SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
3.1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่ายรูปแบบของการ
เรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่ายเป็นการผสมผสานเทคโนโลยีกับกระบวนการเรียนการสอนเข้า
ไว้ด้วยกัน ที่ผู้เรียนสามารถเรียนและติดต่อสื่อสารกับครูผู้สอนโดยมีเครือข่าย www. เป็น
ตัวกลางในการสื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
รูปแบบของการเรียนบนเครือข่าย แบ่งได้ดังนี้
1) วิชาเอกเทศ วิชาที่เนื้อหาและทรัพยากรทั้งหมดและการสื่อสารระหว่างครูและนักเรียน
การลงทะเบียนเรียนจะรวมอยู่ในนี้ด้วย เป็นการเรียนที่ไม่มีข้อจากัดทั้งเวลาและสถานที่
2) วิชาที่ใช้สื่อบนเครือข่าย เป็นการเรียนในสถาบันโยการหาข้อมูลข่าวสาร ทางานส่งหรือ
กิจกรรมจะกระทาบนเครือข่าย
3) ทัพยากรการสอนบนเครือข่าย เป็นการใช้เว็บไซด์เป็นกิจกรรมการเรียนการสอน ทรัพยา
การเหล่านี้อยู่ในรูปแบบ ข้อความ ภาพกราฟิก การติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
ฯลฯ
3.2 สรุปวิวัฒนาการของเทคโนโลยี Web 1.0 - 4.0
Web 1.0 รูปแบบไฟล์นามสกุลเป็น .html .htm ทาหน้าที่ให้ข้อมูลข่าวสาร ผู้ส่งสาร
จะต้องมีความรู้พื้นฐานในการทาเว็บ ผู้รับสารมีหน้าที่รับรู้ข่าวสารเพียงอย่างเดียวไม่
สามารถโต้ตอบได้
Web 2.0 ซอฟแวร์สามารถประยุกต์ใช้กับเว็บได้ สามารถสร้าง แก้ไข แบ่งปัน และ
เชื่อมโยงสู่สังคมมากขึ้น เว็บไซด์มีรูปแบบหลากหลายและเป็นหมวดหมู่
Web 3.0 พัฒนามาจาก 2.0 มีการจัดระบบเว็บไซด์ โดยเว็บไซด์จะทาหน้าที่ค้นหาข้อมูลที่
ผู้ต้องการใช้งาน และนาเสนออย่างเป็นระเบียบและถูกต้องตรงตามความต้องการ
Web 4.0 คอมพิวเตอร์มีความฉลาดมากขึ้น สามารถตอบสนองด้วยการคานวณหรือการ
ตัดสินใจได้ว่าจะจัดเก็บข้อมูลที่จะให้ประสิทธิภาพที่ดีที่สุดมาก่อน และรูปแบบนาเสนอที่
รวดเร็ว ข้อมูลแลกเปลี่ยนกันได้อย่างอิสระ มี application สนับสนุนกิจกรรมที่ทา
3.3 สรุปความแตกต่างระหว่างเทคโนโลยี Web 1.0 -4.0
• Web 1.0 เป็นการให้ข้อมูลข่าวสารแบบการสื่อสารทางเดียว โดยมีผู้สร้างเว็บหรือ webmaster เป็นผู้
กาหนดเนื้อหาเองทั้งหมด และผู้ใช้บริการเว็บไซต์ เป็นผู้รับสารโดยที่ไม่สามารถโต้ตอบหรือแก้ไขข้อมูลนั้นๆ
• Web 2.0 เน้นการบริการที่หลากหลายรูปแบบ มีการตอบโต้ระหว่างเจ้าของเว็บไซต์และผู้ใช้บริการเว็บไซต์
อีกทั้งผู้เข้าใช้ได้มีส่วนร่วมต่อเว็บไซต์มากขึ้น กล่าวคือผู้เข้าใช้บริการเว็บไซต์สามารถสร้างข้อมูลของเว็บไซต์
ขึ้นมาได้เอง ทาให้ข้อมูลในเว็บไซต์นั้นมีการอัพเดทและพัฒนา ปรับปรุง อย่างรวดเร็วกลายเป็นเว็บไซต์ที่มี
รูปแบบของการสื่อสารเป็นแบบสองทาง
• Web 3.0 เป็นการนาแนวคิดของ Web 2.0 มาทาให้ Web นั้นสามารถจัดการข้อมูลจานวนมากๆ ให้อยู่ใน
รูปแบบ Metadata ทาให้เว็บกลายเป็น Semantic Web คือ ตัว Web จะทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลและ
วิเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้น แล้วให้ Tags ตามความเหมาะสมให้เราแทน โดยข้อมูลแต่ละ Tag จะมี
ความสัมพันธ์กับอีก Tag หนึ่งโดยปริยาย ทาให้อินเตอร์เน็ตกลายเป็นฐานข้อมูลความรู้ขนาดใหญ่ที่ข้อมูล
ทุกอย่างถูกเชื่อมต่อกันอย่างเป็นระบบมากขึ้น
• Web 4.0 มีการทางานแบบ Artificial Intelligence (AI) หมายถึง การสร้างให้คอมพิวเตอร์ให้สามารถคิด
ได้ มีความฉลาดมากขึ้น ในการอ่านทั้งเนื้อหาและรูปภาพ และสามารถตอบสนองด้วยการคานวณ หรือ
สามารถตัดสินใจได้ว่าจะ load ข้อมูลใดที่จะให้ประสิทธิภาพดีที่สุดมาให้ก่อน และมีรูปแบบการนามาแสดง
ที่รวดเร็ว
3.4 ยกตัวอย่างเทคโนโลยี Web 1.0 – 4.0
Web 1.0
Web 2.0
Web 3.0
Web 4.0
ผู้จัดทา
นางสาวจารุพิชญา ศรีหากุล 573050200-5
นางสาวพิมพ์ลภัส พันธ์ไพศาล 573050219-4
นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
phoom_man
 
