SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
 ความหมายของมลพิษทางอากาศ
 แหล่งกาเนิดของสารมลพิษทางอากาศ
 ชนิดของสารมลพิษทางอากาศ
 การวัดคุณภาพของอากาศ
 การควบคุมและป้องกันมลพิษทางอากาศ
 PM 2.5
 ที่มาของ PM 2.5
 สถานการณ์ PM 2.5 ผลกระทบต่อสุขภาพในระยะยาว
 วิธีรับมือกับฝุ่น PM 2.5
 วิธีเลือกหน้ากากสู้ 'ฝุ่นPM 2.5'
คือการปนเปื้อนของสารเคมี สารประกอบทางกายภาพ สารชีววิทยาใน
สิ่งแวดล้อม หรือสิ่งปนเปื้ อนในปริมาณที่มากพอ จนก่อให้เกิดความ
เปลี่ยนแปลงของชั้นบรรยากาศ ทาให้อากาศนั้นเสื่อมคุณภาพ ส่วนใหญ่มักเกิด
จากการเผาผลาญของเครื่องยนต์ ยานพาหนะ การทาอุตสาหกรรม หรือแม้แต่ไฟ
ป่า โดยสารในมลพิษทางอากาศที่ส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์ พืช และ
สิ่งแวดล้อมทั้งในทางตรงและทางอ้อม
ผลกระทบต่อพืช ป่าไม้
ภาพตัวอย่าง
ผลกระทบต่อมนุษย์
ภาพตัวอย่าง
ผลกระทบต่อสัตว์
ภาพตัวอย่าง
แหล่งกำเนิดของสำรมลพิษ
แหล่งกาเนิดตามธรรมชาติ (NATURAL SOURCES)
• ภูเขาไฟระเบิดการที่เกิดภูเขาไฟระเบิดจะมีเขม่าพ้นออกมาใน
บรรยากาศจานวนมาก ซึ่งเขม่าเหล่านั้นก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ทาให้เกิด
มลภาวะทางอากาศและเขม่าที่เกิดจากภูเขาไฟระเบิดจะสามารถ
อยู่ในอากาศได้นานนับปี ทาให้เกิดก๊าซ เช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และก๊าซมีเทน
• ไฟป่า เมื่อเกิดไฟป่าแต่ละครั้งจะเกิดควันขึ้นมาจานวนมหาศาล
ซึ่งควันที่เกิดจากไฟป่ านั้นทาให้เกิดก๊าซต่างๆ เช่น ควัน เถ้า
คาร์บอนมอนนอกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจน ไฮโดรคาร์บอน
และ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เป็นต้น
• การเน่าเปื่อย พวกจุลินทรีย์จะมีการย่อยสลายสิ่งต่าง ๆ ไม่ว่าจะ
เป็ นซากพืชซากสัตว์ ซึ่งในการย่อยสลายจะทาให้เกิดก๊าซ
แอมโมเนีย เป็นก๊าชที่ทาในเกิดกลิ่นเหม็น คาร์บอนไดออกไซด์
และไฮโดรเจนซัลไฟด์ เป็นต้น
• การฟุ้งกระจาย อนุภาคสารจะเป็นอนุภาคขนาดเล็กซึ่งสามารถ
ลอยไปตามอากาศซึ่งเป็นสาเหตุในเกิดโรคต่าง ๆ มากมาย เช่น
แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา และสปอร์ เป็นต้น
แหล่งกาเนิดจากการกระทาของมนุษย์ (MAN-MAD SOURCES)
• การคมนาคม ปัจจุบันมีการข้นส่งสินค้า การเดินทางเป็นจานวน
มากโดยการใช้ยานพาหนะต่างๆโดยเฉพาะรถยนต์ซึ่งเป็นต้นเหตุ
สาคัญที่สุด โดยที่รถยนต์จะปล่อยกาศพวกคาร์บอน ไดออกไซด์
ก๊าชไนตริกออกไซด์และก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ รวมทั้งกาซ
คาร์บอนมอนนอกไซด์
• โรงไฟฟ้า ในการที่จะผลิตการแสไฟฟ้าจะมีการเผาไหม้พลังงาน
จานวนมหาศาลและในการเผาไหม้นั้นจะมีการปล่อยสารพวก ก๊าซ
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนออกไซด์และอนุภาคของมวล
สาร ต่าง ๆ
• การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง การเผาไหม้เชื้อเพลิงเป็นสิ่งที่สาคัญใน
การใช้ชีวิตประจาวันที่เราใช้ในการดาเนินชีวิต แต่ในการเผาไหม้
เหล่านั้นก็จะทาให้มีการปล่อยสารพวก ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
ก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ ไฮโดคาร์บอนและอนุภาคของมวลสาร
ต่าง ๆ
• การเผาขยะสิ่งปฏิกูล ปัจจุบันมีขยะเกิดขึ้นมากมายซึ่งก็นามาซึ่งการ
ทาลายและการทาลายวิธีหนึ่งก็คือการเผาไหม้ ซึ่งการเผาไหม้จะมี
การปล่อยสารพวก สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ออกไซด์ของ
ไนโตรเจน ออกไซด์ของกามะถัน คาร์บอนมอนอกไซด์และ
คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นต้น
•
ชนิดของสารมลพิษทางอากาศ
อนุภาคต่างๆ
• ฝุ่นละออง
จากสารอินทรีย์ เช่น เกสรของพืชหรือ
หญ้า แบคทีเรีย เศษเน่าเปื่อยของสิ่งมีชีวิต
ฝุ่นละอองจากสารอนินทรีย์ เช่น ฝุ่นหิน
ฝุ่นเหล็ก ฝุ่นทราย ฝุ่นก่อสร้าง ฝุ่นการเผาไหม้
เชื้อเพลิง ฝุ่นจากการเผาขยะ
ฝุ่นมี 3 ขนาด ขนาดใหญ่ (ไม่เกิน100
ไมครอน) ขนาดเล็ก(ไม่เกิน10ไมครอน) ขนาด
จิ๋ว(ไม่เกิน2.5ไมครอน)
• ขี้เถ้า อนุภาคเล็กมากที่เหลือจากการเผา
ไหม้
• เขม่า เป็นการรวมตัวของอนุภาคเล็กๆ
ก๊าซและไอต่างๆ
• ออกไซด์ต่างๆของคาร์บอน
• ออกไซด์ของซัลเฟอร์
• ไฮโดรคาร์บอน
• ออกไซด์ของไนโตรเจน
• โลหะหนัก
• สารอินทรีย์อันตราย
• ก๊าซเรือนกระจก
• ก๊าซโอโซน
ผลกระทบ
จากที่กล่าวมาทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นอนุภาค
ต่างๆ หรือจะเป็นก๊าซและไอต่างๆ ล้วนทาให้เกิด
มลพิษทางอากาศทั้งสิ้น ซึ่งการที่จะเกิดก๊าซ
เหล่านี้มันก็เกิดจากการกระทาของมนุษย์และเกิด
เองตามธรรมชาติ ซึ่งมันส่งผลเสียมากๆให้กับ
มนุษย์สัตว์และสิ่งแวดล้อม
ถ้าเราไม่ช่วยกันป้องกันการเกิดมลพิษทาง
อากาศ ผลกระทบก็ตกมาอยู่ที่มนุษย์ การใช้ชีวิต
การดาเนินชีวิตของเราก็จะไม่ได้รับอากาศที่
บริสุทธิ์ ดังนั้นมันอาจทาให้เราเสียสุขภาพกายได้
อาจส่งผลต่อชีวิตเลยก็ได้
การควบคุมและป้องกันมลพิษทางอากาศ
กฎหมายควบคุม
• พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.
