SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
มลพิษทาง
อากาศ
 ความหมายของมลพิษทางอากาศ
 แหล่งกาเนิดของสารมลพิษทางอากาศ
 ชนิดของสารมลพิษทางอากาศ
 การวัดคุณภาพของอากาศ
 การควบคุมและป้องกันมลพิษทางอากาศ
คือการปนเปื้อนของสารเคมี สารประกอบทางกายภาพ สารชีววิทยาในสิ่งแวดล้อม หรือสิ่งปนเปื้อนในปริมาณที่มากพอ
จนก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงของชั้นบรรยากาศ ทาให้อากาศนั้นเสื่อมคุณภาพ ส่วนใหญ่มักเกิดจากการเผาผลาญของ
เครื่องยนต์ ยานพาหนะ การทาอุตสาหกรรม หรือแม้แต่ไฟป่า โดยสารในมลพิษทางอากาศที่ส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์สัตว์
พืช และสิ่งแวดล้อมทั้งในทางตรงและทางอ้อม
ผลกระทบต่อพืช ป่าไม้ ผลกระทบต่อมนุษย์ ผลกระทบต่อสัตว์
ภาพตัวอย่าง
ภาพตัวอย่าง ภาพตัวอย่าง
แหล่งกาเนิดของสารมลพิษ
แหล่งกาเนิดตามธรรมชาติ (NATURAL SOURCES)
• ภูเขาไฟระเบิด การที่เกิดภูเขาไฟระเบิดจะมีเขม่าพ้นออกมาในบรรยากาศจานวนมาก ซึ่งเขม่า
เหล่านั้นก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ทาให้เกิดมลภาวะทางอากาศและเขม่าที่เกิดจากภูเขาไฟระเบิดจะสามารถอยู่
ในอากาศได้นานนับปี ทาให้เกิดก๊าซ เช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และก๊าซมีเทน
• ไฟป่า เมื่อเกิดไฟป่าแต่ละครั้งจะเกิดควันขึ้นมาจานวนมหาศาล ซึ่งควันที่เกิดจากไฟป่านั้นทาให้เกิด
ก๊าซต่างๆ เช่น ควัน เถ้า คาร์บอนมอนนอกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจน ไฮโดรคาร์บอน และ
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เป็นต้น
• การเน่าเปื่อย พวกจุลินทรีย์จะมีการย่อยสลายสิ่งต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นซากพืชซากสัตว์ ซึ่งในการย่อย
สลายจะทาให้เกิดก๊าซ แอมโมเนีย เป็นก๊าชที่ทาในเกิดกลิ่นเหม็น คาร์บอนไดออกไซด์ และ
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ เป็นต้น
• การฟุ้งกระจาย อนุภาคสารจะเป็นอนุภาคขนาดเล็กซึ่งสามารถลอยไปตามอากาศซึ่งเป็นสาเหตุใน
เกิดโรคต่าง ๆ มากมาย เช่น แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา และสปอร์ เป็นต้น
แหล่งกาเนิดจากการกระทาของมนุษย์ (MAN-MAD SOURCES)
• การคมนาคม ปัจจุบันมีการข้นส่งสินค้า การเดินทางเป็นจานวนมากโดยการใช้ยานพาหนะต่างๆ
โดยเฉพาะรถยนต์ซึ่งเป็นต้นเหตุสาคัญที่สุด โดยที่รถยนต์จะปล่อยกาศพวกคาร์บอน ไดออกไซด์
ก๊าชไนตริกออกไซด์และก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ รวมทั้งกาซคาร์บอนมอนนอกไซด์
• โรงไฟฟ้า ในการที่จะผลิตการแสไฟฟ้าจะมีการเผาไหม้พลังงานจานวนมหาศาลและในการเผาไหม้
นั้นจะมีการปล่อยสารพวก ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนออกไซด์และอนุภาคของมวล
สาร ต่าง ๆ
• การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง การเผาไหม้เชื้อเพลิงเป็นสิ่งที่สาคัญในการใช้ชีวิตประจาวันที่เราใช้ในการ
ดาเนินชีวิต แต่ในการเผาไหม้เหล่านั้นก็จะทาให้มีการปล่อยสารพวก ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซ
ไนโตรเจนออกไซด์ ไฮโดคาร์บอนและอนุภาคของมวลสารต่าง ๆ
• การเผาขยะสิ่งปฏิกูล ปัจจุบันมีขยะเกิดขึ้นมากมายซึ่งก็นามาซึ่งการทาลายและการทาลายวิธีหนึ่งก็คือ
การเผาไหม้ ซึ่งการเผาไหม้จะมีการปล่อยสารพวก สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ออกไซด์ของ
ไนโตรเจน ออกไซด์ของกามะถัน คาร์บอนมอนอกไซด์และคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นต้น
ชนิดของสารมลพิษทางอากาศ
อนุภาคต่างๆ
• ฝุ่นละออง
จากสารอินทรีย์ เช่น เกสรของพืชหรือหญ้า แบคทีเรีย เศษ
เน่าเปื่อยของสิ่งมีชีวิต
ฝุ่นละอองจากสารอนินทรีย์ เช่น ฝุ่นหิน ฝุ่นเหล็ก ฝุ่นทราย
ฝุ่นก่อสร้าง ฝุ่นการเผาไหม้เชื้อเพลิง ฝุ่นจากการเผาขยะ
ฝุ่นมี 3 ขนาด ขนาดใหญ่ (ไม่เกิน100ไมครอน)
ขนาดเล็ก(ไม่เกิน10ไมครอน) ขนาดจิ๋ว(ไม่เกิน2.5ไมครอน)
• ขี้เถ้า อนุภาคเล็กมากที่เหลือจากการเผาไหม้