บริการห้องสมุด2
บริการห้องสมุด2บริการห้องสมุด2
บริการห้องสมุด2
giftsuphattra
 
บทที่ 2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
Beauso English
 
5 สื่อการสอน
5 สื่อการสอน5 สื่อการสอน
5 สื่อการสอน
amppere
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
decnun
 

What's hot (16)

Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Info Study BUU
Info Study BUUInfo Study BUU
Info Study BUU
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
ICT for Education
ICT for EducationICT for Education
ICT for Education
 
บริการห้องสมุด2
บริการห้องสมุด2บริการห้องสมุด2
บริการห้องสมุด2
 
บทที่ 2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...
 
Open Educational Resources for User
Open Educational Resources for UserOpen Educational Resources for User
Open Educational Resources for User
 
5 สื่อการสอน
5 สื่อการสอน5 สื่อการสอน
5 สื่อการสอน
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Open Educational Resources for Author
Open Educational Resources for AuthorOpen Educational Resources for Author
Open Educational Resources for Author
 
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
 
ShreetUnit4.1
ShreetUnit4.1ShreetUnit4.1
ShreetUnit4.1
 

Viewers also liked

Membrana celular pp
Membrana celular ppMembrana celular pp
Membrana celular pp
Fernando Rcc
 
Apresentação1 filippon 32 mp
Apresentação1 filippon 32 mpApresentação1 filippon 32 mp
Apresentação1 filippon 32 mp
alemisturini
 
rr debut campaign winter2016
rr debut campaign winter2016rr debut campaign winter2016
rr debut campaign winter2016
anna yeung
 
Indian Paper Industry Master Plan
Indian Paper Industry Master PlanIndian Paper Industry Master Plan
Indian Paper Industry Master Plan
Pekka Niku
 

Viewers also liked (16)

ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
 
Chap1
Chap1Chap1
Chap1
 
Membrana celular pp
Membrana celular ppMembrana celular pp
Membrana celular pp
 
Resultados De Aprendizaje
Resultados De AprendizajeResultados De Aprendizaje
Resultados De Aprendizaje
 
Como modular collection
Como modular collectionComo modular collection
Como modular collection
 
André e felipe - paz e amor
André e felipe - paz e amorAndré e felipe - paz e amor
André e felipe - paz e amor
 
Apresentação1 filippon 32 mp
Apresentação1 filippon 32 mpApresentação1 filippon 32 mp
Apresentação1 filippon 32 mp
 
rr debut campaign winter2016
rr debut campaign winter2016rr debut campaign winter2016
rr debut campaign winter2016
 