2535
• พระราชบัญญัติโครงงาน พ.ศ. 2535
• พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและ
ความเป็นระเบียบ
• พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535
• ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
ควบคุมจากแหล่งกาเนิด
• การควบคุมมลพิษจากรถยนต์ คือ การตรวจ
สภาพรถ ปรับปรุงพัฒนารถให้ปล่อยสาร
มลพิษน้อยลง ใช้รถที่ไม่ทาให้เกิดมลพิษ เช่น
รถไฟฟ้า รถจักรยาน ใช้เชื้อเพลิงสะอาด และ
ดีที่สุดคือลดการใช้รถยนต์
• การควบคุมมลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม
คือ ลดการผลิตสารปนเปื้ อน เช่น กรองเอา
อนุภาคออกจากอากาศ การสันดาปเชื้อเพลิง
ให้สมบูรณ์ การซับแก๊ส เป็นต้น
• การควบคุมกาจัดสิ่งของทิ้งแล้ว เช่นนา
ทรัพยากรมาใช้ใหม่ การลดปริมาณขยะ เป็น
ต้น
ทรัพยากรอากาศ
ในประเทศไทย คนทั่วไปรับรู้คุณภาพของอากาศได้จากผลวัดที่จัดทาโดยกรมควบคุมมลพิษ เรียกว่าดัชนี
คุณภาพอากาศ ซึ่งเป็นรายงานข้อมูลเกี่ยวกับอากาศที่หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมนาเสนอแก่ประชาชนทั่วไปเป็นระยะ
เพื่อให้รับรู้ถึงสถานการณ์มลพิษทางอากาศและความเสี่ยงต่อสุขภาพ
ดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทยแบ่งออกเป็น 5 ระดับ และมีการใช้สีเป็นสัญลักษณ์ ซึ่งค่าดัชนีคุณภาพ
อากาศที่ถือว่าเป็นปกติคือ 100 หากสูงกว่าแสดงว่าในอากาศมีความเข้มข้นของมลพิษค่อนข้างสูงหรือสูงมาก โดยเกณฑ์
การวัดมีดังนี้
0-50 ใช้สีฟ้าเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศอยู่ในระดับดี และไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
51-100 ใช้สีเขียวเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศอยู่ในระดับปานกลาง และไม่มีผลกระทบต่อ
สุขภาพ
101-200 ใช้สีเหลืองเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศมีผลกระทบต่อสุขภาพ ผู้ป่วยโรคระบบ
ทางเดินหายใจควรหลีกเลี่ยงการออกกาลังกายนอกอาคาร เด็กและผู้สูงอายุไม่ควรทากิจกรรมภายนอกอาคารนาน ๆ
201-300 ใช้สีส้มเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศมีผลกระทบต่อสุขภาพมาก ผู้ป่วยโรคระบบ
ทางเดินหายใจควรหลีกเลี่ยงการทากิจกรรมนอกอาคาร เด็กและผู้สูงอายุควรลดการออกกาลังกายนอกอาคาร
มากกว่า 300 ใช้สีแดงเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศเป็นอันตราย ผู้ป่วยโรคระบบทางเดิน
หายใจควรอยู่แต่ภายในอาคาร บุคคลทั่วไปควรหลีกเลี่ยงการออกกาลังกายนอกอาคาร วิธีป้องกันมลพิษทางอากาศ
ฝุ่ นPM 2.5
PM 2.5 ภัยฝุ่ นที่ส่งผลร้ำยถึงระดับโครโมโซม
ปรากฏการณ์ฝุ่นล้อมเมืองที่เริ่มส่งผลรุนแรงอย่าง
เห็นได้ชัดตั้งแต่เดือนมกราคมที่ผ่านมา ส่งผลกระทบต่อชีวิต
คนในเมืองหลวงเป็นวงกว้าง เพราะฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM
2.5 เป็นภัยที่มองไม่เห็น ไม่มีกลิ่น แถมยังเข้าสู่ร่างกายได้ง่าย
จากการการสูดดมทางโพรงจมูก
ฝุ่น PM 2.5 เป็นอันตรายต่อสุขภาพอย่างร้ายแรง
เป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอด โรคหัวใจขาดเลือด โรค
หลอดเลือดในสมอง และโรคที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจ
ที่มำของ PM 2.5
ในปี ค.ศ. 1997 ทาง United States Environmental
Protection Agency (USEPA) ได้กาหนดค่ามาตรฐานฝุ่นละอองที่มี
เส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับหรือเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM2.5) ไว้ใน
มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศของประเทศสหรัฐอเมริกา
(National Ambient Air Quality Standards: NAAQS) เพื่อปกป้อง
ความปลอดภัยของสุขภาพอนามัยของประชาชนและสิ่งแวดล้อม
และที่ต้องกาหนดให้ฝุ่นขนาดเล็ก PM 2.5 เป็นขนาด
ฝุ่นละอองที่เป็นภัยนั้น ก็เพราะว่า สารมลพิษในฝุ่นละอองขนาดนี้
สามารถเข้าสู่อวัยวะในระบบทางเดินหายใจได้โดยตรง สามารถ
ทะลุเข้าไปถึงถุงลมปอดได้ทันที ดังนั้น ฝุ่นละอองขนาดเล็กเหล่านี้
จึงทาให้เกิดการระคายเคืองและมีผลต่ออาการและโรคทางเดิน
หายใจ สามารถทาลายอวัยวะของระบบทางเดินหายใจโดยตรง และ
ยังทาให้เกิดการระคายเคืองตา ระคายคอ แน่นหน้าอก หายใจถี่