• เขม่า เป็นการรวมตัวของอนุภาคเล็กๆ
ก๊าซและไอต่างๆ
• ออกไซด์ต่างๆของคาร์บอน
• ออกไซด์ของซัลเฟอร์
• ไฮโดรคาร์บอน
• ออกไซด์ของไนโตรเจน
• โลหะหนัก
• สารอินทรีย์อันตราย
• ก๊าซเรือนกระจก
• ก๊าซโอโซน
ผลกระทบ
จากที่กล่าวมาทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นอนุภาคต่างๆ หรือจะเป็น
ก๊าซและไอต่างๆ ล้วนทาให้เกิดมลพิษทางอากาศทั้งสิ้น ซึ่งการที่
จะเกิดก๊าซเหล่านี้มันก็เกิดจากการกระทาของมนุษย์และเกิดเอง
ตามธรรมชาติ ซึ่งมันส่งผลเสียมากๆให้กับมนุษย์ สัตว์ และ
สิ่งแวดล้อม
ถ้าเราไม่ช่วยกันป้องกันการเกิดมลพิษทางอากาศ
ผลกระทบก็ตกมาอยู่ที่มนุษย์ การใช้ชีวิต การดาเนินชีวิตของเราก็
จะไม่ได้รับอากาศที่บริสุทธิ์ ดังนั้นมันอาจทาให้เราเสียสุขภาพกาย
ได้ อาจส่งผลต่อชีวิตเลยก็ได้
ในประเทศไทย คนทั่วไปรับรู้คุณภาพของอากาศได้จากผลวัดที่จัดทาโดยกรมควบคุมมลพิษ เรียกว่าดัชนีคุณภาพ
อากาศ ซึ่งเป็นรายงานข้อมูลเกี่ยวกับอากาศที่หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมนาเสนอแก่ประชาชนทั่วไปเป็นระยะ เพื่อให้รับรู้
ถึงสถานการณ์มลพิษทางอากาศและความเสี่ยงต่อสุขภาพ
ดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทยแบ่งออกเป็น 5 ระดับ และมีการใช้สีเป็นสัญลักษณ์ ซึ่งค่าดัชนีคุณภาพอากาศ
ที่ถือว่าเป็นปกติคือ 100 หากสูงกว่าแสดงว่าในอากาศมีความเข้มข้นของมลพิษค่อนข้างสูงหรือสูงมาก โดยเกณฑ์การวัด
มีดังนี้
0-50 ใช้สีฟ้าเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศอยู่ในระดับดี และไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
51-100 ใช้สีเขียวเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศอยู่ในระดับปานกลาง และไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
101-200 ใช้สีเหลืองเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศมีผลกระทบต่อสุขภาพ ผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ
ควรหลีกเลี่ยงการออกกาลังกายนอกอาคาร เด็กและผู้สูงอายุไม่ควรทากิจกรรมภายนอกอาคารนาน ๆ
201-300 ใช้สีส้มเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศมีผลกระทบต่อสุขภาพมาก ผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ
ควรหลีกเลี่ยงการทากิจกรรมนอกอาคาร เด็กและผู้สูงอายุควรลดการออกกาลังกายนอกอาคาร
มากกว่า 300 ใช้สีแดงเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศเป็นอันตราย ผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจควรอยู่แต่
ภายในอาคาร บุคคลทั่วไปควรหลีกเลี่ยงการออกกาลังกายนอกอาคาร
วิธีป้องกันมลพิษทางอากาศ
การควบคุมและป้องกันมลพิษทางอากาศ
กฎหมายควบคุม
• พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ พ.ศ. 2535
• พระราชบัญญัติโครงงาน พ.ศ. 2535
• พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ
• พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535
• ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ควบคุมจากแหล่งกาเนิด
• การควบคุมมลพิษจากรถยนต์ คือ การตรวจสภาพรถ
ปรับปรุงพัฒนารถให้ปล่อยสารมลพิษน้อยลง ใช้รถที่ไม่ทา
ให้เกิดมลพิษ เช่น รถไฟฟ้า รถจักรยาน ใช้เชื้อเพลิงสะอาด
และดีที่สุดคือลดการใช้รถยนต์
• การควบคุมมลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม คือ ลดการผลิต
สารปนเปื้อน เช่น กรองเอาอนุภาคออกจากอากาศ การ
สันดาปเชื้อเพลิงให้สมบูรณ์ การซับแก๊ส เป็นต้น
• การควบคุมกาจัดสิ่งของทิ้งแล้ว เช่นนาทรัพยากรมาใช้ใหม่
การลดปริมาณขยะ เป็นต้น
ทรัพยากรอากาศ
จัดทาโดย
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
นายอภิสิทธิ์ แจ่มช้อย
รหัสนักศึกษา 600404485205
คณะวิศวกรรมศาสตร์
นางสาวจิตตราภร ขาทองทับ
รหัสนักศึกษา 600404491670
รายวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี กับการดาเนินชีวิต
นายวิชา คีรีรักษ์
รหัสนักศึกษา 600404483814