Ultimate Bodybuilding Diet Plan For How to Build Muscle
Ultimate Bodybuilding Diet Plan For How to Build MuscleUltimate Bodybuilding Diet Plan For How to Build Muscle
Ultimate Bodybuilding Diet Plan For How to Build Muscle
 
Information Transparency: A Universal Optimization Driver (NYBPP Meetup)
Information Transparency: A Universal Optimization Driver (NYBPP Meetup)Information Transparency: A Universal Optimization Driver (NYBPP Meetup)
Information Transparency: A Universal Optimization Driver (NYBPP Meetup)
 
Entrevista
Entrevista Entrevista
Entrevista
 
Dilip_K_Sharma_CV
Dilip_K_Sharma_CVDilip_K_Sharma_CV
Dilip_K_Sharma_CV
 
Quebrantado vineyard
Quebrantado   vineyard Quebrantado   vineyard
Quebrantado vineyard
 
Linking wholesale and retail market – through smart grid
Linking wholesale and retail market – through smart gridLinking wholesale and retail market – through smart grid
Linking wholesale and retail market – through smart grid
 
Vodafone Mannesmann Case
Vodafone Mannesmann CaseVodafone Mannesmann Case
Vodafone Mannesmann Case
 
Indian Paper Industry Master Plan
Indian Paper Industry Master PlanIndian Paper Industry Master Plan
Indian Paper Industry Master Plan
 

Similar to ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1

การเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่ายการเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่าย
kitiya thompat
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
pui003
 
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
Wilaiporn7
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
Augusts Programmer
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
Augusts Programmer
 
สรุปฟัง
สรุปฟังสรุปฟัง
สรุปฟัง
School
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
phoom_man
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
phoom_man
 
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียนรายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
chuttiyarach
 
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
Chommy Rainy Day
 
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
guest082d95
 

Similar to ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 (20)

การเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่าย การเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่าย
 
การเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่ายการเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่าย
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
 
ภารกิจ1
ภารกิจ1ภารกิจ1
ภารกิจ1
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
Synchronous and asynchronous (1)
Synchronous and asynchronous (1)Synchronous and asynchronous (1)
Synchronous and asynchronous (1)
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
สรุปฟัง
สรุปฟังสรุปฟัง
สรุปฟัง
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียนรายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
 