หลอดลมอักเสบ เกิดอาการหอบหืด ถุงลมโป่งพอง และอาจเกิด
โรคระบบทางเดินหายใจได้
สถานการณ์ PM 2.5 ผลกระทบต่อสุขภาพในระยะยาว
• ในช่วงต้นปี 2562 ที่ผ่านมา สถานการณ์ฝุ่นละออง PM 2.5 ในเขตกรุงเทพฯ-ปริมณฑลโดยรวม อยู่ในเกณฑ์มีผลกระทบ
ต่อสุขภาพ เพราะในช่วงเช้าอากาศลอยตัวได้ดี มีหมอก แต่ลมพัดอ่อน จึงส่งผลให้ฝุ่นละออง PM 2.5 หลายจุดมีปริมาณ
เพิ่มขึ้น และพบฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐาน (50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) 24 พื้นที่ทั่วกรุงเทพฯ และปริมณฑล ส่วน
ภูมิภาคอื่นๆ ของประเทศไทยก็ประสบปัญหามลพิษทางอากาศ เนื่องจากการเผา เพื่อทาเกษตรกรรม
• ทั้งนี้ องค์การอนามัยโลกได้สารวจพบว่า มีประชากรที่ต้อง “เสียชีวิตก่อนวัยอันควร” เนื่องจากมลพิษในอากาศทั่วโลก
มากกว่า 6 ล้านคนในแต่ละปี และในจานวนนี้ เป็นเด็กอายุต่ากว่า 5 ขวบถึงร้อยละ 10 หรือประมาณ 600,000 คน เมื่อ
คุณภาพอากาศเลวลง อัตราการไปห้องฉุกเฉินและการเข้าอยู่โรงพยาบาลจะสูงขึ้น เพราะมลพิษทาให้ปัญหาสุขภาพที่มี
อยู่กาเริบขึ้น และเป็นเหตุให้หัวใจวาย หลอดเลือดในสมองตีบ หอบหืดกาเริบ ฯลฯ
• ปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM 2.5) นับเป็นปัญหาสาคัญ เนื่องจากส่งผลกระทบต่อสุขภาพโดยตรง
ทาให้อายุขัยเฉลี่ยของประชาชนลดลง เพราะเทโลเมียร์ซึ่งเป็นดีเอ็นเอกาหนดอายุขัยของสิ่งมีชีวิตในโครโมโซมมีขนาด
สั้นลง ทาให้แก่เร็วขึ้นและอายุสั้นลงได้ด้วย อีกทั้งยังเพิ่มอัตราการเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลอันเนื่องมาจากโรคต่างๆ
ยิ่งสูดดม PM2.5 เป็นเวลายาวนาน ยิ่งส่งผลในระดับพันธุกรรม ซึ่งจะมีผลมากกับทารกในครรภ์
วิธีรับมือกับฝุ่ น PM 2.5
วิธีการลดปริมาณฝุ่นละอองที่ดีที่สุด คือ ประชาชนต้องมีจิตสานึก
ร่วมกันเพื่อลดกิจกรรมที่เสี่ยงต่อการเพิ่มขึ้นของฝุ่นละออง เช่น ลดการจุด
ธูป ลดการเผาขยะ ซึ่งจะเพิ่มปริมาณฝุ่นเป็นจานวนมาก สาหรับการป้องกัน
ตนเอง ให้สวมหน้ากากป้องกันฝุ่นละอองที่เหมาะสม ไม่ใช่หน้ากากอนามัย
ทั่วไปที่ไม่สามารถป้องกันฝุ่นละอองขนาดเล็กในระดับ 2.5 ไมครอนได้แต่
ต้องใช้หน้ากากมาตรฐาน N95 จะมีประสิทธิภาพมากกว่า เพราะหน้ากาก
N95 ผลิตจากเส้นใยพิเศษที่สามารถกรองฝุ่นละออง หรือเชื้อโรคที่มีขนาด
ใหญ่กว่า 0.3 ไมครอนได้ทาให้ป้องกันฝุ่นขนาด PM 2.5 ไมครอน ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
วิธีเลือกหน้ากากสู้ 'ฝุ่นPM 2.5'
1. ประสิทธิภำพกำรกรองฝุ่ น โดยฝุ่น PM 2.5 เป็นฝุ่นที่มีขนาดเล็กเพียง 2.5 ไมครอน ดังนั้นควรเลือกซื้อหน้ากากที่สามารถป้องกันฝุ่นขนาด
เล็กกว่า 2.5 ไมครอนได้ โดยหน้ากากอนามัยธรรมดาทั่วไปสามารถกรองฝุ่นขนาด 3 ไมครอน จึงไม่สามารถป้องกันฝุ่น 2.5 ได้
2. ผ่ำนกำรรับรองหรือได้รับมำตรฐำน ควรตรวจสอบว่าหน้ากากมีมาตรฐานจากหน่วยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได้รองรับ ซึ่งสังเกตได้จาก
ข้อความบนอุปกรณ์ หรือบรรจุภัณฑ์ โดยมาตรฐานรับรองสาหรับหน้ากากกรองอากาศชนิดกรองอนุภาคที่ได้รับการยอมรับจากนานาประเทศ ได้แก่
มาตรฐานอเมริกา (NIOSH Standard, NIOSH 42 CFR 84 หรือ ASTM Standard), มาตรฐานยุโรป (European Standard, EN 149) มาตรฐานออสเตรเลีย/
นิวซีแลนด์ (Australia/New Zealand Standard, AS/NZS 1761) และมาตรฐานญี่ปุ่น (Japanese Industrial Standard หรือ JIS)
• N95: เป็นการรับรองของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยรับรองว่าหน้ากากนี้มีประสิทธิภาพในการกรอง 95% (หากเลข
มากกว่านั้น เช่น N99 หมายถึง มีประสิทธิภาพในการกรอง 99%)
• ASTM F2299 Level 1 เป็นการรับรองของสมาคม ASTM สหรัฐอเมริกา โดยรับรองว่าหน้ากากนี้มีประสิทธิภาพในการ
กรองฝุ่นขนาด 0.1 ไมครอนได้ ≥95% (หากเป็น Level 2 และ 3 ได้≥98%)
• FFP2: เป็นการรับรองของฝั่งยุโรป โดยรับรองว่าหน้ากากนี้มีประสิทธิภาพในการกรอง 94% (หากเป็น FFP3 จะหมายถึง
มีประสิทธิภาพในการกรอง 99%)
• P2: เป็นการรับรองของประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ โดยรับรองว่าหน้ากากนี้มีประสิทธิภาพในการกรอง 94%
(หากเป็น P3 จะหมายถึง มีประสิทธิภาพในการกรอง 99%)
