ออกไซด์ ( SOx ) ในบรรยากาศจะพบมากในรูปของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ( SO2 ) ซึ่งเป็นก๊าซไม่มีสี ไม่ติดไฟ และไม่ระเบิด อาจก่อให้เกิดรสได้ถ้ามีในปริมาณสูง ซัลเฟอร์ไดออกไซด์เมื่อนาน เข้าจะถูกเปลี่ยนเป็นซัลเฟอร์ไซด์และกรดซัลฟูริ คและเกลือซัลเฟต โดยปฏิกิริยา catalytic หรือปฏิกิริยาเคมีแสง ( Photochemical Reaction ) ในอากาศ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์มักเกิดจาการเผาไหม้ของซัลเฟอร์ที่ปรากฏอยู่ใน เชื้อ เพลิงที่มาจากปิโตรเลียมและถ่านหิน เป็นก๊าซมลพิษที่มีแหล่งกาเนิดหลักมาจากโรงงานอุตสาหกรรมและ เครื่องยนต์ ดีเซล
  • 8. 4. สารประกอบไนโตรเจนออกไซด์ ( NOx) ก๊าซไนตริกออกไซด์ ( N2O ) และก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ( NO2 ) เกิดจากการสันดาปที่อุณหภูมิสูงและเป็นสารหลักในกลุ่มนี้ที่ก่อให้เกิดปัญหา มลภาวะทางอากาศ ก๊าซ ไนโตรเจนไดออกไซด์สามารถทาปฏิกิริยาในละอองน้าเกิดเป็น กรดไนตริก ( HNO2 ) ที่สามารถกัดกร่อน โลหะได้นอกจากนั้นสามารถทาปฎิกิริยาเคมีแสง ซึ่งจะลดความสามารถในการมองเห็นในบรรยากาศลง ก๊าซ ไนโตรเจนไดออกไซด์มีความเป็นพิษ มากกว่าก๊าซไนตริกออกไซด์ 5. ก๊าซโอโซน โอโซนเป็นสารโฟโตเคมีคอลออกซิแดนท์ประเภทหนึ่ง ซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาเคมี Photochemical Oxidation ระหว่างสารประกอบไฮโดรคาร์บอน และก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน โดยมี แสงแดดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา สารโฟโตเคมีคอลตัวอื่นๆ ได้แก่ สารประกอบพวกอัลดีไฮด์ คีโตนและ Peroxyacetyl Nitrate (PAN) ก่อให้เกิดสภาพที่เรียกว่า Photochemical Smog ซึ่งมีลักษณะเหมือนหมอกสีขาว ปกคลุมอยู่ทั่วไปในอากาศ โดยทั่วไปแล้ว ก๊าซโอโซนจะก่อให้เกิดการระคายเคืองตา และระคายเคืองต่อระบบ ทางเดินหายใจ ลดความสามารถในการทางานของปอดลง
  • 9. 6. ตะกั่ว (Pb) ตะกั่วที่อยู่ในอากาศโดยเฉพาะในเมือง จะมาจากยานพาหนะที่ใช้นามันเบนซิน เนื่องจาก ในน้ามันเบนซินจะมีสาร Tertrathyl Lead หรือ Tetramethyl Lead ผสมอยู่ เพื่อเพิ่มค่าออกเทนให้แก่ น้ามันเบนซิน สาหรับป้องกันการน็อกของเครื่องยนต์ ตะกั่วจะถูกระบายออกมาทางท่อไอเสียในรูปของ อนุภาคของแข็ง ตะกั่วเป็นโลหะหนัก มีความเป็นพิษสูง และจะรุนแรงมากในเด็ก ก่อให้เกิดอันตรายต่อ สุขภาพได้หลายอย่าง เช่น ทาลายไขกระดูกและเม็ดเลือดแดง ทาให้เกิดโรคโลหิตจาง สามารถถุก ถ่ายทอดจากมารดาผ่านรกไปยังทารกที่อยู่ในครรภ์ได้
  • 11. ฝุ่ นละอองในบรรยากาศ เป็นปัญหามลพิษทางอากาศที่สาคัญที่สุดของกรุงเทพมหานคร และเมืองใหญ่ๆ และ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนทั้งทางตรง และทางอ้อม ฝุ่นละอองคือ อนุภาคของแข็งขนาดเล็กที่ล่องลอยอยู่ในอากาศ ซึ่งเกิดจากวัตถุที่ถูกทุบ ตี บด กระแทก จนแตก ออกเป็นชิ้นส่วนเล็ก ๆ เมื่อถูกกระแสลมพัดก็จะปลิวกระจายตัวอยู่ในอากาศ และตกลงสู่พื้น ซึ่งเวลาในการตกจะ ช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับน้าหนักของอนุภาคฝุ่น แหล่งกาเนิดของฝุ่นจะแสดงถึงคุณสมบัติความเป็นพิษของฝุ่นด้วย เช่น แอสเบสตอส ตะกั่ว ไฮโดรคาร์บอน กัมมันตรังสี
  • 12. ฝุ่นแบ่งตามขนาดเป็น 2 ส่วน คือ ฝุ่นขนาดใหญ่ และฝุ่นขนาดเล็ก ซึ่งเรียกว่า PM10 (ฝุ่นละอองที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 10 ไมครอนลงมา) แหล่งที่มาของฝุ่นละอองในบรรยากาศ โดยทั่วไปจะแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ (Natural Particle) เกิดจากกระแสลมที่พัดผ่านตามธรรมชาติ ทาให้เกิดฝุ่น เช่น ดิน ทราย ละอองน้า เขม่าควันจากไฟป่า ฝุ่นเกลือจากทะเล ฝุ่นละอองที่เกิดจากกิจกรรมที่มนุษย์(Man-made Particle) - การคมนาคมขนส่ง รถบรรทุกหิน ดิน ทราย ซีเมนต์หรือวัตถุที่ทาให้เกิดฝุ่น หรือดินโคลนที่ติดอยู่ที่ล้อรถ ขณะแล่นจะมีฝุ่นตกอยู่บนถนน แล้ว กระจายตัวอยู่ในอากาศ ไอเสียจากรถยนต์เครื่องยนต์ดีเซลปล่อยเขม่า ฝุ่น ควันดา ออกมา ถนนที่สกปรก มีดินทรายตกค้าง อยู่มาก หรือมีกองวัสดุข้างถนนเมื่อรถแล่นจะทาให้เกิดฝุ่นปลิวอยู่ในอากาศ การก่อสร้างถนนใหม่ หรือการปรับปรุงผิว จราจร ทาให้เกิดฝุ่นมาก ฝุ่นที่เกิดจากยางรถยนต์และผ้าเบรค
  • 13. - การก่อสร้าง การก่อสร้างหลายชนิด มักมีการเปิดหน้าดินก่อนการก่อสร้าง ซึ่งทาให้เกิดฝุ่นได้ง่าย เช่น อาคาร สิ่งก่อสร้าง การ ปรับปรุงสาธารณูปโภค การก่อสร้างอาคารสูงทาให้ฝุ่นปูนซีเมนต์ถูกลมพัดออกมาจากอาคาร การรื้อถอน ทาลาย อาคารหรือสิ่งก่อสร้าง - โรงงานอุตสาหกรรม การเผาไหม้เชื้อเพลิง เช่น น้ามันเตา ถ่านหิน ฟืน แกลบ เพื่อนาพลังงานไปใช้ในการผลิต กระบวนการผลิตที่มีฝุ่น ออกมา เช่น การปั่นฝ้าย การเจียรโลหะ การเคลื่อนย้ายวัตถุดิบ