More Related Content

Similar to มลพิษทางอากาศ

บูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีบูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีninefiit
 
Air pollution wasin katavut
Air pollution wasin katavutAir pollution wasin katavut
Air pollution wasin katavutPeetAthipong
 
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน""อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"Fern Jariya
 
บูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีบูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีninefiit
 
มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..Kyjung Seekwang
 
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อมเรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อมAraya Toonton
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste managementNithimar Or
 
มลพิษและสิ่งแวดล้อม
มลพิษและสิ่งแวดล้อมมลพิษและสิ่งแวดล้อม
มลพิษและสิ่งแวดล้อมkoradalerttayakun
 

Similar to มลพิษทางอากาศ (10)

บูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีบูรณาการเคมี
บูรณาการเคมี
 
Air Quatity.pdf
Air Quatity.pdfAir Quatity.pdf
Air Quatity.pdf
 
Air pollution wasin katavut
Air pollution wasin katavutAir pollution wasin katavut
Air pollution wasin katavut
 
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน""อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
 
บูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีบูรณาการเคมี
บูรณาการเคมี
 
มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
 
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อมเรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste management
 
มลพิษและสิ่งแวดล้อม
มลพิษและสิ่งแวดล้อมมลพิษและสิ่งแวดล้อม
มลพิษและสิ่งแวดล้อม
 

มลพิษทางอากาศ

  • 1. มลพิษทาง อากาศ  ความหมายของมลพิษทางอากาศ  แหล่งกาเนิดของสารมลพิษทางอากาศ  ชนิดของสารมลพิษทางอากาศ  การวัดคุณภาพของอากาศ  การควบคุมและป้องกันมลพิษทางอากาศ
  • 2. คือการปนเปื้อนของสารเคมี สารประกอบทางกายภาพ สารชีววิทยาในสิ่งแวดล้อม หรือสิ่งปนเปื้อนในปริมาณที่มากพอ จนก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงของชั้นบรรยากาศ ทาให้อากาศนั้นเสื่อมคุณภาพ ส่วนใหญ่มักเกิดจากการเผาผลาญของ เครื่องยนต์ ยานพาหนะ การทาอุตสาหกรรม หรือแม้แต่ไฟป่า โดยสารในมลพิษทางอากาศที่ส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์สัตว์ พืช และสิ่งแวดล้อมทั้งในทางตรงและทางอ้อม ผลกระทบต่อพืช ป่าไม้ ผลกระทบต่อมนุษย์ ผลกระทบต่อสัตว์ ภาพตัวอย่าง ภาพตัวอย่าง ภาพตัวอย่าง
