SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
bracteole   ( ใบประดับย่อย )   corolla   ( วงกลีบดอก )   petaloid staminode   ( เกสรเพศผู้เป็นหมันที่เปลี่ยนรูปไปคล้ายกลีบดอก )   sepal   ( กลีบเลี้ยง )   พุทธรักษา  ( Canna  sp.) พุทธรักษาออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยแต่ละดอกมีใบประดับย่อยสีเขียวรองรับ กลีบเลี้ยง  3  กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ กลีบดอก  3  กลีบเชื่อมติดกันที่โคน และเชื่อมติดกับเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียด้วย ทำให้มีลักษณะคล้ายเป็นหลอด เกสรเพศผู้  1  อัน เปลี่ยนรูปไปคล้ายเป็นกลีบดอก แต่ยังคงเห็นอับเรณูติดอยู่ที่ด้านข้างของส่วนที่คล้ายเป็นกลีบ เกสร เพศผู้เป็นหมัน  4  อัน เปลี่ยนรูปไปคล้ายเป็นกลีบดอกเช่นกัน เกสรเพศเมีย  1  อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศ เมีย  1  อัน แผ่ออกคล้ายเป็นกลีบ ยอดเกสรเพศเมียอยู่ที่ขอบด้านบนของก้านยอดเกสรเพศเมียที่แผ่ออก ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
petaloid stamen   ( เกสรเพศผู้ที่เปลี่ยนไปคล้ายกลีบ )   anther   ( อับเรณู )   style   ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย )   stigma   ( ยอดเกสรเพศเมีย )   sepal   ( กลีบเลี้ยง )   corolla   ( วงกลีบดอก )   ovary   ( รังไข่ )   ovule   ( ออวุล )   ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดอนย่า ,  ใบต่างดอก  ( Mussaenda  spp.) ดอนย่าหรือใบต่างดอกออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยในช่ออาจแน่นหรือโปร่ง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยก เป็นแฉกกลีบเลี้ยง  4-5  แฉก แฉกกลีบเลี้ยง  1  แฉกหรือทั้งหมดมักเปลี่ยนรูปไปคล้ายเป็นกลีบดอก มีสีสันสวยงาม กลีบดอก  5  กลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นแฉกกลีบดอก  5  แฉก เกสรเพศผู้  5  อัน ติดบนหลอดกลีบดอก  สลับกับแฉกกลีบดอก เกสรเพศเมีย  1  อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศเมีย  1  อัน ยอดเกสรเพศเมีย  2  แฉก
ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย calyx   ( วงกลีบเลี้ยง )   corolla   ( วงกลีบดอก )   stamen   ( เกสรเพศผู้ )   calyx lobe   ( แฉกกลีบเลี้ยง )   calyx tube   ( หลอดกลีบเลี้ยง )   corolla lobe   ( แฉกกลีบดอก )   corolla tube   ( หลอดกลีบดอก )   stigma   ( ยอดเกสรเพศเมีย )   style   ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย )   ovary   ( รังไข่ )
ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รัก  ( Calotropis gigantea  (L.) Dryander ex W.T.Aiton) รักออกดอกเป็นช่อ กลีบเลี้ยง  5  กลีบ ขนาดเล็ก แยกจากกันเป็นอิสระ กลีบดอก  5  กลีบเชื่อมติดกันเป็นรูปกงล้อ เกสรเพศผู้  5  อัน ติดอยู่บนหลอดกลีบดอก เชื่อมติดกันเองและเชื่อมติดกับยอดเกสรเพศเมีย แล้วเปลี่ยนรูปร่างไปเป็น ชั้นกะบังรอบ หรือชั้นมงกุฎ ล้อมรอบรังไข่ และก้านยอดเกสรเพศเมียเอาไว้ข้างใน อับเรณู  5  อัน มีเยื่อบาง ๆ คลุมปิด อยู่ แต่ละอับเรณูมี  2  ช่อง เรณูทั้งหมดในแต่ละช่องเกาะรวมกันเป็นหนึ่งกลุ่มเกิดเป็น “กลุ่มเรณู” ดังนั้นใน  1  อับเรณู จะมี  2 “ กลุ่มอับเรณู” แต่ “กลุ่มเรณู” ในอับเรณูเดียวกันจะไม่เชื่อมติดกัน การเชื่อมกันของ “กลุ่มเรณู” จะเกิดขึ้น ระหว่างช่องของอับเรณูที่อยู่ติดกัน เกิดเป็น “ชุดกลุ่มเรณู” ขึ้น เกสรเพศเมีย  1  อัน แต่ส่วนของรังไข่ และก้านยอด เกสรเพศเมียแยกจากกัน และไปเชื่อมติดกันที่ยอดเกสรเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบ sepal   ( กลีบเลี้ยง )   corolla  ( วงกลีบดอก )   corona  ( กะบังรอบ )
ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ovary   ( รังไข่ )   style   ( ก้านยอด เกสรเพศ เมีย )   stigma   ( ยอดเกสรเพศเมีย )   ยอดเกสร เพศเมีย   corona   ( กะบังรอบ )   pollinium   ( กลุ่มเรณู )   anther   ( อับเรณู )   stamen   ( เกสรเพศผู้ )   corolla lobe   ( แฉกกลีบดอก )   pollinarium   ( ชุดกลุ่มเรณู )
ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย sepal  ( กลีบเลี้ยง )   petal  ( กลีบดอก )   stigma   ( ยอดเกสรเพศเมีย )   anther   ( อับเรณู )   operculum   ( ฝาปิดอับเรณู )   column   ( เส้าเกสร )   pollinium   ( กลุ่มเรณู )   กลีบเลี้ยง   ovary   ( รังไข่ )   ovule   ( ออวุล )   petal  petal  หวาย  ( Dendrobium  sp.) หวายออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยมีกลีบเลี้ยง  3  กลีบ กลีบเลี้ยงอันบนแยกเป็นอิสระ กลีบเลี้ยงคู่ข้างเชื่อมติด กันที่โคนมีลักษณะคล้ายเป็นคางยื่นออกมา กลีบดอก  3 กลีบแยกจากกัน กลีบดอกหนึ่งกลีบที่อยู่ด้านล่างมีลักษณะแตกต่างไปจากกลีบดอกอีก  2  กลีบ เรียกกลีบปาก เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียเชื่อมติดกันเกิดเป็นโครงสร้างที่เรียก เส้าเกสร ส่วนบนสุดเป็นอับเรณู ซึ่งมี ฝาปิดคลุมกลุ่มเรณูเอาไว้ ถัดจากอับเรณู ลงมามีลักษณะเป็นแอ่ง มีน้ำเหนียวๆ คือ ยอดเกสรเพศเมีย รังไข่อยู่ใต้วงกลีบ
gland   ( ต่อม )   bract   ( ใบประดับ )   bract   ( ใบประดับ )   pistillate flower   ( ดอกเพศเมีย )   staminate flower   ( ดอกเพศผู้ )   โป๊ยเซียน  ( Euphorbia milii  Des Moul) โป๊ยเซียนออกดอกเป็นช่อแต่ดูคล้ายเป็นดอกเดี่ยว ช่อดอกเป็นรูปถ้วย มีใบประดับขนาดใหญ่สองใบรองรับช่อดอก  มีต่อมที่มีลักษณะและสีสันคล้ายกลีบติดอยู่กับใบประดับล้อมรอบดอกย่อยในช่อ ดอกย่อยแยกเพศ และไม่มีวงกลีบ ใน  1  ช่อดอกจะพบดอกเพศเมีย  1  ดอกอยู่ตรงกลางช่อ และลดรูปจนเหลือเพียงเกสรเพศเมีย 1  อันติดอยู่บนก้าน ดอกย่อย รังไข่ลักษณะเป็น  3  พู ก้านเกสรเพศเมีย  3  อัน ยอดเกสรเพศเมีย  3  อัน แต่ละอันมีลักษณะเป็นสองแฉก ดอกเพศผู้มีหลายดอกอยู่ล้อมรอบดอกเพศเมีย และลดรูปจนเหลือเพียงเกสรเพศผู้  1  อันติดบนก้านดอกย่อย ที่โคน ก้านดอกย่อยมีใบประดับย่อยที่มีลักษณะเป็นแผ่นหรือเส้นบางๆ หรือมีลักษณะคล้ายเป็นริ้วหรือขน  ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดอกเพศเมีย   ดอกเพศผู้   pistillate flower   ( ดอกเพศเมีย )   staminate flower   ( ดอกเพศผู้ )   gland   ( ต่อม )   ต่อม   style   ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย )   stigma   ( ยอดเกสรเพศเมีย )   ovary   ( รังไข่ )   anther   ( อับเรณู )   filament  ( ก้านชูอับเรณู )   bracteole   ( ใบประดับย่อย )   pedicel  ( ก้านดอกย่อย )   รอยต่อ   pedicel  ( ก้านดอกย่อย )   ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0 ยอดเกสรเพศเมีย   ก้านยอดเกสรเพศเมีย   รังไข่   perianth ( วงกลีบรวม )   tepal ( กลีบรวม )   รังไข่   ใบประดับ   anther ( อับเรณู )   filament ( ก้านชูอับเรณู )   บัวจีน  ( Zephyranthes  sp.) บัวจีนมีใบประดับซึ่งมีลักษณะคล้ายปลอก  ส่วนปลายแยกเป็นสองแฉก กลีบเป็นแบบ วงกลีบรวม มีจำนวน  6  กลีบ เรียงเป็น  2 ชั้นๆ ละ  3  กลีบ เชื่อมติดกันที่โคน เกสรเพศผู้จำนวน  6  อัน ก้านชูอับเรณูติดที่โคนวงกลีบรวม เกสรเพศเมีย  1  อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศเมีย  1  อัน ยอดเกสรเพศเมียลักษณะแยกเป็น  3  พู
petal  ( กลีบดอก )   sepal  ( กลีบเลี้ยง )   stigma   ( ยอดเกสรเพศเมีย )   ovary   ( รังไข่ )   stamen   ( เกสรเพศผู้ )   fruit   ( ผล )   ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย  ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตะขบ  ( Muntingia calabura  L.) ดอกตะขบมีกลีบเลี้ยง  5  กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ กลีบดอก  5  กลีบแยกจากกันเป็นอิสระ เกสรเพศผู้จำนวนมาก เกสรเพศเมีย  1  อัน รังไข่เหนือวงกลีบ ไม่มีก้านยอดเกสรเพศเมีย ยอดเกสรเพศเมีย  1  อัน ลักษณะเป็นแฉก  5-6  แฉก