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
 
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
 

ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1

  • 1. 3.1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่ายรูปแบบของการ เรียนบนเครือข่าย การเรียนบนเครือข่ายเป็นการผสมผสานเทคโนโลยีกับกระบวนการเรียนการสอนเข้า ไว้ด้วยกัน ที่ผู้เรียนสามารถเรียนและติดต่อสื่อสารกับครูผู้สอนโดยมีเครือข่าย www. เป็น ตัวกลางในการสื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย รูปแบบของการเรียนบนเครือข่าย แบ่งได้ดังนี้ 1) วิชาเอกเทศ วิชาที่เนื้อหาและทรัพยากรทั้งหมดและการสื่อสารระหว่างครูและนักเรียน การลงทะเบียนเรียนจะรวมอยู่ในนี้ด้วย เป็นการเรียนที่ไม่มีข้อจากัดทั้งเวลาและสถานที่ 2) วิชาที่ใช้สื่อบนเครือข่าย เป็นการเรียนในสถาบันโยการหาข้อมูลข่าวสาร ทางานส่งหรือ กิจกรรมจะกระทาบนเครือข่าย 3) ทัพยากรการสอนบนเครือข่าย เป็นการใช้เว็บไซด์เป็นกิจกรรมการเรียนการสอน ทรัพยา การเหล่านี้อยู่ในรูปแบบ ข้อความ ภาพกราฟิก การติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ฯลฯ
  • 2. 3.2 สรุปวิวัฒนาการของเทคโนโลยี Web 1.0 - 4.0 Web 1.0 รูปแบบไฟล์นามสกุลเป็น .html .htm ทาหน้าที่ให้ข้อมูลข่าวสาร ผู้ส่งสาร จะต้องมีความรู้พื้นฐานในการทาเว็บ ผู้รับสารมีหน้าที่รับรู้ข่าวสารเพียงอย่างเดียวไม่ สามารถโต้ตอบได้ Web 2.0 ซอฟแวร์สามารถประยุกต์ใช้กับเว็บได้ สามารถสร้าง แก้ไข แบ่งปัน และ เชื่อมโยงสู่สังคมมากขึ้น เว็บไซด์มีรูปแบบหลากหลายและเป็นหมวดหมู่ Web 3.0 พัฒนามาจาก 2.0 มีการจัดระบบเว็บไซด์ โดยเว็บไซด์จะทาหน้าที่ค้นหาข้อมูลที่ ผู้ต้องการใช้งาน และนาเสนออย่างเป็นระเบียบและถูกต้องตรงตามความต้องการ Web 4.0 คอมพิวเตอร์มีความฉลาดมากขึ้น สามารถตอบสนองด้วยการคานวณหรือการ ตัดสินใจได้ว่าจะจัดเก็บข้อมูลที่จะให้ประสิทธิภาพที่ดีที่สุดมาก่อน และรูปแบบนาเสนอที่ รวดเร็ว ข้อมูลแลกเปลี่ยนกันได้อย่างอิสระ มี application สนับสนุนกิจกรรมที่ทา
  • 3. 3.3 สรุปความแตกต่างระหว่างเทคโนโลยี Web 1.0 -4.0 • Web 1.0 เป็นการให้ข้อมูลข่าวสารแบบการสื่อสารทางเดียว โดยมีผู้สร้างเว็บหรือ webmaster เป็นผู้ กาหนดเนื้อหาเองทั้งหมด และผู้ใช้บริการเว็บไซต์ เป็นผู้รับสารโดยที่ไม่สามารถโต้ตอบหรือแก้ไขข้อมูลนั้นๆ • Web 2.0 เน้นการบริการที่หลากหลายรูปแบบ มีการตอบโต้ระหว่างเจ้าของเว็บไซต์และผู้ใช้บริการเว็บไซต์ อีกทั้งผู้เข้าใช้ได้มีส่วนร่วมต่อเว็บไซต์มากขึ้น กล่าวคือผู้เข้าใช้บริการเว็บไซต์สามารถสร้างข้อมูลของเว็บไซต์ ขึ้นมาได้เอง ทาให้ข้อมูลในเว็บไซต์นั้นมีการอัพเดทและพัฒนา ปรับปรุง อย่างรวดเร็วกลายเป็นเว็บไซต์ที่มี รูปแบบของการสื่อสารเป็นแบบสองทาง • Web 3.0 เป็นการนาแนวคิดของ Web 2.0 มาทาให้ Web นั้นสามารถจัดการข้อมูลจานวนมากๆ ให้อยู่ใน รูปแบบ Metadata ทาให้เว็บกลายเป็น Semantic Web คือ ตัว Web จะทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลและ วิเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้น แล้วให้ Tags ตามความเหมาะสมให้เราแทน โดยข้อมูลแต่ละ Tag จะมี ความสัมพันธ์กับอีก Tag หนึ่งโดยปริยาย ทาให้อินเตอร์เน็ตกลายเป็นฐานข้อมูลความรู้ขนาดใหญ่ที่ข้อมูล ทุกอย่างถูกเชื่อมต่อกันอย่างเป็นระบบมากขึ้น • Web 4.0 มีการทางานแบบ Artificial Intelligence (AI) หมายถึง การสร้างให้คอมพิวเตอร์ให้สามารถคิด ได้ มีความฉลาดมากขึ้น ในการอ่านทั้งเนื้อหาและรูปภาพ และสามารถตอบสนองด้วยการคานวณ หรือ สามารถตัดสินใจได้ว่าจะ load ข้อมูลใดที่จะให้ประสิทธิภาพดีที่สุดมาให้ก่อน และมีรูปแบบการนามาแสดง ที่รวดเร็ว
  • 4. 3.4 ยกตัวอย่างเทคโนโลยี Web 1.0 – 4.0 Web 1.0 Web 2.0 Web 3.0 Web 4.0
  • 5. ผู้จัดทา นางสาวจารุพิชญา ศรีหากุล 573050200-5 นางสาวพิมพ์ลภัส พันธ์ไพศาล 573050219-4 นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น