• JIS T 8151: 2018 เป็นมาตรฐานอุตสาหกรรมญี่ปุ่น โดยรับรองว่าหน้ากากนี้มีประสิทธิภาพในการป้องกันฝุ่นละอองใน
อากาศที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายมนุษย์โดยการหายใจ
3. ควำมกระชับในกำรสวมใส่ ควรเลือกหน้ากากที่สวมใส่แล้วรู้สึกสบายไม่อึดอัดจนเกินไป สายรัดไม่รัดบริเวณหูจนเกิดอาการเจ็บ และเมื่อ
ใส่อย่างถูกต้องแล้วหน้ากากต้องกระชับแนบสนิทกับใบหน้า มีอากาศรั่วไหลหรือเล็ดรอดจากขอบหน้ากากเข้าสู่ด้านในน้อยที่สุด
อย่างไรก็ดีนอกจากการเลือกซื้อหน้ากากอนามัยที่กรองฝุ่น PM2.5 ได้แล้ว การสวมใส่หน้ากากอนามัยอย่างถูกต้องเป็นสิ่งสาคัญ เช่น พยายามใส่ให้กระชับ
แนบสนิทกับใบหน้า ควรใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ไม่ใช้หน้ากากอนามัยซ้าเมื่อมีการเปื้อน หรือแผ่นด้านที่สัมผัสผิวถูกเสียดถูจนด้อยสภาพ หน้ากากเสียรูปหรือ
ชารุด หรือชื้นแฉะ รวมถึงล้างมือก่อนการสวมใส่และหลังการถอดออกทุกครั้ง จะช่วยป้องกันและช่วยกรองฝุ่น PM2.5 ได้ดีและมีประสิทธิภาพมากที่สุด
การป้องกันผลกระทบจากมลพิษทางอากาศภายนอก
• อยู่ภายในอาคารให้มากที่สุดระหว่างวัน และหลีกเลี่ยงการอยู่ภายนอกอาคารบริเวณ
ที่มีมลพิษทางอากาศสูงเป็นเวลานาน
• หากต้องออกไปข้างนอก ควรหลีกเลี่ยงช่วงเวลาเร่งด่วน อาจออกแต่เช้าตรู่หรือรอ
หลังพระอาทิตย์ตก เนื่องจากแสงอาทิตย์จะส่งผลให้โอโซนระดับภาคพื้นดินซึ่่งเป็น
องค์ประกอบหลักของมลพิษทางอากาศในเมืองและส่งผลเสียต่อสุขภาพ มีระดับสูง
ขึ้น
• เมื่ออยู่ภายนอกอาคาร ควรหายใจช้า ๆ และอย่าทากิจกรรมที่ส่งผลให้อัตราการ
หายใจเพิ่มขึ้น เพราะจะทาให้ได้รับมลพิษทางอากาศมากขึ้น
• ใช้อุปกรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากากอนามัยชนิดมีตัวกรอง ซึ่งจะช่วยกรองสารหรือ
อนุภาคขนาดเล็กออกจากอากาศที่หายใจได้ในระดับหนึ่ง
• ผู้ป่วยโรคหัวใจหรือมีปัญหาเกี่ยวกับปอดควรปรึกษาแพทย์และปฏิบัติตามคาแนะนา
ของแพทย์อย่างเคร่งครัด
การป้องกันผลกระทบจากมลพิษทางอากาศภายนอก
• เมื่ออยู่ภายนอกอาคาร ควรหายใจช้า ๆ และอย่าทากิจกรรมที่ส่งผลให้
อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น เพราะจะทาให้ได้รับมลพิษทางอากาศมากขึ้น
• ใช้อุปกรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากากอนามัยชนิดมีตัวกรอง ซึ่งจะช่วยกรอง
สารหรืออนุภาคขนาดเล็กออกจากอากาศที่หายใจได้ในระดับหนึ่ง
• ผู้ป่วยโรคหัวใจหรือมีปัญหาเกี่ยวกับปอดควรปรึกษาแพทย์และปฏิบัติ
ตามคาแนะนาของแพทย์อย่างเคร่งครัด
การป้องกันผลกระทบจากมลพิษทางอากาศภายใน
• หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ภายในอาคาร
• วางเตาอบหรือเตาแก๊สในบริเวณที่อากาศถ่ายเทสะดวก
• หลีกเลี่ยงการใช้พรม เพราะอาจเป็นแหล่งสะสมฝุ่น
• จัดที่พักอาศัยหรือสถานที่ทางานให้เป็นระเบียบ
• หากภายในอาคารมีความชื้นสูง ควรใช้เครื่องปรับอากาศหรือเครื่องลด
ความชื้น
• เก็บรองเท้าไว้นอกบ้าน
• หมั่นทาความสะอาดเพื่อลดฝุ่น
• เก็บถังขยะให้มิดชิดเพื่อป้องกันแมลง
การป้องกันผลกระทบจากมลพิษทางอากาศภายใน
• ตรวจสภาพรถและตรวจวัดการปล่อยมลพิษอย่างสม่าเสมอ
• ลดปริมาณการใช้สเปรย์ปรับอากาศ
• ซักเครื่องนอนด้วยน้าร้อนทุกสัปดาห์
• ใช้พัดลมระบายอากาศภายในห้องน้าและห้องครัว
• ใช้เทียนหอมหรือเตาน้ามันหอมระเหยในบ้านแต่พอเหมาะ
หน้ากากอนามัยกันฝุ่น PM 2.5
จัดทาโดย
นายอภิสิทธิ์ แจ่มช้อย
รหัสนักศึกษา 600404485205
นางสาวจิตตราภร ขาทองทับ
รหัสนักศึกษา 600404491670
นายวิชา คีรีรักษ์
รหัสนักศึกษา 600404483814
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
คณะวิศวกรรมศาสตร์
รายวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี กับการดาเนินชีวิต

More Related Content

Featured

Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 

Featured (20)

Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 

001

  • 1.  ความหมายของมลพิษทางอากาศ  แหล่งกาเนิดของสารมลพิษทางอากาศ  ชนิดของสารมลพิษทางอากาศ  การวัดคุณภาพของอากาศ  การควบคุมและป้องกันมลพิษทางอากาศ  PM 2.5  ที่มาของ PM 2.5  สถานการณ์ PM 2.5 ผลกระทบต่อสุขภาพในระยะยาว  วิธีรับมือกับฝุ่น PM 2.5  วิธีเลือกหน้ากากสู้ 'ฝุ่นPM 2.5'