More Related Content

What's hot

Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานNoonnu Ka-noon
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกbiwty_keng
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานWichai Likitponrak
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นมัทนา อานามนารถ
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษากมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...KalyakornWongchalard
 

What's hot (20)

Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
หู
หูหู
หู
 
การนำไฟฟ้า
การนำไฟฟ้าการนำไฟฟ้า
การนำไฟฟ้า
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
 

Viewers also liked

Viewers also liked (8)

2011 оны санхүүгийн тайлан
2011 оны санхүүгийн тайлан2011 оны санхүүгийн тайлан
2011 оны санхүүгийн тайлан
 
A1 Octagram 1 4
A1 Octagram 1 4A1 Octagram 1 4
A1 Octagram 1 4
 
Social media onderwijs
Social media onderwijsSocial media onderwijs
Social media onderwijs
 
Derivas y mapeos. Prácticas artísticas
Derivas y mapeos. Prácticas artísticasDerivas y mapeos. Prácticas artísticas
Derivas y mapeos. Prácticas artísticas
 
Guia 2 resolviendo_problemas_de_planteo_11839_20160927_20140429_124432 - copia
Guia 2 resolviendo_problemas_de_planteo_11839_20160927_20140429_124432 - copiaGuia 2 resolviendo_problemas_de_planteo_11839_20160927_20140429_124432 - copia
Guia 2 resolviendo_problemas_de_planteo_11839_20160927_20140429_124432 - copia
 