  • 14. ผลกระทบของมลพิษทางอากาศ 1. ทาอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ การที่สารที่มีอยู่ในอากาศจะเป็นอันตรายต่อร่างกายเพียงใดขึ้นอยู่กับ ปริมาณ ของสารนั้นๆ สารมีความเป็นพิษร้ายแรงเพียงใด ระยะเวลาที่ร่างกายสัมผัสกับอากาศสกปรกนั้นๆ ความต้านทานของร่างกาย ต่ออากาศสกปรก 2. ทาอันตรายต่อพืชและสัตว์ต่างๆ 3. ทาความเสียหายต่อทรัพย์สิน โดยก่อให้เกิดการกัดกร่อนต่อสิ่งก่อสร้าง วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ทาให้ เสื่อมสภาพเร็ว และทาให้สิ่งของเครื่องใช้สกปรกง่าย 4. จากัดการมองเห็น (การที่ควัน หรือฝุ่นละอองปนในอากาศมากทาให้ แสงสว่างส่องลงมาได้น้อยกว่าปกติ) ทาให้เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนได้ง่าย 5. ทาให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ โดยทาให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการปรับปรุงการเผาไหม้ ปรับปรุง วิธีการที่จะลดมลสารในอากาศ รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการวิจัย
  • 15. ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ นอกจากฝุ่นละอองจะทาให้เกิดอาการคายเคืองตาแล้ว ยังทาอันตรายต่อระบบหายใจ เมื่อเราสูดเอาอากาศที่มีฝุ่น ละอองเข้าไป โดยอาการระคายเคืองนั้นจะเกิดขึ้นตามส่วนต่าง ๆ ของระบบทางเดินหายใจขึ้นอยู่กับขนาดของฝุ่น ละออง โดยฝุ่นที่มีขนาดใหญ่ร่างกายจะดักไว้ได้ที่ขนจมูก ส่วนฝุ่นที่มีขนาดเล็กนั้นสามารถเล็ดลอดเข้าไปในระบบ หายใจ ทาให้ระคายเคือง แสบจมูก ไอ จาม มีเสมหะ หรือมีการสะสมของฝุ่นในถุงลมปอด ทาให้การทางานของปอด เสื่อมลง สารมลพิษ • ฝุ่นรวม (TSP) • ฝุ่นละอองขนาดเล็ก(PM-10) ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (มก./ลบ.ม) • 0.33 • 0.12 ค่าเฉลี่ย 1 ปี (มก./ลบ.ม) • 0.10 • 0.05
  • 16. .แนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ 1. ควบคุมเทคโนโลยีการใช้และการแปรรูปให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยให้เกิดของเสียและ มลสารน้อยที่สุด 2. ไม่ใส่มลสารเข้าสู่ขบวนการใช้และการแปรรูป แต่ถ้าจาเป็นต้องควบคุมปริมาณทั้งที่ใช้ และการแปรรูป แต่ถ้าจาเป็น ต้องควบคุมปริมาณทั้งที่ใช้ให้อยู่กว่าเกณฑ์มาตรฐาน 3. ควบคุมปริมาณการใช้ทรัพยากรให้พอเหมาะพอดี โดยส่วนที่เหลือจะต้องทาหน้าที่ได้ เท่ากับปริมาณที่มีตามปกติ 4. เมื่อใดก็ตามที่จะมีการใช้ทรัพยากรอย่างหนึ่ง แล้วส่งผลกระทบกับอีกทรัพยากรหนึ่งต้อง ไม่ทาให้ของเสียหรือมลสาร มีพิษต่อทรัพยากรนั้นๆ เช่น ผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยถ่านหินลิกไนต์ ต้องไม่ให้เกิดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซต์ มีค่าเกินมาตรฐาน 5. ใช้มาตรการทางกฎหมาย เพื่อป้องกัน พร้อมทั้งระบุโทษให้ประจักษ์ชัดตามความรุนแรง ของการกระทา การแก้ไขปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม
  • 17. กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง 1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 กาหนดสิทธิชุมชนไว้ในมาตรา 67 ว่าเป็นสิทธิ ของ บุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในการอนุรักษ์ บารุงรักษาและการได้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุ้มครอง ส่งเสริม และรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม เพื่อให้ดารงชีพอยู่ได้อย่างปกติและต่อเนื่องในสิ่งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อ สุขภาพ อนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ย่อมได้รับการคุ้มครองตามความเหมาะสม มาตรา 67 (วรรคสอง) การดาเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่าง รุนแรงทั้ง ทางคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ จะกระทามิได้เว้นแต่จะได้ศึกษาและ ประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการ รับฟัง ความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน ....ฯลฯ
  • 18. 2 . พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ. 2535 ลงวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2535 กาหนดไว้ในส่วนที่ 4 มลพิษทางอากาศและเสียง มาตรา 68 ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนา ของคณะกรรมการ ควบคุมมลพิษมีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กาหนดประเภทของแหล่งกานิด มลพิษที่จะต้องถูก ควบคุม การปล่อยอากาศเสีย รังสีหรือมลพิษอื่นใดที่อยู่ในสภาพเป็นควัน ไอ ก๊าซ เขม่า ฝุ่น ละออง เถ้าถ่าน หรือมลพิษอากาศ ในรูปแบบใดออกสู่บรรยากาศไม่เกินมาตรฐานควบคุมมลพิษอากาศจาก แหล่งกาเนิดที่ กาหนดตามมาตรา 55 หรือมาตรฐานที่ส่วนราชการใดกาหนดโดยอาศัยอานาจตามกฎหมายอื่น และมาตรฐาน นั้นยังมีผลใช้บังคับตามมาตรา 56 หรือมาตรฐานที่ผู้ว่าราชการจังหวัดกาหนดเป็นพิเศษสาหรับ เขตควบคุม มลพิษตามมาตรา 58 มาตรา 68 (วรรคสอง) เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษที่กาหนดตามวรรคหนึ่งมีหน้าที่ ต้อง ติดตั้ง หรือจัดให้มีระบบบาบัดอากาศเสีย อุปกรณ์หรือเครื่องมืออื่นใดสาหรับการควบคุม กาจัด ลด หรือ ขจัด มลพิษ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อคุณภาพอากาศตามที่เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษกาหนด
  • 19. 3 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2535 มาตรา 7 แบ่งประเภท โรงงาน ตาม ประเภทชนิดหรือขนาดออกเป็น 3 จาพวก โรงงานจาพวกที่ 1 ได้แก่โรงงานที่สามารถประกอบ กิจการ โรงงานทันทีตามความประสงค์ของผู้ประกอบกิจกาโรงงาน โรงงานจาพวกที่ 2 ได้แก่โรงงานที่เมื่อจะ ประกอบกิจการต้องแจ้งให้ผู้อนุญาตทราบก่อน และโรงงานจาพวกที่ 3 ได้แก่โรงงานที่ต้องได้รับใบอนุญาต ก่อนจึงจะดาเนินการได้ มาตรา 8 กาหนดให้รัฐมนตรีมีอานาจออกกฎกระทรวงในเรื่อง (5) กาหนดมาตรฐานและวิธีการ ควบคุม การปล่อยของเสีย มลพิษหรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งเกิดขึ้นจากการประกอบกิจการ โรงงาน
  • 20. 4 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2535 มาตรา 8 ใน กรณีที่เกิดหรือมีเหตุ อันควรสงสัยว่าจะเกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับ การดารงชีพของ ประชาชนซึ่งจาเป็นต้องมีการแก้ไขโดยเร่งด่วน ให้อธิบดีกรมอนามัยมอานาจออกคาสั่งให้ เจ้าของวัตถุหรือ บุคคลซึ่งเกี่ยวข้องกับการก่อให้เกิดหรืออาจเกิดความเสียหายดังกล่าวระงับการกระทาหรือให้ กระทาการใด ๆ เพื่อแก้ไขหรือป้องกันความเสียหายเช่นว่านั้นได้ตามที่เห็นสมควร มาตรา 28 ในกรณีที่มีเหตุราคาญเกิดขึ้นในสถานที่เอกชน ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอานาจออกคาสั่ง เป็น หนังสือให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองสถานที่นั้นระงับเหตุราคาญภายในเวลาอันสมควรตามที่ระบุไว้ในคาสั่ง และถ้าเห็นว่าสมควรจะให้กระทาโดยวิธีใดเพื่อระงับเหตุราคาญนั้น หรือสมควรกาหนดวิธีการเพื่อป้องกันมิ ให้ มีเหตุราคาญเกิดขึ้นในอนาคต ให้ระบุไว้ในคาสั่งได้
  • 21. ในกรณีที่ไม่มีการปฏิบัติตามคาสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามวรรคหนึ่ง ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมี อานาจ ระงับเหตุราคาญนั้นและอาจจัดการตามความจาเป็นเพื่อป้องกันมิให้มีเหตุราคาญเกิดขึ้นอีก และถ้าเหตุ ราคาญ เกิดขึ้นจากการกระทา การละเลย หรือการยินยอมของเจ้าของหรือผู้ครอบครองสถานที่นั้น เจ้าของ หรือผู้ ครอบครองสถานที่ดังกล่าวต้องเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายสาหรับการนั้น ในกรณีที่ปรากฏแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่นว่าเหตุราคาญที่เกิดขึ้นในสถานที่เอกชนอาจเกิดอันตรายอย่าง ร้ายแรงต่อสุขภาพ หรือมีผลกระทบต่อสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดารงชีพของประชาชน เจ้า พนักงานท้องถิ่นจะออกคาสั่งเป็นหนังสือห้ามมิให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองใช้หรือยินยอมให้บุคคลใดใช้ สถานที่ นั้นทั้งหมดหรือบางส่วน จนกว่าจะเป็นที่พอใจแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่นว่าได้มีการระงับเหตุราคาญนั้น แล้วก็ได้
  • 22. มาตรฐานสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง กฎหมายและมาตรฐานคุณภาพอากาศเป็นแรงขับเคลื่อนการตรวจวัดคุณภาพอากาศ การตรวจวัด คุณภาพ อากาศของหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน รวมถึงบริษัทที่ปรึกษาและห้องปฏิบัติการ เอกชน เป็นไป เพื่อการบังคับใช้และปฏิบัติตามกฎหมาย โดยอาจกล่าวได้ว่า เหตุผลสาคัญที่สุดที่ผู้จัดการ โรงงานทาการ ตรวจวัดคุณภาพอากาศเพราะกฎหมายกาหนดให้โรงงานทาการติดตามตรวจวัดและงานบริการ ด้านสิ่งแวดล้อม มีอยู่เพื่อตอบสนองข้อกาหนดกฎหมายในเรื่องการติดตามตรวจวัด การฟื้นฟูสภาพและการ ป้องกันสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ผู้ที่ทางานด้านสิ่งแวดล้อมจะต้องตระหนักและติดตามการเปลี่ยนแปลงของ กฎหมายให้ทันสมัยอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นกฎหมายของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงสาธารณสุข รวมถึงกฎหมายต่างประเทศที่ประเทศไทยอ้างอิง เช่น US EPA ฯลฯ
  • 23. 1. มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศตามประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับแรกตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อปีพ.ศ 2524 แต่ได้มีการปรับปรุงอย่าง ต่อเนื่องมาโดยตลอด (ตารางที่ 3.1) เนื่องจากมีหลักฐานจากงานวิจัยชี้ให้เห็นถึงอันตรายจากมลพิษที่ชัดเจนขึ้น ในเรื่อง ของลักษณะมลพิษ (ขนาดของฝุ่นละอองที่เล็กเป็นพิษมากกว่าฝุ่นขนาดใหญ่) ความเป็นพิษที่สะสมในระยะเวลายาว (ใช้ ค่าเฉลี่ย 1 เดือนแทน 24 ชั่วโมงสาหรับตะกั่ว ใช้ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมงสาหรับโอโซนเพิ่มจากค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง และใช้ ค่าเฉลี่ย 1 ปีสาหรับแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์เพิ่มจากค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง) ในขณะเดียวกันเหตุการณ์ภัยพิบัติ จากมลพิษ ในพื้นที่แม่เมาะชี้ให้เห็นถึงความจาเป็นในการกาหนดมาตรฐานแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์เฉลี่ย 1 ชั่วโมงสาหรับ ผลกระทบแบบเฉียบพลัน (เพิ่มจากค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง และ 1 ปี) พ.ร.บ.ดังกล่าวข้างต้นจะให้อานาจแก่รัฐมนตรีในการกาหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยมลพิษจาก แหล่งกาเนิดเพื่อ ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มาตรฐานมลพิษอากาศที่ควรให้ความสาคัญ นอกจาก มาตรฐานควบคุมการปล่อย มลพิษจากแหล่งกาเนิดแล้ว ยังได้แก่มาตรฐานมลพิษอากาศในสถานประกอบการ และมาตรฐานคุณภาพอากาศใน บรรยากาศ ดังสรุปต่อไปนี้