  • 2. คือการปนเปื้อนของสารเคมี สารประกอบทางกายภาพ สารชีววิทยาใน สิ่งแวดล้อม หรือสิ่งปนเปื้ อนในปริมาณที่มากพอ จนก่อให้เกิดความ เปลี่ยนแปลงของชั้นบรรยากาศ ทาให้อากาศนั้นเสื่อมคุณภาพ ส่วนใหญ่มักเกิด จากการเผาผลาญของเครื่องยนต์ ยานพาหนะ การทาอุตสาหกรรม หรือแม้แต่ไฟ ป่า โดยสารในมลพิษทางอากาศที่ส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์ พืช และ สิ่งแวดล้อมทั้งในทางตรงและทางอ้อม ผลกระทบต่อพืช ป่าไม้ ภาพตัวอย่าง ผลกระทบต่อมนุษย์ ภาพตัวอย่าง ผลกระทบต่อสัตว์ ภาพตัวอย่าง
  • 3. แหล่งกำเนิดของสำรมลพิษ แหล่งกาเนิดตามธรรมชาติ (NATURAL SOURCES) • ภูเขาไฟระเบิดการที่เกิดภูเขาไฟระเบิดจะมีเขม่าพ้นออกมาใน บรรยากาศจานวนมาก ซึ่งเขม่าเหล่านั้นก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ทาให้เกิด มลภาวะทางอากาศและเขม่าที่เกิดจากภูเขาไฟระเบิดจะสามารถ อยู่ในอากาศได้นานนับปี ทาให้เกิดก๊าซ เช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และก๊าซมีเทน • ไฟป่า เมื่อเกิดไฟป่าแต่ละครั้งจะเกิดควันขึ้นมาจานวนมหาศาล ซึ่งควันที่เกิดจากไฟป่ านั้นทาให้เกิดก๊าซต่างๆ เช่น ควัน เถ้า คาร์บอนมอนนอกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจน ไฮโดรคาร์บอน และ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เป็นต้น • การเน่าเปื่อย พวกจุลินทรีย์จะมีการย่อยสลายสิ่งต่าง ๆ ไม่ว่าจะ เป็ นซากพืชซากสัตว์ ซึ่งในการย่อยสลายจะทาให้เกิดก๊าซ แอมโมเนีย เป็นก๊าชที่ทาในเกิดกลิ่นเหม็น คาร์บอนไดออกไซด์ และไฮโดรเจนซัลไฟด์ เป็นต้น • การฟุ้งกระจาย อนุภาคสารจะเป็นอนุภาคขนาดเล็กซึ่งสามารถ ลอยไปตามอากาศซึ่งเป็นสาเหตุในเกิดโรคต่าง ๆ มากมาย เช่น แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา และสปอร์ เป็นต้น แหล่งกาเนิดจากการกระทาของมนุษย์ (MAN-MAD SOURCES) • การคมนาคม ปัจจุบันมีการข้นส่งสินค้า การเดินทางเป็นจานวน มากโดยการใช้ยานพาหนะต่างๆโดยเฉพาะรถยนต์ซึ่งเป็นต้นเหตุ สาคัญที่สุด โดยที่รถยนต์จะปล่อยกาศพวกคาร์บอน ไดออกไซด์ ก๊าชไนตริกออกไซด์และก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ รวมทั้งกาซ คาร์บอนมอนนอกไซด์ • โรงไฟฟ้า ในการที่จะผลิตการแสไฟฟ้าจะมีการเผาไหม้พลังงาน จานวนมหาศาลและในการเผาไหม้นั้นจะมีการปล่อยสารพวก ก๊าซ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนออกไซด์และอนุภาคของมวล สาร ต่าง ๆ • การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง การเผาไหม้เชื้อเพลิงเป็นสิ่งที่สาคัญใน การใช้ชีวิตประจาวันที่เราใช้ในการดาเนินชีวิต แต่ในการเผาไหม้ เหล่านั้นก็จะทาให้มีการปล่อยสารพวก ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ ไฮโดคาร์บอนและอนุภาคของมวลสาร ต่าง ๆ • การเผาขยะสิ่งปฏิกูล ปัจจุบันมีขยะเกิดขึ้นมากมายซึ่งก็นามาซึ่งการ ทาลายและการทาลายวิธีหนึ่งก็คือการเผาไหม้ ซึ่งการเผาไหม้จะมี การปล่อยสารพวก สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ออกไซด์ของ ไนโตรเจน ออกไซด์ของกามะถัน คาร์บอนมอนอกไซด์และ คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นต้น •
  • 4. ชนิดของสารมลพิษทางอากาศ อนุภาคต่างๆ • ฝุ่นละออง จากสารอินทรีย์ เช่น เกสรของพืชหรือ หญ้า แบคทีเรีย เศษเน่าเปื่อยของสิ่งมีชีวิต ฝุ่นละอองจากสารอนินทรีย์ เช่น ฝุ่นหิน ฝุ่นเหล็ก ฝุ่นทราย ฝุ่นก่อสร้าง ฝุ่นการเผาไหม้ เชื้อเพลิง ฝุ่นจากการเผาขยะ ฝุ่นมี 3 ขนาด ขนาดใหญ่ (ไม่เกิน100 ไมครอน) ขนาดเล็ก(ไม่เกิน10ไมครอน) ขนาด จิ๋ว(ไม่เกิน2.5ไมครอน) • ขี้เถ้า อนุภาคเล็กมากที่เหลือจากการเผา ไหม้ • เขม่า เป็นการรวมตัวของอนุภาคเล็กๆ ก๊าซและไอต่างๆ • ออกไซด์ต่างๆของคาร์บอน • ออกไซด์ของซัลเฟอร์ • ไฮโดรคาร์บอน • ออกไซด์ของไนโตรเจน • โลหะหนัก • สารอินทรีย์อันตราย • ก๊าซเรือนกระจก • ก๊าซโอโซน ผลกระทบ จากที่กล่าวมาทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นอนุภาค ต่างๆ หรือจะเป็นก๊าซและไอต่างๆ ล้วนทาให้เกิด มลพิษทางอากาศทั้งสิ้น ซึ่งการที่จะเกิดก๊าซ เหล่านี้มันก็เกิดจากการกระทาของมนุษย์และเกิด เองตามธรรมชาติ ซึ่งมันส่งผลเสียมากๆให้กับ มนุษย์สัตว์และสิ่งแวดล้อม ถ้าเราไม่ช่วยกันป้องกันการเกิดมลพิษทาง อากาศ ผลกระทบก็ตกมาอยู่ที่มนุษย์ การใช้ชีวิต การดาเนินชีวิตของเราก็จะไม่ได้รับอากาศที่ บริสุทธิ์ ดังนั้นมันอาจทาให้เราเสียสุขภาพกายได้ อาจส่งผลต่อชีวิตเลยก็ได้