El caso de miguel
El caso de miguelEl caso de miguel
El caso de miguel
 
Moon@night
Moon@nightMoon@night
Moon@night
 
Arjit-swine flu
Arjit-swine fluArjit-swine flu
Arjit-swine flu
 

Similar to ดอกตอนที่2

การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกNokko Bio
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกnokbiology
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931PhatharawarongChiera
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931PhatharawarongChiera
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็กการศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็กแพรุ่ง สีโนรักษ์
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้sawaddee
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้sawaddee
 

Similar to ดอกตอนที่2 (20)

ดอกตอนที่3
ดอกตอนที่3ดอกตอนที่3
ดอกตอนที่3
 
ดอกตอนที่ 3
ดอกตอนที่ 3ดอกตอนที่ 3
ดอกตอนที่ 3
 
ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1
 
ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1
 
ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1
 
Webskt1
Webskt1Webskt1
Webskt1
 
Plant
PlantPlant
Plant
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็กการศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
 
pracharat
pracharatpracharat
pracharat
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 

More from krabi Primary Educational Service Area Office (10)

Part6 140 final[2]
Part6 140 final[2]Part6 140 final[2]
Part6 140 final[2]
 
Part4 140 final[1]
Part4 140 final[1]Part4 140 final[1]
Part4 140 final[1]
 
Part2 140 final[2]
Part2 140 final[2]Part2 140 final[2]
Part2 140 final[2]
 
Part1 140final[1]
Part1 140final[1]Part1 140final[1]
Part1 140final[1]
 
Cove r[1] 140Yrs Krabi
Cove r[1] 140Yrs KrabiCove r[1] 140Yrs Krabi
Cove r[1] 140Yrs Krabi
 
ตามรอยหอยชักตีน เล่ม2
ตามรอยหอยชักตีน เล่ม2ตามรอยหอยชักตีน เล่ม2
ตามรอยหอยชักตีน เล่ม2
 