  • 24. 2. มาตรฐานควบคุมการปล่อยมลพิษจากแหล่งกาเนิด ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออก จาก โรงงาน พ.ศ. 2549 ลงวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2549 กาหนดปริมาณของสารเจือปนไว้15 ชนิด และวิธีตรวจวัด ของสารเจือปนแต่ละชนิด รวมถึงวิธีการรายงานผลการตรวจวัด ให้รายงานผลที่ ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 25 ที่สภาวะแห้ง โดยมีปริมาตรอากาศส่วนเกินในการเผาไหม้ ร้อยละ 50 หรือมีปริมาตร ออกซิเจนในอากาศเสีย ร้อยละ 7 เว้นแต่ในกรณีที่ไม่มีการเผาเชื้อเพลิง หรือเป็นการเผาเชื้อเพลิงระบบเปิด ให้ รายงานที่ปริมาตรออกซิเจนในอากาศเสียสภาวะจริง ในขณะตรวจวัด
  • 25. 3 มาตรฐานมลพษอากาศในสถานประกอบการ คุณภาพอากาศในสถานประกอบการมีความสาคัญเป็นอันดับแรกสาหรับพนักงานที่ทางานในสถาน ประกอบการ ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม (สารเคมี) ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2520 กาหนดปริมาณความเข้มข้นสูงสุดของสารเคมีที่ปลอดภัยต่อสุขภาพอนามัย (TLV – Threshold Limit Value) มีวัตถุประสงค์เพื่อสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย สาหรับ
  • 26. ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ภาวะมลพิษทางอากาศอาจเป็นอันตรายต่อผู้คนจานวนมากตัวอย่างเช่น กรณีของเมืองโบปาล ประเทศอินเดียเมื่อเดือน ธันวาคม 2527 เกิดการรั่วไหลของเมทิลไอโซไซยาเนทจากโรงงานของบริษัทยูเนียน คาร์ไบด์ทาให้มีคนตายกว่า 2,000 คน และ คนหลายหมื่นคนได้รับบาดเจ็บ เจ็บป่วยและพิการ นับเป็น โศกนาฎกรรมครั้งยิ่งใหญ่ เช่นเดียวกับ กรณีเชอโนบิล ประเทศสหภาพ โซเวียต เกิดการระเบิดของเตาปฏิกรณ์ นิวเคลียร์ของโรงไฟฟ้า ปล่อยสารกัมมันตรังสีแพร่กระจายไปในบรรยากาศกว้างหลายพัน ตารางกิโลเมตร มีผู้คนจานวนมากได้รับอันตรายจากสารกัมมันตรังสีและมีผลเสียหายต่อผลิตผลทางเกษตรกรรมคิดเป็นมูลค่า มหาศาล
  • 27. ในประเทศไทย กรณีไฟไหม้สารเคมีในคลังสินค้าที่ท่าเรือคลองเตยมีผลกระทบอย่างรุนแรงและระยะ ยาว ต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนในบริเวณใกล้เคียงท่าเรือ และบริเวณที่ทาการกลบฝังสารพิษ ตัวอย่าง เหล่านี้กระตุ้นให้คนไทยตื่นตัวในเรื่องสิ่งแวดล้อม หวาดกลัวต่อพิษภัยที่อาจเกิดขึ้น และตระหนักใน ความสาคัญของการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ปัญหามลพิษอากาศโดยทั่วไปมาจากโรงงานอุตสาหกรรมและการจราจรสารมลพิษจากไอเสียรถยนต์ เป็นสิ่งที่ใกล้ตัวผู้คนทั่วไปมากที่สุด ผู้ใช้รถใช้ถนนตลอดจนผู้ปฏิบัติงานบนท้องถนนล้วนได้รับผลกระทบ ต่อ สุขภาพอนามัยจากไอเสียรถยนต์ประชาชนทั่วไปตลอดจนนักธุรกิจผู้ลงทุน และนักท่องเที่ยวจาก ต่างประเทศ ระบุว่าภาวะมลพิษอากาศเป็นปัญหาอันดับหนึ่งที่ควรได้รับการแก้ไขโดยด่วนมิฉะนั้นแล้วจะมี ผลกระทบระยะ ยาวต่อการลงทุนและธุรกิจการท่องเที่ยวในประเทศไทย และโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อคุณภาพ ชีวิตของคน กรุงเทพฯ
  • 28. ผลกระทบจากภาวะมลพิษอากาศในระดับภูมิภาคและระดับโลก ภาวะมลพิษอากาศไม่ได้จากัดขอบเขตอยู่เฉพาะในพื้นที่รอบโรงงานแต่ในปัจจุบันได้แผ่ขยายออกไป เป็นปัญหาระดับภูมิภาคและระดับ โลกภาวะมลพิษทางอากาศระดับ ภูมิภาค ได้แก่ ปัญหาฝนกรด ส่วนภาวะ มลพิษทางอากาศระดับโลก ได้แก่ ปัญหาโลกร้อน และการ สูญเสียโอโซนในบรรยากาศชั้นบน ภาวะมลพิษอากาศเป็นปัญหาที่อยู่ใกล้ตัวเรามากที่สุด ทุกครั้งที่เราสูดลมหายใจเราอาจได้รับผล เสียหายจากมลภาวะอากาศ ใน ขณะเดียวกันมลภาวะอากาศเป็นปัญหาที่อยู่ไกลจากตัวเรามาก เป็นปัญหา ระดับภูมิภาคหรือระดับโลก ซึ่งมีผลกระทบต่อเราอย่างช้าๆ และ ใช้เวลานานกว่าที่เราจะรู้ว่าเกิดจากมลพิษ ภาวะอากาศ ปัญหาระดับโลกซึ่งเป็นที่สนใจกันมากและได้พิสูจน์ให้เห็นจริงในปัจจุบันคือ ปัญหาเรือนกระจก (Greenhouse Effect) ซึ่งเกิดจากไอเสีย จากการเผาไหม้เชื้อเพลิง และก๊าซจากการเน่าเปื่อยของอินทรีย์วัตถุ สะสมในบรรยากาศชั้นบนของโลก สะกัดกั้นการถ่ายเทความร้อนจากผิว โลกคืนสู่บรรยากาศนอกโลก (เปรียบเสมือนเรือนกระจกที่ใช้ปลูกต้นไม้เมืองร้อน ที่มีอุณหภูมิภายในเรือนกระจกสูงพอที่จะปลูกต้นไม้เมือง ร้อน) ทาให้อุณหภูมิผิวโลกร้อนขึ้นตามลาดับ และอาจมีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก ฝนแล้ง น้าท่วม และการ เกษตรกรรมเสียหาย