  • 3. แหล่งกาเนิดของสารมลพิษ แหล่งกาเนิดตามธรรมชาติ (NATURAL SOURCES) • ภูเขาไฟระเบิด การที่เกิดภูเขาไฟระเบิดจะมีเขม่าพ้นออกมาในบรรยากาศจานวนมาก ซึ่งเขม่า เหล่านั้นก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ทาให้เกิดมลภาวะทางอากาศและเขม่าที่เกิดจากภูเขาไฟระเบิดจะสามารถอยู่ ในอากาศได้นานนับปี ทาให้เกิดก๊าซ เช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และก๊าซมีเทน • ไฟป่า เมื่อเกิดไฟป่าแต่ละครั้งจะเกิดควันขึ้นมาจานวนมหาศาล ซึ่งควันที่เกิดจากไฟป่านั้นทาให้เกิด ก๊าซต่างๆ เช่น ควัน เถ้า คาร์บอนมอนนอกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจน ไฮโดรคาร์บอน และ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เป็นต้น • การเน่าเปื่อย พวกจุลินทรีย์จะมีการย่อยสลายสิ่งต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นซากพืชซากสัตว์ ซึ่งในการย่อย สลายจะทาให้เกิดก๊าซ แอมโมเนีย เป็นก๊าชที่ทาในเกิดกลิ่นเหม็น คาร์บอนไดออกไซด์ และ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ เป็นต้น • การฟุ้งกระจาย อนุภาคสารจะเป็นอนุภาคขนาดเล็กซึ่งสามารถลอยไปตามอากาศซึ่งเป็นสาเหตุใน เกิดโรคต่าง ๆ มากมาย เช่น แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา และสปอร์ เป็นต้น แหล่งกาเนิดจากการกระทาของมนุษย์ (MAN-MAD SOURCES) • การคมนาคม ปัจจุบันมีการข้นส่งสินค้า การเดินทางเป็นจานวนมากโดยการใช้ยานพาหนะต่างๆ โดยเฉพาะรถยนต์ซึ่งเป็นต้นเหตุสาคัญที่สุด โดยที่รถยนต์จะปล่อยกาศพวกคาร์บอน ไดออกไซด์ ก๊าชไนตริกออกไซด์และก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ รวมทั้งกาซคาร์บอนมอนนอกไซด์ • โรงไฟฟ้า ในการที่จะผลิตการแสไฟฟ้าจะมีการเผาไหม้พลังงานจานวนมหาศาลและในการเผาไหม้ นั้นจะมีการปล่อยสารพวก ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนออกไซด์และอนุภาคของมวล สาร ต่าง ๆ • การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง การเผาไหม้เชื้อเพลิงเป็นสิ่งที่สาคัญในการใช้ชีวิตประจาวันที่เราใช้ในการ ดาเนินชีวิต แต่ในการเผาไหม้เหล่านั้นก็จะทาให้มีการปล่อยสารพวก ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซ ไนโตรเจนออกไซด์ ไฮโดคาร์บอนและอนุภาคของมวลสารต่าง ๆ • การเผาขยะสิ่งปฏิกูล ปัจจุบันมีขยะเกิดขึ้นมากมายซึ่งก็นามาซึ่งการทาลายและการทาลายวิธีหนึ่งก็คือ การเผาไหม้ ซึ่งการเผาไหม้จะมีการปล่อยสารพวก สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ออกไซด์ของ ไนโตรเจน ออกไซด์ของกามะถัน คาร์บอนมอนอกไซด์และคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นต้น
  • 4. ชนิดของสารมลพิษทางอากาศ อนุภาคต่างๆ • ฝุ่นละออง จากสารอินทรีย์ เช่น เกสรของพืชหรือหญ้า แบคทีเรีย เศษ เน่าเปื่อยของสิ่งมีชีวิต ฝุ่นละอองจากสารอนินทรีย์ เช่น ฝุ่นหิน ฝุ่นเหล็ก ฝุ่นทราย ฝุ่นก่อสร้าง ฝุ่นการเผาไหม้เชื้อเพลิง ฝุ่นจากการเผาขยะ ฝุ่นมี 3 ขนาด ขนาดใหญ่ (ไม่เกิน100ไมครอน) ขนาดเล็ก(ไม่เกิน10ไมครอน) ขนาดจิ๋ว(ไม่เกิน2.5ไมครอน) • ขี้เถ้า อนุภาคเล็กมากที่เหลือจากการเผาไหม้ • เขม่า เป็นการรวมตัวของอนุภาคเล็กๆ ก๊าซและไอต่างๆ • ออกไซด์ต่างๆของคาร์บอน • ออกไซด์ของซัลเฟอร์ • ไฮโดรคาร์บอน • ออกไซด์ของไนโตรเจน • โลหะหนัก • สารอินทรีย์อันตราย • ก๊าซเรือนกระจก • ก๊าซโอโซน ผลกระทบ จากที่กล่าวมาทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นอนุภาคต่างๆ หรือจะเป็น ก๊าซและไอต่างๆ ล้วนทาให้เกิดมลพิษทางอากาศทั้งสิ้น ซึ่งการที่ จะเกิดก๊าซเหล่านี้มันก็เกิดจากการกระทาของมนุษย์และเกิดเอง ตามธรรมชาติ ซึ่งมันส่งผลเสียมากๆให้กับมนุษย์ สัตว์ และ สิ่งแวดล้อม ถ้าเราไม่ช่วยกันป้องกันการเกิดมลพิษทางอากาศ ผลกระทบก็ตกมาอยู่ที่มนุษย์ การใช้ชีวิต การดาเนินชีวิตของเราก็ จะไม่ได้รับอากาศที่บริสุทธิ์ ดังนั้นมันอาจทาให้เราเสียสุขภาพกาย ได้ อาจส่งผลต่อชีวิตเลยก็ได้