CoralLec01
CoralLec01CoralLec01
CoralLec01
 
Coral lec02
Coral lec02Coral lec02
Coral lec02
 
หินบ่อม่วง
หินบ่อม่วงหินบ่อม่วง
หินบ่อม่วง
 
ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2
 

ดอกตอนที่2

  • 1. bracteole ( ใบประดับย่อย ) corolla ( วงกลีบดอก ) petaloid staminode ( เกสรเพศผู้เป็นหมันที่เปลี่ยนรูปไปคล้ายกลีบดอก ) sepal ( กลีบเลี้ยง ) พุทธรักษา ( Canna sp.) พุทธรักษาออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยแต่ละดอกมีใบประดับย่อยสีเขียวรองรับ กลีบเลี้ยง 3 กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ กลีบดอก 3 กลีบเชื่อมติดกันที่โคน และเชื่อมติดกับเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียด้วย ทำให้มีลักษณะคล้ายเป็นหลอด เกสรเพศผู้ 1 อัน เปลี่ยนรูปไปคล้ายเป็นกลีบดอก แต่ยังคงเห็นอับเรณูติดอยู่ที่ด้านข้างของส่วนที่คล้ายเป็นกลีบ เกสร เพศผู้เป็นหมัน 4 อัน เปลี่ยนรูปไปคล้ายเป็นกลีบดอกเช่นกัน เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศ เมีย 1 อัน แผ่ออกคล้ายเป็นกลีบ ยอดเกสรเพศเมียอยู่ที่ขอบด้านบนของก้านยอดเกสรเพศเมียที่แผ่ออก ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2. petaloid stamen ( เกสรเพศผู้ที่เปลี่ยนไปคล้ายกลีบ ) anther ( อับเรณู ) style ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย ) stigma ( ยอดเกสรเพศเมีย ) sepal ( กลีบเลี้ยง ) corolla ( วงกลีบดอก ) ovary ( รังไข่ ) ovule ( ออวุล ) ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 3. ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดอนย่า , ใบต่างดอก ( Mussaenda spp.) ดอนย่าหรือใบต่างดอกออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยในช่ออาจแน่นหรือโปร่ง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยก เป็นแฉกกลีบเลี้ยง 4-5 แฉก แฉกกลีบเลี้ยง 1 แฉกหรือทั้งหมดมักเปลี่ยนรูปไปคล้ายเป็นกลีบดอก มีสีสันสวยงาม กลีบดอก 5 กลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นแฉกกลีบดอก 5 แฉก เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดบนหลอดกลีบดอก สลับกับแฉกกลีบดอก เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน ยอดเกสรเพศเมีย 2 แฉก
  • 4. ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย calyx ( วงกลีบเลี้ยง ) corolla ( วงกลีบดอก ) stamen ( เกสรเพศผู้ ) calyx lobe ( แฉกกลีบเลี้ยง ) calyx tube ( หลอดกลีบเลี้ยง ) corolla lobe ( แฉกกลีบดอก ) corolla tube ( หลอดกลีบดอก ) stigma ( ยอดเกสรเพศเมีย ) style ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย ) ovary ( รังไข่ )
  • 5. ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รัก ( Calotropis gigantea (L.) Dryander ex W.T.Aiton) รักออกดอกเป็นช่อ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ขนาดเล็ก แยกจากกันเป็นอิสระ กลีบดอก 5 กลีบเชื่อมติดกันเป็นรูปกงล้อ เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดอยู่บนหลอดกลีบดอก เชื่อมติดกันเองและเชื่อมติดกับยอดเกสรเพศเมีย แล้วเปลี่ยนรูปร่างไปเป็น ชั้นกะบังรอบ หรือชั้นมงกุฎ ล้อมรอบรังไข่ และก้านยอดเกสรเพศเมียเอาไว้ข้างใน อับเรณู 5 อัน มีเยื่อบาง ๆ คลุมปิด อยู่ แต่ละอับเรณูมี 2 ช่อง เรณูทั้งหมดในแต่ละช่องเกาะรวมกันเป็นหนึ่งกลุ่มเกิดเป็น “กลุ่มเรณู” ดังนั้นใน 1 อับเรณู จะมี 2 “ กลุ่มอับเรณู” แต่ “กลุ่มเรณู” ในอับเรณูเดียวกันจะไม่เชื่อมติดกัน การเชื่อมกันของ “กลุ่มเรณู” จะเกิดขึ้น ระหว่างช่องของอับเรณูที่อยู่ติดกัน เกิดเป็น “ชุดกลุ่มเรณู” ขึ้น เกสรเพศเมีย 1 อัน แต่ส่วนของรังไข่ และก้านยอด เกสรเพศเมียแยกจากกัน และไปเชื่อมติดกันที่ยอดเกสรเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบ sepal ( กลีบเลี้ยง ) corolla ( วงกลีบดอก ) corona ( กะบังรอบ )