  • 29. ปัญหาระดับโลกอีกประการหนึ่งซึ่งเป็นที่ยอมรับนานาประเทศและกาลังแก้ไขอยู่ในปัจจุบันคือ การทาลายชั้นโอโซน (Ozone Depletion) ในบรรยากาศที่หุ้มห่อโลก ชั้นโอโซนนี้สกัดกั้นรังสีอุลตรา ไวโอเลตในแสงอาทิตย์ทาให้แสงแดดที่ ส่งถึงผิวโลกไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์หากคนเราได้รับรังสีอุลตรา ไวโอเลตมากเกินไปจะทาให้เกิดมะเร็งผิวหนัง เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อ สุขภาพ นักวิทยาศาสตร์ได้พิสูจน์ว่า สารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (Chloro-fluoro-Carbon-CFC) ซึ่งใช้ในเครื่องทาความเย็นและสเปรย์กระป๋ อง เมื่อใช้แล้วและลอยขึ้นสู่บรรยากาศชั้นบนจะทาลายชั้นโอโซน ดังปรากฏจากภาพถ่ายดาวเทียมว่าเกิดรูในชั้น โอโซน (Ozone Hole) บริเวณขั้ว โลกใต้ดังนั้นประเทศต่างๆทั่วโลกจึงได้ลงนามในสนธิสัญญาเพื่อลดและ ระงับการใช้สารเคมีชนิดนี้ ปัญหาระดับภูมิภาคที่เกิดขึ้นในหลายๆประเทศคือฝนกรดซึ่งเกิดจากก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์จากการเผา ไหม้เชื้อเพลิง รวมตัวกับฝนตกลงสู่พื้นผิวโลก ฝนดังกล่าวนี้มีสภาพเป็น กรดค่าพีเอชต่ากว่า 5 เมื่อไหลลงสู่แหล่งน้า ทะเลสาบ น้าที่มีสภาพเป็น กรดจะทาให้โลหะหนักละลายได้ดีขึ้น เพิ่มความเป็นพิษของโลหะหนัก ทาให้ปลาตายในที่สุด ในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป โดยเฉพาะ กลุ่ม ประเทศสแกนดิเนเวียน ทะเลสาบมากมายหลายแห่งเมื่อมีสภาพเป็นกรดแล้วก็ขาดสัตว์น้า กลายเป็นแหล่งน้า ซึ่งไม่มีชีวิต ในประเทศไทยเราสามารถมองไปรอบๆตัวเราและมองเห็นปัญหามลภาวะอากาศจากไอเสียรถยนต์ ควันดาจากโรงงานอุตสาหกรรมซึ่ง เป็นผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน
  • 30. งานวางโครงการระบบควบคุมมลพิษทางอากาศ เป็นงานแรกที่สามัญวิศวกรพึงมีความสามารถในการดาเนินการได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดในผลงานที่รับผิดชอบและต่อการแก้ไขปัญหาในฐานะสามัญวิศวกรสิ่งแวดล้อม อันประกอบด้วย 1. การกาหนดหลักเกณฑ์ในการเลือกระบบควบคุมมลพิษอากาศ 1) การทบทวนมาตรฐานมลพิษอากาศสาหรับประเภทแหล่งกาเนิดและชนิดมลพิษอากาศที่ ต้องการควบคุม เพื่อให้สามารถกาหนดความต้องการของระบบได้อย่างเหมาะสมและ เพียงพอกับข้อกาหนดทางกฎหมาย 2) ทบทวนข้อมูลอัตราไหลและลักษณะสมบัติของอากาศเสียที่ต้องการควบคุม รวมถึง ลักษณะการทางาน ของแหล่งกาเนิดอากาศเสีย และช่วงเวลาการทางาน เช่น เป็นแบบต่อเนื่อง หรือมีวงจรการทางาน เป็นช่วงเวลาหนึ่ง ของวัน หรือตามฤดูกาล 3) การกาหนดเกณฑ์ในการตรวจสอบและเฝ้าระวังระบบ โดยเน้นผลสัมฤทธิ์ (Outcome) ของระบบและให้ เกิดปัญหาตามมาน้อยที่สุด ลดข้อบกพร่องของระบบ เพิ่มความเชื่อมั่นต่อ ผลงานของวิศวกรสิ่งแวดล้อม
  • 31. 2 การเสนอทางเลือกและการคัดเลือกระบบที่เหมาะสม ในการวางโครงการ วิศวกรพึงเสนอทางเลือกของระบบเพื่อประกอบการตัดสินใจคัดเลือกระบบ อันจะทา ให้ได้ระบบที่มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้นในการเสนอทางเลือกของสามัญวิศวกร ควร ประกอบด้วย 1 .การกาหนดทางเลือก (Alternative) ของระบบที่มีรูปแบบแตกต่างและมีข้อดีข้อด้อย แตกต่างกัน อาทิมีทางเลือกไม่ น้อยกว่า 2 ทางเลือกไว้ประกอบการพิจารณา โดยที่ ทางเลือกดังกล่าวจะต้องเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ 2 วิธีการเลือกทางเลือกที่เหมาะสม จะต้องกาหนดตัวชี้วัดหรือปัจจัยต่างๆ ที่มีความสาคัญต่อ ระบบ อันจะทาให้ ระบบประสบความสาเร็จ ทั้งนี้วิธีการเลือกจะต้องเสนอวิธีการ / เกณฑ์ ในการเลือกหรือตัดสินใจ รวมถึง ประสิทธิภาพและข้อจากัดของแต่ละทางเลือก 3 การตัดสินใจเลือกและการสนับสนุนข้อมูล ควรอยู่บนพื้นฐานที่ยุติธรรม ไม่ลาเอียงเพราะ ผลประโยชน์ตอบแทน (Conflict of Interest) แต่อยู่บนพื้นฐานหลักวิชาการทาง วิศวกรรม ความมั่นคงปลอดภัย และประหยัดงบประมาณ และทรัพยากรอื่นๆ ดังนั้น การมี ข้อมูลสนับสนุนยืนยันต่อความเหมาะสมของทางเลือกจึงเป็นสิ่งจาเป็น
  • 32. 3 การจัดทารายละเอียดข้อกาหนดของระบบ การจัดทารายละเอียดหลักเกณฑ์หรือข้อกาหนดของระบบเป็นสิ่งจาป็น เพื่อให้ระบบ สามารถเกิดขึ้นได้ดังนั้นจึงควร ประกอบด้วย 1) รายละเอียดของข้อกาหนดที่มีความชัดเจนที่ผู้นาไปใช้ / ดาเนินการสามารถปฏิบัติได้ อย่างไม่มีข้อสงสัย อาทิการ เลือกผ้ากรอง ต้องกาหนดชนิดวัสดุความหนา ขนาดรูพรุน อัตราไหลอากาศในการกรองและในการทาความสะอาด เป็นต้นซึ่งเป็นสิ่งที่ต้อง ดาเนินการให้ชัดเจนและสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ที่มีจาหน่ายในตลาด เป็นต้น และเป็น ค่าที่อยู่ในช่วงสามารถดาเนินการได้โดยไม่ผิดพลาดจากข้อกาหนด 2) รายละเอียดของข้อกาหนดต้องมีความทันสมัย ไม่ตกยุค เป็นจริง ที่ผู้ดาเนินการสามารถ จัดหาได้ทั้งนี้ในการหา รายละเอียด สามัญวิศวกรพึงหาแหล่งอ้างอิงหรือหลักฐานได้เป็น ปัจจุบัน 3) การจัดทารายละเอียด จะต้องใช้ภาษาที่เป็นสากลที่สื่อความเข้าใจของผู้ออกแบบกับ ผู้ดาเนินการก่อสร้างได้ใน ทิศทางเดียวกัน 4) รูปแบบของรายละเอียดข้อกาหนดของทางเลือกที่เหมาะสม ต้องสามารถสื่อสารเข้าใจ ง่าย ไม่วกวน กากวม หรือ ซ่อนประเด็นให้ผู้ดาเนินการเข้าใจผิดจนก่อให้เกิดผลเสียต่อ โครงการ