  • 5. การควบคุมและป้องกันมลพิษทางอากาศ กฎหมายควบคุม • พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 • พระราชบัญญัติโครงงาน พ.ศ. 2535 • พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและ ความเป็นระเบียบ • พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535 • ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ควบคุมจากแหล่งกาเนิด • การควบคุมมลพิษจากรถยนต์ คือ การตรวจ สภาพรถ ปรับปรุงพัฒนารถให้ปล่อยสาร มลพิษน้อยลง ใช้รถที่ไม่ทาให้เกิดมลพิษ เช่น รถไฟฟ้า รถจักรยาน ใช้เชื้อเพลิงสะอาด และ ดีที่สุดคือลดการใช้รถยนต์ • การควบคุมมลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม คือ ลดการผลิตสารปนเปื้ อน เช่น กรองเอา อนุภาคออกจากอากาศ การสันดาปเชื้อเพลิง ให้สมบูรณ์ การซับแก๊ส เป็นต้น • การควบคุมกาจัดสิ่งของทิ้งแล้ว เช่นนา ทรัพยากรมาใช้ใหม่ การลดปริมาณขยะ เป็น ต้น ทรัพยากรอากาศ
  • 6. ในประเทศไทย คนทั่วไปรับรู้คุณภาพของอากาศได้จากผลวัดที่จัดทาโดยกรมควบคุมมลพิษ เรียกว่าดัชนี คุณภาพอากาศ ซึ่งเป็นรายงานข้อมูลเกี่ยวกับอากาศที่หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมนาเสนอแก่ประชาชนทั่วไปเป็นระยะ เพื่อให้รับรู้ถึงสถานการณ์มลพิษทางอากาศและความเสี่ยงต่อสุขภาพ ดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทยแบ่งออกเป็น 5 ระดับ และมีการใช้สีเป็นสัญลักษณ์ ซึ่งค่าดัชนีคุณภาพ อากาศที่ถือว่าเป็นปกติคือ 100 หากสูงกว่าแสดงว่าในอากาศมีความเข้มข้นของมลพิษค่อนข้างสูงหรือสูงมาก โดยเกณฑ์ การวัดมีดังนี้ 0-50 ใช้สีฟ้าเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศอยู่ในระดับดี และไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 51-100 ใช้สีเขียวเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศอยู่ในระดับปานกลาง และไม่มีผลกระทบต่อ สุขภาพ 101-200 ใช้สีเหลืองเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศมีผลกระทบต่อสุขภาพ ผู้ป่วยโรคระบบ ทางเดินหายใจควรหลีกเลี่ยงการออกกาลังกายนอกอาคาร เด็กและผู้สูงอายุไม่ควรทากิจกรรมภายนอกอาคารนาน ๆ 201-300 ใช้สีส้มเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศมีผลกระทบต่อสุขภาพมาก ผู้ป่วยโรคระบบ ทางเดินหายใจควรหลีกเลี่ยงการทากิจกรรมนอกอาคาร เด็กและผู้สูงอายุควรลดการออกกาลังกายนอกอาคาร มากกว่า 300 ใช้สีแดงเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง คุณภาพของอากาศเป็นอันตราย ผู้ป่วยโรคระบบทางเดิน หายใจควรอยู่แต่ภายในอาคาร บุคคลทั่วไปควรหลีกเลี่ยงการออกกาลังกายนอกอาคาร วิธีป้องกันมลพิษทางอากาศ
  • 7. ฝุ่ นPM 2.5 PM 2.5 ภัยฝุ่ นที่ส่งผลร้ำยถึงระดับโครโมโซม ปรากฏการณ์ฝุ่นล้อมเมืองที่เริ่มส่งผลรุนแรงอย่าง เห็นได้ชัดตั้งแต่เดือนมกราคมที่ผ่านมา ส่งผลกระทบต่อชีวิต คนในเมืองหลวงเป็นวงกว้าง เพราะฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 เป็นภัยที่มองไม่เห็น ไม่มีกลิ่น แถมยังเข้าสู่ร่างกายได้ง่าย จากการการสูดดมทางโพรงจมูก ฝุ่น PM 2.5 เป็นอันตรายต่อสุขภาพอย่างร้ายแรง เป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอด โรคหัวใจขาดเลือด โรค หลอดเลือดในสมอง และโรคที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจ
  • 8. ที่มำของ PM 2.5 ในปี ค.ศ. 1997 ทาง United States Environmental Protection Agency (USEPA) ได้กาหนดค่ามาตรฐานฝุ่นละอองที่มี เส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับหรือเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM2.5) ไว้ใน มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศของประเทศสหรัฐอเมริกา (National Ambient Air Quality Standards: NAAQS) เพื่อปกป้อง ความปลอดภัยของสุขภาพอนามัยของประชาชนและสิ่งแวดล้อม และที่ต้องกาหนดให้ฝุ่นขนาดเล็ก PM 2.5 เป็นขนาด ฝุ่นละอองที่เป็นภัยนั้น ก็เพราะว่า สารมลพิษในฝุ่นละอองขนาดนี้ สามารถเข้าสู่อวัยวะในระบบทางเดินหายใจได้โดยตรง สามารถ ทะลุเข้าไปถึงถุงลมปอดได้ทันที ดังนั้น ฝุ่นละอองขนาดเล็กเหล่านี้ จึงทาให้เกิดการระคายเคืองและมีผลต่ออาการและโรคทางเดิน หายใจ สามารถทาลายอวัยวะของระบบทางเดินหายใจโดยตรง และ ยังทาให้เกิดการระคายเคืองตา ระคายคอ แน่นหน้าอก หายใจถี่ หลอดลมอักเสบ เกิดอาการหอบหืด ถุงลมโป่งพอง และอาจเกิด โรคระบบทางเดินหายใจได้