  • 6. ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ovary ( รังไข่ ) style ( ก้านยอด เกสรเพศ เมีย ) stigma ( ยอดเกสรเพศเมีย ) ยอดเกสร เพศเมีย corona ( กะบังรอบ ) pollinium ( กลุ่มเรณู ) anther ( อับเรณู ) stamen ( เกสรเพศผู้ ) corolla lobe ( แฉกกลีบดอก ) pollinarium ( ชุดกลุ่มเรณู )
  • 7. ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย sepal ( กลีบเลี้ยง ) petal ( กลีบดอก ) stigma ( ยอดเกสรเพศเมีย ) anther ( อับเรณู ) operculum ( ฝาปิดอับเรณู ) column ( เส้าเกสร ) pollinium ( กลุ่มเรณู ) กลีบเลี้ยง ovary ( รังไข่ ) ovule ( ออวุล ) petal petal หวาย ( Dendrobium sp.) หวายออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยมีกลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลีบเลี้ยงอันบนแยกเป็นอิสระ กลีบเลี้ยงคู่ข้างเชื่อมติด กันที่โคนมีลักษณะคล้ายเป็นคางยื่นออกมา กลีบดอก 3 กลีบแยกจากกัน กลีบดอกหนึ่งกลีบที่อยู่ด้านล่างมีลักษณะแตกต่างไปจากกลีบดอกอีก 2 กลีบ เรียกกลีบปาก เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียเชื่อมติดกันเกิดเป็นโครงสร้างที่เรียก เส้าเกสร ส่วนบนสุดเป็นอับเรณู ซึ่งมี ฝาปิดคลุมกลุ่มเรณูเอาไว้ ถัดจากอับเรณู ลงมามีลักษณะเป็นแอ่ง มีน้ำเหนียวๆ คือ ยอดเกสรเพศเมีย รังไข่อยู่ใต้วงกลีบ
  • 8. gland ( ต่อม ) bract ( ใบประดับ ) bract ( ใบประดับ ) pistillate flower ( ดอกเพศเมีย ) staminate flower ( ดอกเพศผู้ ) โป๊ยเซียน ( Euphorbia milii Des Moul) โป๊ยเซียนออกดอกเป็นช่อแต่ดูคล้ายเป็นดอกเดี่ยว ช่อดอกเป็นรูปถ้วย มีใบประดับขนาดใหญ่สองใบรองรับช่อดอก มีต่อมที่มีลักษณะและสีสันคล้ายกลีบติดอยู่กับใบประดับล้อมรอบดอกย่อยในช่อ ดอกย่อยแยกเพศ และไม่มีวงกลีบ ใน 1 ช่อดอกจะพบดอกเพศเมีย 1 ดอกอยู่ตรงกลางช่อ และลดรูปจนเหลือเพียงเกสรเพศเมีย 1 อันติดอยู่บนก้าน ดอกย่อย รังไข่ลักษณะเป็น 3 พู ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน ยอดเกสรเพศเมีย 3 อัน แต่ละอันมีลักษณะเป็นสองแฉก ดอกเพศผู้มีหลายดอกอยู่ล้อมรอบดอกเพศเมีย และลดรูปจนเหลือเพียงเกสรเพศผู้ 1 อันติดบนก้านดอกย่อย ที่โคน ก้านดอกย่อยมีใบประดับย่อยที่มีลักษณะเป็นแผ่นหรือเส้นบางๆ หรือมีลักษณะคล้ายเป็นริ้วหรือขน ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 9. ดอกเพศเมีย ดอกเพศผู้ pistillate flower ( ดอกเพศเมีย ) staminate flower ( ดอกเพศผู้ ) gland ( ต่อม ) ต่อม style ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย ) stigma ( ยอดเกสรเพศเมีย ) ovary ( รังไข่ ) anther ( อับเรณู ) filament ( ก้านชูอับเรณู ) bracteole ( ใบประดับย่อย ) pedicel ( ก้านดอกย่อย ) รอยต่อ pedicel ( ก้านดอกย่อย ) ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 10. ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0 ยอดเกสรเพศเมีย ก้านยอดเกสรเพศเมีย รังไข่ perianth ( วงกลีบรวม ) tepal ( กลีบรวม ) รังไข่ ใบประดับ anther ( อับเรณู ) filament ( ก้านชูอับเรณู ) บัวจีน ( Zephyranthes sp.) บัวจีนมีใบประดับซึ่งมีลักษณะคล้ายปลอก ส่วนปลายแยกเป็นสองแฉก กลีบเป็นแบบ วงกลีบรวม มีจำนวน 6 กลีบ เรียงเป็น 2 ชั้นๆ ละ 3 กลีบ เชื่อมติดกันที่โคน เกสรเพศผู้จำนวน 6 อัน ก้านชูอับเรณูติดที่โคนวงกลีบรวม เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน ยอดเกสรเพศเมียลักษณะแยกเป็น 3 พู
  • 11. petal ( กลีบดอก ) sepal ( กลีบเลี้ยง ) stigma ( ยอดเกสรเพศเมีย ) ovary ( รังไข่ ) stamen ( เกสรเพศผู้ ) fruit ( ผล ) ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตะขบ ( Muntingia calabura L.) ดอกตะขบมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ กลีบดอก 5 กลีบแยกจากกันเป็นอิสระ เกสรเพศผู้จำนวนมาก เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่เหนือวงกลีบ ไม่มีก้านยอดเกสรเพศเมีย ยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน ลักษณะเป็นแฉก 5-6 แฉก