  • 33. งานออกแบบและคานวณระบบควบคุมมลพิษทางอากาศ การออกแบบและคานวณระบบบาบัดมลพิษอากาศ จะต้องทราบถึงชนิดและแหล่งกาเนิดของมลพิษ อากาศ สารมลพิษอากาศจาแนกออกได้เป็น 2 ชนิด คือ ฝุ่นแขวนลอย และก๊าซ ฝุ่นแขวนลอยมาจากการเผา ไหม้เชื้อเพลิง เช่น ถ่านหิน น้ามัน ซึ่งเรามองเห็นในรูปของควันดา และกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม เช่น โรงหลอมเหล็ก โรงปูนซีเมนต์โรงโม่หิน ฝุ่นแขวนลอยเหล่านี้มีขนาดต่างๆกัน ตั้งแต่เล็กกว่า 1 ไมครอน จนถึง หลายร้อยไมครอน และประกอบด้วยแร่ธาตุต่างๆ สารมลพิษประเภทก๊าซมีมากมายหลายร้อยชนิดแต่เราสามารถจัดกลุ่มได้เป็นกลุ่มซัลเฟอร์ ไนโตรเจน คาร์บอน และฮาโลเจน ก๊าซเหล่านี้อาจมีสีมีกลิ่น มีความเป็นกรด เป็นด่างหรือมีความเป็นพิษ แตกต่างกัน ที่มาของก๊าซมลพิษ ได้แก่การเผาไหม้เชื้อเพลิง โรงงานกระดาษโรงกลั่นน้ามัน โรงงานปิโตรเคมี เป็นต้น
  • 34. แหล่งกาเนิดสารมลพิษในอากาศได้แก่ การเผาไหม้เชื้อเพลิง และกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม การเผาไหม้ เชื้อเพลิงมีอยู่ทั่วไป นอกจากการใช้เชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรมแล้ว ยังรวมถึงการเผาไหม้ เชื้อเพลิงใน โรงไฟฟ้า ที่อยู่อาศัยและอาคารพาณิชย์ต่างๆ ส่วนกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมมีการปล่อย ฝุ่นละออง สารเคมี หรือสารมลพิษต่างๆตามแต่ประเภทของอุตสาหกรรม ระบบควบคุมมลพิษอากาศเริ่มต้นที่การนามลพิษอากาศออกจากพื้นที่ทางาน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดผล กระทบ ต่อสุขภาพอนามัยของคนงาน ต่อจากนั้นเป็นการควบคุมมลพิษอากาศที่แหล่งกาเนิดโดยการสันดาป อย่างมี ประสิทธิภาพ สุดท้ายจึงเป็นการบาบัดมลพิษอากาศด้วยเทคโนโลยีควบคุมฝุ่นละอองและก๊าซ
  • 35. วิธีการควบคุมมลพิษอากาศ เป็นศาสตร์ที่มีความหลากหลาย ความกว้างและความลึกของเทคโนโลยีซึ่งไม่สามารถครอบคลุมได้โดยละเอียดในคู่มือเล่มนี้ ผู้อ่านจึงควรศึกษาเพิ่มเติมจากตาราและคู่มือมาตรฐาน เช่น ตาราระบบบาบัดมลพิษอากาศ ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม และหนังสือ มลภาวะอากาศ โดย วงศ์พันธ์ ลิมปเสนีย์. ธีระ เกรอต และนิตยา มหาผล ซึ่งคู่มือฉบับนี้ใช้อ้างอิง 1 การระบายอากาศ อากาศเสียเกิดจากการที่อากาศได้ถูกนาเข้าไปในกระบวนการและหลังจากใช้งานได้ เปลี่ยนเป็นอากาศไม่บริสุทธิ์จาเป็นต้อง ระบายออก อากาศเสียที่เกิดจากการเผาไหม้อาทิหม้อต้มน้า ชนิดต่างๆ จะมีพัดลมที่นาอากาศเข้าไปเผาไหม้และมีพัดลมดูดอากาศเสีย ออกไปทางปล่อง การออกแบบ ระบบระบายอากาศเสียอาจไม่ยุ่งยากมากนัก เพราะเพียงแต่คานวณขนาดของปล่องให้เหมาะสมกับ ปริมาณ อากาศเสีย และให้อากาศเสียสามารถออกไปจากปล่องด้วยความเร็วที่เพียงพอและความต้านทานของปล่อง ไม่เป็นภาระแก่พัด ลมมากนัก แต่ในบางกระบวนการผลิตซึ่งไม่ใช่หม้อต้มน้า อากาศเสียจะเกิดขึ้นและต้องถูก ดูดผ่าน Hood ชนิดต่างๆ กันตามความ เหมาะสม จึงจาเป็นต้องออกแบบระบบดูดอากาศเสีย (Hood) เสียก่อน เมื่อทราบปริมาณอากาศเสียแล้วจึงมากาหนดขนาดของท่อและ เส้นทาง เมื่อทราบความต้านทาน ของระบบทั้งหมดจึงมากาหนดขนาดของพัดลม และหากมีระบบกาจัดมลพิษเข้ามาเกี่ยวข้องก็จะต้อง คานวณ ความต้านทานของระบบดังกล่าวเข้าไปอีกด้วย
  • 36. (1) ความหมายของการระบายอากาศ การระบายอากาศเป็นวิธีการควบคุมมลพิษอากาศที่ได้ผลดียิ่งวิธีหนึ่ง โดยอาศัยหลักการ เคลื่อนย้ายอากาศที่ปนเปื้อนด้วยมลพิษออกไปจากสถานที่ทางานการระบายอากาศจึงหมายถึง การจัดการ เคลื่อนย้ายอากาศด้วยปริมาณที่กาหนดให้ไหลไปในทิศทางและด้วยความเร็วที่ต้องการดังนั้นการ ระบาย อากาศจึงสามารถกาจัดสิ่งปนเปื้อนในอากาศอันไม่พึงประสงค์เช่นมลพิษความร้อนความชื้นกลิ่นรบกวน ควัน และอื่นๆซึ่งปะปนอยู่ในอากาศให้ออกไปจากที่ปฏิบัติงานและในขณะเดียวกันก็สามารถดาเนินการให้อากาศ บริสุทธิ์หรืออากาศที่มีสมบัติที่ต้องการไหลเข้ามาในสถานที่ทางานนั้นได้และด้วยความรู้ทางด้าน วิศวกรรมศาสตร์ก็สามารถออกแบบและควบคุมการระบายอากาศให้เป็นไปตามความประสงค์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพดังนั้นการระบายอากาศจึงเป็นวิธีการที่ใช้ได้ผลยิ่งวิธีหนึ่งในการป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและ/ หรือลดปัญหาความเดือดร้อนราคาญซึ่งอาจเกิดขึ้นกับพนักงานในสถานที่ทางาน
  • 37. (2) ประโยชน์ของการระบายอากาศ การระบายอากาศนับเป็นสิ่งที่สาคัญมากในการป้องกันและควบคุม อันตรายที่อาจจะเกิดต่อ สุขภาพอนามัยของคนเรา ประโยชน์ของการระบายอากาศจึงรวมทั้ง การคุ้มครอง สุขภาพ และยังรวมถึง ความรู้สึกสบายของพนักงานอีกด้วย ดังนี้ - การระบายอากาศสามารถควบคุมระดับสิ่งปนเปื้อนในอากาศ เช่น ฝุ่นละออง ไอสารเคมี ก๊าซ ควัน ฯลฯ ในห้องทางานให้อยู่ในระดับที่ปลอดภัยได้ซึ่งสิ่งปนเปื้อนเหล่านี้เมื่อได้รับเข้าสู่ร่างกายก็จะมี การสะสม ในอวัยวะต่างๆ จนถึงระดับที่ทาให้คนเจ็บป่วยหรือไม่สบายได้ถ้ามีระบบการระบายอากาศที่ดีสิ่ง ปนเปื้อน เหล่านี้จะถูกลดลงได้ในระดับที่ปลอดภัยอย่างรวดเร็ว - การระบายอากาศที่ดียังสามารถควบคุมอุณหภูมิและความชื้นให้อยู่ในระดับที่รู้สึกสบายได้ เพราะ ความร้อน และความชื้น ถ้าไม่เหมาะสมจะทาให้ป่วย หงุดหงิด อึดอัด และไม่สามารถทางานได้แล้วยัง เป็น สาเหตุของอุบัติเหตุได้