  • 9. สถานการณ์ PM 2.5 ผลกระทบต่อสุขภาพในระยะยาว • ในช่วงต้นปี 2562 ที่ผ่านมา สถานการณ์ฝุ่นละออง PM 2.5 ในเขตกรุงเทพฯ-ปริมณฑลโดยรวม อยู่ในเกณฑ์มีผลกระทบ ต่อสุขภาพ เพราะในช่วงเช้าอากาศลอยตัวได้ดี มีหมอก แต่ลมพัดอ่อน จึงส่งผลให้ฝุ่นละออง PM 2.5 หลายจุดมีปริมาณ เพิ่มขึ้น และพบฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐาน (50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) 24 พื้นที่ทั่วกรุงเทพฯ และปริมณฑล ส่วน ภูมิภาคอื่นๆ ของประเทศไทยก็ประสบปัญหามลพิษทางอากาศ เนื่องจากการเผา เพื่อทาเกษตรกรรม • ทั้งนี้ องค์การอนามัยโลกได้สารวจพบว่า มีประชากรที่ต้อง “เสียชีวิตก่อนวัยอันควร” เนื่องจากมลพิษในอากาศทั่วโลก มากกว่า 6 ล้านคนในแต่ละปี และในจานวนนี้ เป็นเด็กอายุต่ากว่า 5 ขวบถึงร้อยละ 10 หรือประมาณ 600,000 คน เมื่อ คุณภาพอากาศเลวลง อัตราการไปห้องฉุกเฉินและการเข้าอยู่โรงพยาบาลจะสูงขึ้น เพราะมลพิษทาให้ปัญหาสุขภาพที่มี อยู่กาเริบขึ้น และเป็นเหตุให้หัวใจวาย หลอดเลือดในสมองตีบ หอบหืดกาเริบ ฯลฯ • ปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM 2.5) นับเป็นปัญหาสาคัญ เนื่องจากส่งผลกระทบต่อสุขภาพโดยตรง ทาให้อายุขัยเฉลี่ยของประชาชนลดลง เพราะเทโลเมียร์ซึ่งเป็นดีเอ็นเอกาหนดอายุขัยของสิ่งมีชีวิตในโครโมโซมมีขนาด สั้นลง ทาให้แก่เร็วขึ้นและอายุสั้นลงได้ด้วย อีกทั้งยังเพิ่มอัตราการเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลอันเนื่องมาจากโรคต่างๆ ยิ่งสูดดม PM2.5 เป็นเวลายาวนาน ยิ่งส่งผลในระดับพันธุกรรม ซึ่งจะมีผลมากกับทารกในครรภ์
  • 10. วิธีรับมือกับฝุ่ น PM 2.5 วิธีการลดปริมาณฝุ่นละอองที่ดีที่สุด คือ ประชาชนต้องมีจิตสานึก ร่วมกันเพื่อลดกิจกรรมที่เสี่ยงต่อการเพิ่มขึ้นของฝุ่นละออง เช่น ลดการจุด ธูป ลดการเผาขยะ ซึ่งจะเพิ่มปริมาณฝุ่นเป็นจานวนมาก สาหรับการป้องกัน ตนเอง ให้สวมหน้ากากป้องกันฝุ่นละอองที่เหมาะสม ไม่ใช่หน้ากากอนามัย ทั่วไปที่ไม่สามารถป้องกันฝุ่นละอองขนาดเล็กในระดับ 2.5 ไมครอนได้แต่ ต้องใช้หน้ากากมาตรฐาน N95 จะมีประสิทธิภาพมากกว่า เพราะหน้ากาก N95 ผลิตจากเส้นใยพิเศษที่สามารถกรองฝุ่นละออง หรือเชื้อโรคที่มีขนาด ใหญ่กว่า 0.3 ไมครอนได้ทาให้ป้องกันฝุ่นขนาด PM 2.5 ไมครอน ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ
  • 11. วิธีเลือกหน้ากากสู้ 'ฝุ่นPM 2.5' 1. ประสิทธิภำพกำรกรองฝุ่ น โดยฝุ่น PM 2.5 เป็นฝุ่นที่มีขนาดเล็กเพียง 2.5 ไมครอน ดังนั้นควรเลือกซื้อหน้ากากที่สามารถป้องกันฝุ่นขนาด เล็กกว่า 2.5 ไมครอนได้ โดยหน้ากากอนามัยธรรมดาทั่วไปสามารถกรองฝุ่นขนาด 3 ไมครอน จึงไม่สามารถป้องกันฝุ่น 2.5 ได้ 2. ผ่ำนกำรรับรองหรือได้รับมำตรฐำน ควรตรวจสอบว่าหน้ากากมีมาตรฐานจากหน่วยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได้รองรับ ซึ่งสังเกตได้จาก ข้อความบนอุปกรณ์ หรือบรรจุภัณฑ์ โดยมาตรฐานรับรองสาหรับหน้ากากกรองอากาศชนิดกรองอนุภาคที่ได้รับการยอมรับจากนานาประเทศ ได้แก่ มาตรฐานอเมริกา (NIOSH Standard, NIOSH 42 CFR 84 หรือ ASTM Standard), มาตรฐานยุโรป (European Standard, EN 149) มาตรฐานออสเตรเลีย/ นิวซีแลนด์ (Australia/New Zealand Standard, AS/NZS 1761) และมาตรฐานญี่ปุ่น (Japanese Industrial Standard หรือ JIS) • N95: เป็นการรับรองของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยรับรองว่าหน้ากากนี้มีประสิทธิภาพในการกรอง 95% (หากเลข มากกว่านั้น เช่น N99 หมายถึง มีประสิทธิภาพในการกรอง 99%) • ASTM F2299 Level 1 เป็นการรับรองของสมาคม ASTM สหรัฐอเมริกา