  • 5. ในประเทศไทย คนทั่วไปรับรู้คุณภาพของอากาศได้จากผลวัดที่จัดทาโดยกรมควบคุมมลพิษ เรียกว่าดัชนีคุณภาพ อากาศ ซึ่งเป็นรายงานข้อมูลเกี่ยวกับอากาศที่หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมนาเสนอแก่ประชาชนทั่วไปเป็นระยะ เพื่อให้รับรู้ ถึงสถานการณ์มลพิษทางอากาศและความเสี่ยงต่อสุขภาพ ดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทยแบ่งออกเป็น 5 ระดับ และมีการใช้สีเป็นสัญลักษณ์ ซึ่งค่าดัชนีคุณภาพอากาศ ที่ถือว่าเป็นปกติคือ 100 หากสูงกว่าแสดงว่าในอากาศมีความเข้มข้นของมลพิษค่อนข้างสูงหรือสูงมาก โดยเกณฑ์การวัด มีดังนี้ 0-50 ใช้สีฟ้าเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศอยู่ในระดับดี และไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 51-100 ใช้สีเขียวเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศอยู่ในระดับปานกลาง และไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 101-200 ใช้สีเหลืองเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศมีผลกระทบต่อสุขภาพ ผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ ควรหลีกเลี่ยงการออกกาลังกายนอกอาคาร เด็กและผู้สูงอายุไม่ควรทากิจกรรมภายนอกอาคารนาน ๆ 201-300 ใช้สีส้มเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศมีผลกระทบต่อสุขภาพมาก ผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ ควรหลีกเลี่ยงการทากิจกรรมนอกอาคาร เด็กและผู้สูงอายุควรลดการออกกาลังกายนอกอาคาร มากกว่า 300 ใช้สีแดงเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศเป็นอันตราย ผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจควรอยู่แต่ ภายในอาคาร บุคคลทั่วไปควรหลีกเลี่ยงการออกกาลังกายนอกอาคาร วิธีป้องกันมลพิษทางอากาศ
  • 6. การควบคุมและป้องกันมลพิษทางอากาศ กฎหมายควบคุม • พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ พ.ศ. 2535 • พระราชบัญญัติโครงงาน พ.ศ. 2535 • พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ • พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535 • ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ควบคุมจากแหล่งกาเนิด • การควบคุมมลพิษจากรถยนต์ คือ การตรวจสภาพรถ ปรับปรุงพัฒนารถให้ปล่อยสารมลพิษน้อยลง ใช้รถที่ไม่ทา ให้เกิดมลพิษ เช่น รถไฟฟ้า รถจักรยาน ใช้เชื้อเพลิงสะอาด และดีที่สุดคือลดการใช้รถยนต์ • การควบคุมมลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม คือ ลดการผลิต สารปนเปื้อน เช่น กรองเอาอนุภาคออกจากอากาศ การ สันดาปเชื้อเพลิงให้สมบูรณ์ การซับแก๊ส เป็นต้น • การควบคุมกาจัดสิ่งของทิ้งแล้ว เช่นนาทรัพยากรมาใช้ใหม่ การลดปริมาณขยะ เป็นต้น ทรัพยากรอากาศ
  • 7. จัดทาโดย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต นายอภิสิทธิ์ แจ่มช้อย รหัสนักศึกษา 600404485205 คณะวิศวกรรมศาสตร์ นางสาวจิตตราภร ขาทองทับ รหัสนักศึกษา 600404491670 รายวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี กับการดาเนินชีวิต นายวิชา คีรีรักษ์ รหัสนักศึกษา 600404483814