  • 38. (3) ชนิดของการระบายอากาศ การระบายอากาศที่ใช้เพื่อป้องกันอันตรายต่อสุขภาพ และป้องกันความเดือดร้อนราคาญต่อ ผู้ปฏิบัติงานในอาคาร จาแนกได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ (1) ระบบระบายอากาศพื้นที่ทั่วไป (2) ระบบระบายอากาศ เฉพาะที่ 1) การระบายอากาศพื้นที่ทั่วไป หรือ การระบายอากาศแบบทาให้เจือจาง เป็นการระบายอากาศเพื่อลด ความเข้มข้นของมลพิษที่ปนเปื้อนอยู่ในอากาศ โดยการทาให้ เจือจางลงด้วยอากาศบริสุทธิ์จากภายนอก จนกระทั่งมลพิษ เหล่านั้นมีความเข้มข้นอยู่ในระดับที่ไม่เป็น อันตรายต่อสุขภาพหรือ ทาให้ไม่เกิดความเดือดร้อนราคาญการคานวณ ปริมาณอากาศที่ใช้ในการเจือจางจะ กาหนดเป็น ปริมาณห้องต่อเวลา (Air Change) ข้อดี 1. การจัดทาระบบระบายอากาศง่ายกว่าแบบที่ 2 ซึ่งจะกล่าวต่อไป 2. เป็นวิธีการที่ประหยัด ใช้อุปกรณ์น้อย 3. ใช้ได้ดีกับมลพิษที่เป็นก๊าซ
  • 39. ข้อจากัด 1. ไม่สามารถกาจัดปริมาณมลพิษในปริมาณที่มากได้เพราะจาเป็นต้องใช้อากาศบริสุทธิ์ที่ มาก เพื่อเจือจาง ถ้ายิ่ง มีการติดตั้ง ระบบปรับอากาศแล้วระบบปรับอากาศจะต้องทางานหนัก ทาให้สิ้นเปลืองค่าไฟฟ้าสูงได้ 2. มลพิษที่เกิดขึ้นควรมีความเป็นพิษต่า และไม่เป็นสารไวไฟ 3. ไม่สามารถจัดการกับฝุ่น เพราะมลพิษแบบนี้มักเกิดและปนเปื้อนในอากาศในปริมาณที่ ค่อนข้างสูง 2) การระบายอากาศแบบเฉพาะที่ เป็นการระบายอากาศที่มีจุดประสงค์เดียวกันกับการระบายอากาศแบบทั่วไปหรือแบบเจือ จาง แต่มีหลักการและ วิธีการที่แตกต่างออกไป คือ การระบายอากาศแบบเฉพาะที่ใช้หลักการดูดระบาย อากาศที่ถูกปนเปื้อนออกจากบริเวณที่ เป็นจุดกาเนิดโดยตรงก่อนที่มลพิษนั้นจะเข้าปนเปื้อนกับอากาศในห้อง ทั้งนี้ด้วยการทางานของ 3 ส่วนใหญ่ๆ คือ ท่อดูด อากาศ ท่อลม และพัดลมระบายอากาศ ข้อดี 1. เป็นการใช้ระบบระบายอากาศกาจัดมลพิษที่ต้นกาเนิด ทาให้มลพิษไม่ปนไปกับอากาศ ในห้อง 2. ใช้ได้ผลดีกับมลพิษ สิ่งปนเปื้อนหลายๆ ชนิด ยิ่งกว่านั้นยังใช้ได้ดีกับระดับความเป็นพิษมาก 3. ปริมาณอากาศที่ต้องนาออกไป หรือนาเข้ามาแทนมีไม่มาก ทาให้ประหยัดพลังงาน ข้อจากัด 1. การจัดทายากกว่าแบบแรก มีราคาแพงกว่า และดูแลรักษาอุปกรณ์ยากกว่า
  • 40. 3) การระบายอากาศด้วยพัดลมระบายอากาศ พัดลมระบายอากาศในที่นี้หมายถึงพัดลมที่มีใบพัดใช้มอเตอร์ไฟฟ้าหมุนโดยตรงใช้ไฟฟ้า กระแสสลับ 1 เฟสแรงดันไฟฟ้าไม่เกิน 250 โวลต์ความถี่กาหนดไม่เกิน 50 เฮิรตซ์ติดไว้เพื่อ จุดประสงค์ใน การระบายอากาศเช่นที่ผนังห้องเพดานห้องฯลฯการใช้งานเฉพาะภายในอาคาร หรือสถานที่อื่นโดยมีลักษณะ การใช้งานที่คล้ายคลึงกันในการระบายอากาศเสียภายในห้อง ออกสู่ภายนอกห้องหรือการนาอากาศดีจาก ภายนอกห้องเข้ามาภายในห้อง
  • 41. 2 ระบบเผาไหม การเผาไหม้ที่เกิดขึ้นในโรงงานอุตสาหกรรม แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ (1) การเผาในกระบวนการ ผลิต ทั้งที่เป็นการเผาเชื้อเพลิง เช่น ในหม้อน้า และการเผาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต เช่น เตาเผาปูน เตาหลอมเหล็ก เป็นต้น (2) การเผาของเสีย แต่ในปัจจุบัน การเผาของเสียอาจเป็นส่วนหนึ่งของการเผาของ เสียเพื่อนาพลังงาน กลับคืน (Energy Recovery) การควบคุมการเผาไหม้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้พลังงาน สูงสุดในขณะเดียวกับที่ ก่อให้เกิดมลพิษน้อยที่สุด ทั้งนี้การเกิดมลพิษจะขึ้นกับปัจจัยที่สาคัญ ได้แก่ ชนิดของ เชื้อเพลิง อัตราส่วนอากาศ ต่อเชื้อเพลิง และวิธีการควบคุมการเผาไหม้ซึ่งวิศวกรจะต้องให้ความสนใจ ในการควบคุมการเผาไหม้ให้มี ประสิทธิภาพสูงสุด
  • 42. 1) ชนิดของเชื้อเพลิง เชื้อเพลิงที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมแบ่งออกได้เป็น 1) เชื้อเพลิงปกติเช่น เชื้อเพลิงปิโตรเลียม 2) เชื้อเพลิงทดแทน ได้แก่ชีวมวล ของเสีย และวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร เช่น แกลบ ชานอ้อย เชื้อเพลิง ปิโตรเลียมที่ใชในโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ก๊าซธรรมชาติก๊าซแอลพีจีน้ามันดีเซล น้ามันเตา และถ่านหิน ซึ่งอาจ จาแนกตามสถานะได้เป็น ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ เชื้อเพลิงทดแทน (Renewable Energy) จาพวกชีวมวล ได้แก่ ฟืน ถ่าน ซึ่งรวมถึงวัสดุเหลือใช้ จากการเกษตร ได้แก่ ฟางข้าว แกลบ ชานอ้อย เส้นใยและกะลาปาล์ม ฯลฯ เชื้อเพลิง ทดแทน จาพวกของเสีย ได้แก่ มลฝอยจากบ้านเรือนและสานักงาน เช่น กระดาษ ยาง รถยนต์ของเสียจาก อุตสาหกรรมทั้งที่เป็นของแข็ง น้ามัน และจากกระบวนการบาบัดของเสีย เช่น ถ่านกัม มันต์ตะกอนน้าเสีย ฯลฯ เรา อาจเรียงลาดับความสะอาดของเชื้อเพลิงได้ดังนี้คือ เชื้อเพลิงก๊าซ เชื้อเพลิงของเหลว และ เชื้อเพลิงแข็งรวมถึง เชื้อเพลิงชีวมวล ซึ่งมีลกษณะสมบัติทั่วไปดังนี้