โดยรับรองว่าหน้ากากนี้มีประสิทธิภาพในการ กรองฝุ่นขนาด 0.1 ไมครอนได้ ≥95% (หากเป็น Level 2 และ 3 ได้≥98%) • FFP2: เป็นการรับรองของฝั่งยุโรป โดยรับรองว่าหน้ากากนี้มีประสิทธิภาพในการกรอง 94% (หากเป็น FFP3 จะหมายถึง มีประสิทธิภาพในการกรอง 99%) • P2: เป็นการรับรองของประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ โดยรับรองว่าหน้ากากนี้มีประสิทธิภาพในการกรอง 94% (หากเป็น P3 จะหมายถึง มีประสิทธิภาพในการกรอง 99%) • JIS T 8151: 2018 เป็นมาตรฐานอุตสาหกรรมญี่ปุ่น โดยรับรองว่าหน้ากากนี้มีประสิทธิภาพในการป้องกันฝุ่นละอองใน อากาศที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายมนุษย์โดยการหายใจ 3. ควำมกระชับในกำรสวมใส่ ควรเลือกหน้ากากที่สวมใส่แล้วรู้สึกสบายไม่อึดอัดจนเกินไป สายรัดไม่รัดบริเวณหูจนเกิดอาการเจ็บ และเมื่อ ใส่อย่างถูกต้องแล้วหน้ากากต้องกระชับแนบสนิทกับใบหน้า มีอากาศรั่วไหลหรือเล็ดรอดจากขอบหน้ากากเข้าสู่ด้านในน้อยที่สุด อย่างไรก็ดีนอกจากการเลือกซื้อหน้ากากอนามัยที่กรองฝุ่น PM2.5 ได้แล้ว การสวมใส่หน้ากากอนามัยอย่างถูกต้องเป็นสิ่งสาคัญ เช่น พยายามใส่ให้กระชับ แนบสนิทกับใบหน้า ควรใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ไม่ใช้หน้ากากอนามัยซ้าเมื่อมีการเปื้อน หรือแผ่นด้านที่สัมผัสผิวถูกเสียดถูจนด้อยสภาพ หน้ากากเสียรูปหรือ ชารุด หรือชื้นแฉะ รวมถึงล้างมือก่อนการสวมใส่และหลังการถอดออกทุกครั้ง จะช่วยป้องกันและช่วยกรองฝุ่น PM2.5 ได้ดีและมีประสิทธิภาพมากที่สุด
  • 12. การป้องกันผลกระทบจากมลพิษทางอากาศภายนอก • อยู่ภายในอาคารให้มากที่สุดระหว่างวัน และหลีกเลี่ยงการอยู่ภายนอกอาคารบริเวณ ที่มีมลพิษทางอากาศสูงเป็นเวลานาน • หากต้องออกไปข้างนอก ควรหลีกเลี่ยงช่วงเวลาเร่งด่วน อาจออกแต่เช้าตรู่หรือรอ หลังพระอาทิตย์ตก เนื่องจากแสงอาทิตย์จะส่งผลให้โอโซนระดับภาคพื้นดินซึ่่งเป็น องค์ประกอบหลักของมลพิษทางอากาศในเมืองและส่งผลเสียต่อสุขภาพ มีระดับสูง ขึ้น • เมื่ออยู่ภายนอกอาคาร ควรหายใจช้า ๆ และอย่าทากิจกรรมที่ส่งผลให้อัตราการ หายใจเพิ่มขึ้น เพราะจะทาให้ได้รับมลพิษทางอากาศมากขึ้น • ใช้อุปกรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากากอนามัยชนิดมีตัวกรอง ซึ่งจะช่วยกรองสารหรือ อนุภาคขนาดเล็กออกจากอากาศที่หายใจได้ในระดับหนึ่ง • ผู้ป่วยโรคหัวใจหรือมีปัญหาเกี่ยวกับปอดควรปรึกษาแพทย์และปฏิบัติตามคาแนะนา ของแพทย์อย่างเคร่งครัด
  • 13. การป้องกันผลกระทบจากมลพิษทางอากาศภายนอก • เมื่ออยู่ภายนอกอาคาร ควรหายใจช้า ๆ และอย่าทากิจกรรมที่ส่งผลให้ อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น เพราะจะทาให้ได้รับมลพิษทางอากาศมากขึ้น • ใช้อุปกรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากากอนามัยชนิดมีตัวกรอง ซึ่งจะช่วยกรอง สารหรืออนุภาคขนาดเล็กออกจากอากาศที่หายใจได้ในระดับหนึ่ง • ผู้ป่วยโรคหัวใจหรือมีปัญหาเกี่ยวกับปอดควรปรึกษาแพทย์และปฏิบัติ ตามคาแนะนาของแพทย์อย่างเคร่งครัด
  • 14. การป้องกันผลกระทบจากมลพิษทางอากาศภายใน • หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ภายในอาคาร • วางเตาอบหรือเตาแก๊สในบริเวณที่อากาศถ่ายเทสะดวก • หลีกเลี่ยงการใช้พรม เพราะอาจเป็นแหล่งสะสมฝุ่น • จัดที่พักอาศัยหรือสถานที่ทางานให้เป็นระเบียบ • หากภายในอาคารมีความชื้นสูง ควรใช้เครื่องปรับอากาศหรือเครื่องลด ความชื้น • เก็บรองเท้าไว้นอกบ้าน • หมั่นทาความสะอาดเพื่อลดฝุ่น • เก็บถังขยะให้มิดชิดเพื่อป้องกันแมลง
  • 15. การป้องกันผลกระทบจากมลพิษทางอากาศภายใน • ตรวจสภาพรถและตรวจวัดการปล่อยมลพิษอย่างสม่าเสมอ • ลดปริมาณการใช้สเปรย์ปรับอากาศ • ซักเครื่องนอนด้วยน้าร้อนทุกสัปดาห์ • ใช้พัดลมระบายอากาศภายในห้องน้าและห้องครัว • ใช้เทียนหอมหรือเตาน้ามันหอมระเหยในบ้านแต่พอเหมาะ
  • 17. จัดทาโดย นายอภิสิทธิ์ แจ่มช้อย รหัสนักศึกษา 600404485205 นางสาวจิตตราภร ขาทองทับ รหัสนักศึกษา 600404491670 นายวิชา คีรีรักษ์ รหัสนักศึกษา 600404483814 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ รายวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี กับการดาเนินชีวิต