  • 43. เชื้อเพลิง ก๊าซ ได้แก่ก๊าซธรรมชาติและเชื้อเพลิงก๊าซที่ผลิตขึ้นมาจากเชื้อเพลิงเหลว และเชื้อเพลิงแข็งอื่นๆ ลักษณะเด่นโดยทั่วไปมีดังต่อไปนี้ - ประสิทธิภาพการเผาไหม้สูง สามารถเผาไหม้ได้สมบูรณ์และไม่เกิดเขม่า - มีกามะถันเจือปนอยู่น้อยมาก ดังนั้นในไอเสียที่เกิดจากการเผาไหม้จึงมีซัลเฟอร์ ไดออกไซด์( so2) ผสมอยู่น้อยมาก - ไม่มีขี้เถ้า จึงไม่ทาให้เกิดฝุ่นละออง แต่สาหรับเชื้อเพลิงบางชนิดที่ทามาจาก เชื้อเพลิง บางครั้งจะมีฝุ่นละอองแขวนลอย
  • 44. เชื้อเพลิงเหลว เชื้อเพลิงเหลวที่สาคัญคือ เชื้อเพลิงปิโตรเลียม น้ามันที่มีอยู่ตามธรรมชาติและถูกสูบขึ้นมาจากใต้ ดินเรียกว่า น้ามันดิบ ซึ่งลักษณะทางกายภาพและทางเคมีจะแตกต่างกันไปตามพื้นที่ที่ผลิตได้องค์ประกอบ หลักคือสารประกอบของ ไฮโดรคาร์บอน อาจมีสารเจือปนคือ S และ N น้ามันดิบจะถูกนาไปกลั่นใน กระบวนการที่มีทั้งการกลั่น การทาให้แตกตัว การ ปรับคุณภาพ ในบรรดาผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม ที่ถูก นามาใช้เป็นเชื้อเพลิงก็มีก๊าซปิโตรเลียมเหลว น้ามันเบนซิน น้ามันก๊าด น้ามันเตา โดยน้ามันเตาและน้ามัน ดีเซลมีปริมาณการใช้เชื้อเพลิงสาหรับอุตสาหกรรมมากที่สุดและรองลงไปตามลาดับ โดยมี ลักษณะสมบัติทั่วไป ดังนี้ - น้ามันดีเซลเป็นเชื้อเพลิงที่ใช้สาหรับเครื่องยนต์ดีเซล แบงออกได้เป็น 2 ประเภท ประเภท แรก คือ น้ามนดีเซลหมุนเร็ว หรือ น้ามันโซล่า ใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลทั้งรถยนต์และเครื่องยนต์ที่หมุนเกิน 1,000รอบต่อนาทีอีกประเภท คือน้ามันดีเซลหมุนช้า หรือน้ามันขี้โล้ใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลรอบปานกลางหรือ รอบต่า ใช้ในเครื่องยนต์เรือ และในอตสาหกรรม - น้ามันเตาเป็นน้ามันหนักที่เหลือจากการกลั่นน้ามันเชื้อเพลิงชนิดอื่น เป็นน้ามันที่มีราคาถูก กว่าจึงนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ในอุตสาหกรรม โดยใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับเตาหม้อน้าและเตาเผา หรือเตา หลอมในโรงงานอุสาหกรรม ในประเทศไทยได้มีการ กาหนดลักษณะและคุณภาพน้ามันเตาเป็น 5 ชนิด โดย ชนิดที่1-4 มีปริมาณกามะถันไม่สูงกว่าร้อยละ 2 โดยมีค่าความหนืดต่างกัน ส่วนชนิดที่ 5 มีปริมาณกามะถันไม่ สูงกว่าร้อยละ 0.50
  • 45. เชื้อเพลงแข็ง เชื้อเพลิงแข็งที่นามาใช้ในสภาพตามธรรมชาติเช่น ฟืน ถ่านหิน ลิกไนท์บิทูมินัสและแอนทรา ไซท์และเชื้อเพลิงที่ได้จาก การนามาแปรรูป เช่น ถ่านไม้ถ่านโค้ก ถ่านหินป่นอัดก้อนเป็นต้น ในนเชิง อุตสาหกรรมแล้วจะใช้ถ่านหินซึ่งส่วนใหญ่เป็น ถ่านหินบิทูมินัสเชื้อเพลิงแข็งนอกจากจะมีคาร์บอนเป็นธาตุหลัก แล้ว ยังมีธาตุอื่นๆเจือปน เชน่ ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน และกามะถัน เป็นต้น โดยทั่วไปจะมีทั้งเถ้าซึ่ง เกิดจากสารอนินทรีย์และน้าทาให้เกิดเขมาควันปริมาณมาก เชื้อเพลงชีวมวล เชื้อเพลิงชีวมวลเป็นเชื้อเพลิงที่ได้จากพืชและสัตว์หรือองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตหรือ สารอินทรีย์ต่างๆ รวมทั้งผลผลิต จากการเกษตรและป่าไม้ไม้ฟืน แกลบ ชานอ้อย วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ต่างๆ รวมทั้ง การนามูลสัตว์มาใช้ผลิตก๊าซ ชีวภาพชีวมวลแต่ละชนิดมีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันออกไป บางชนิด ไม่เหมาะที่จะนามาเผาไหม้โดยตรงเพื่อผลิตไฟฟ้าเช่น กากมันสาปะหลัง และส่าเหล้า เพราะมีความชื้นสูงถึง 80-90% บางชนิดต้องนามาย่อย ก่อนนาไปเผาไหม้เช่น เศษไม้ ยางพารา
  • 46. การควบคุมฝุ่นละออง เครื่องกรองฝุ่น (fabric filters) เครื่องกรองฝุ่นโดยปกติจะเป็นถุงกรอง (bag filter) ทาจากวัสดุที่เป็นผ้าจากการทอ (woven) แต่ใน ปัจจุบันวัสดุที่ใช้ทาถุงกรอง อาจเป็นแผ่นเส้นใย (เช่น พลาสติกโพลีพรอพเพอลีน) ที่ยึดติดกันด้วยความร้อน หรือแรงกลหรือทางเคมี โดยไม่ได้ใช้การทอ (non-woven) ทาการกรองฝุ่นโดยให้อากาศที่สกปรกผ่านถุงกรอง จากด้านนอก อากาศที่ผ่านเข้าไปด้านในจะเป็นอากาศสะอาด เมื่อเดินระบบไปเป็น ระยะเวลาหนึ่งจนฝุ่นเกาะ อยู่ที่ผิวถุงกรองเป็นปริมาณมาก จะทาให้เกิดการอุดตันและอากาศไหลผ่านได้น้อย และเกิดความดันลดที่ผิวถุง กรองสูง จะต้องทาความสะอาดถุงกรองเพื่อให้กลับมาทางานได้ตามปกติ ส่วนสาคัญของเครื่องกรองฝุ่นได้แก่ คุณลักษณะของผ้ากรอง และวิธีทาความสะอาดถุงกรอง โดยปกติถุงกรองจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 20-30 เซนติเมตร แต่อาจมีความยาวหลาย เมตร ใน ห้องถุงกรองอาจมีถุงกรองหลายสิบถุงหรือมากกว่าร้อยถุง ทั้งนี้เพื่อให้มีพื้นที่ผิวในการกรองสูง สามารถกรองฝุ่นได้ปริมาณมากก่อนที่จะ อุดตัน ตัวอย่างวัสดุที่ใช้ทาผ้ากรอง ได้แก่ ผ้าฝ้ายซึ่งทนอุณหภูมิได้ไม่เกินประมาณ 100 องศาเซลเซียส หรือโพลีพรอพพีลีนซึ่งทนกรด การกัดกร่อน และการดัดโค้งงอได้ดีกว่า หรือ Nomex ซึ่งทนอุณหภูมิได้ประมาณ 200 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 5-5) หากอุณหภูมิก๊าซสูง กว่าอุณหภูมิ การใช้งานของผ้ากรอง จะต้องทาให้ก๊าซเย็นลงก่อน
  • 47.
  • 48.
  • 49. จัดทาโดย นางสาว ธัญวรัตน์ จิตเจริญ 590404426095 นาย กมลภพ ตันกาบ 590404427923 นาย จักรพันธ์ ศรีหาบุญทัน 590404427839 นางสาว นิภาพรรณ ยวนรัมย์ 590404426493