SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
ระบบสื่อสารข้อมูลสำาหรับเครือ
ข่ายคอมพิวเตอร์
 
เสนอ ครูจิรายุ ทองดี
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง32102 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า
ความหมายของระบบสื่อสาร
ข้อมูล
ระบบการโอนถ่ายข้อมูล หรือ การแลกเปลี่ยนข้อมูล
ระหว่างต้นทาง หรือ ปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร โมเด็ม
คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครือข่ายต่างๆ ดาวเทียม ควบคุม
การส่งและการไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยังปลาย
ทาง
องค์ประกอบของระบบสื่อสาร
ข้อมูล
1.ข่าวสาร (Message) เป็นข้อมูลรูปแบบต่างๆ
2.ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender)
3.สื่อหรือตัวกลาง (Media) เป็นสื่อหรือช่องทาง ที่นำาข้อมูล
จากต้นทางไปยังปลายทาง
4.ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver)
5.กฎ ข้อตกลง ระเบียบวิธีการรับส่ง (protocol)
ลักษณะข้อมูลที่ใช้สื่อสารใน
คอมพิวเตอร์
1.ตัวอักษร (Text) อยู่ในรูปของอักขระ ไม่มี
รูปแบบที่แน่นอน
2.ตัวเลข (Number) ข้อมูลตัวเลขที่สื่อสารใน
คอมพิวเตอร์ ไม่ได้ใช้ค่าตัวเลขที่ส่งเข้าใน
คอมพิวเตอร์ แต่ต้องแปลงเป็นเลขฐานสอง
3.รูปภาพ (Image) เป็นข่าวสารที่อยู่ในภาพ
แบบต่างๆ
ทิศทางการสื่อสารข้อมูล
Simplex : สื่อสารแบบซิมเพล็กซ์(ทาง
เดียว)
เป็นการสื่อสารที่ผู้ให้ข้อมูลก็จะให้ข้อมูลเท่านั้น
ส่วนผู้รับข้อมูลก็จะรับข้อมูลเท่านั้น
ตัวอย่างของการสื่อสารแบบซิมเพล็กซ์ เช่น
เสาอากาศที่บ้านกับเสาส่งสัญญาณ
ทิศทางการสื่อสารข้อมูล
Half-Duplex : สื่อสารแบบฮาล์ฟดูเพล็
กซ์(ทางใดทางหนึ่ง)
เป็นการสื่อสารที่ผู้ให้ข้อมูลสามารถรับข้อมูลได้
และผู้รับข้อมูลก็สามารถให้ข้อมูลได้เหมือนกัน
แต่จะทำาพร้อมกันไม่ได้
ตัวอย่างของการสื่อสารแบบฮาล์ฟดูเพล็กซ์
เช่น วิทยุสื่อสารของตำารวจที่
ทิศทางการสื่อสารข้อมูล
Full-Duplex : สื่อสารแบบฟูลดูเพล็กซ์(แบบ
สองทิศทาง)
เป็นการสื่อสารที่ผู้ให้สามารถให้ข้อมูลและรับ
ข้อมูล ณ เวลาเดียวกันได้ และผู้รับก็สามารถรับ
ข้อมูลและให้ข้อมูล ณ เวลาเดียวกันได้
ตัวอย่างของการสื่อสารแบบฟูลดูเพล็กซ์ เช่น
โทรศัพท์มือถือที่สามารถพูดพร้อม ๆ กันได้
โพรโทคอล
คือ ข้อกำาหนดหรือข้อตกลงที่ใช้ควบคุม
การสื่อสารข้อมูล ในเครือข่ายที่ใช้
โปรโตคอลชนิดเดียวกัน ซึ่งสามารถติดต่อ
สื่อสารระหว่างกันได้
องค์กรที่เกี่ยวข้องได้กำาหนดโปรโตคอลที่
เรียกว่า
มาตรฐานการจัดการระบบการเชื่อมต่อ
มาตรฐานโพรโทคอล
Physical
เป็นชั้นล่างสุดของการสื่อสาร ทำาหน้าที่
ส่ง-รับข้อมูลจริง จากช่องทางการสื่อสาร
ระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์
มาตรฐานสำาหรับเลเยอร์ชั้นนี้จะกำาหนดว่า
แต่ละคอนเนคเตอร์
มีกี่พิน แต่ละพินทำาหน้าที่อะไรบ้าง ใช้
มาตรฐานโพรโทคอล
Data Link
เป็นผู้ควบคุมความผิดพลาดโดย ข้อมูลที่ส่ง
ออกเป็นแพ็กเกจ 
อีกหน้าที่หนึ่งของเลเยอร์ชั้นนี้คือ ป้องกันไม่
ให้เครื่องส่งทำาการส่งข้อมูลเร็วจนเกิดขีด
ความสามารถของเครื่องผู้รับ
มาตรฐานโพรโทคอล
Data Link
ถ้าผู้รับได้รับข้อมูลถูกต้องก็จะส่งสัญญาณ
ACK ให้กับผู้ส่ง
ถ้าผู้ส่งไม่ได้รับสัญญาณ ACK หรือได้รับ
สัญญาณ NAK ผู้ส่งก็อาจจะทำาการส่งข้อมูล
ไปให้ใหม่ 
ACK คือ Acknowledge
มาตรฐานโพรโทคอล
Network
เป็นชั้นที่กำาหนดเส้นทางการของข้อมูลที่
ส่ง-รับใน ระหว่างต้นทางและปลายทาง 
ซึ่งแน่นอนว่าในการสื่อสารข้อมูลผ่าน
เครือข่ายการสื่อสารจะต้องเส้นทางการ
รับ-ส่งข้อมูลมากกว่า  1 เส้นทาง 
ดังนั้นเลเยอร์ชั้นนี้จะมีหน้าที่เลือกเส้นทาง
มาตรฐานโพรโทคอล
Transport(Host-to-Host)
เป็นการสื่อสารกันระหว่างต้นทางและ
ปลายทางกันจริง
เลเยอร์ชั้น  Transport  จะทำาหน้าที่
ตรวจสอบว่าข้อมูลที่ส่งว่าไปถึงปลาย
ทางจริง หรือไม่  ดังนั้นการกำาหนด
มาตรฐานโพรโทคอล
Session  
ทำาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้งานกับ
คอมพิวเตอร์เครื่อง
โดยผู้ใช้จะใช้คำาสั่งป้อนเข้าไปใน
ระบบ  ในการสร้างการเชื่อมโยงนี้ผู้ใช้
จะต้องกำาหนดรหัสตำาแหน่งของจุด
มาตรฐานโพรโทคอล
Presentation  
ทำาหน้าที่เหมือนบรรณารักษ์  คือคอย
รวบรวมข้อความ(Text) และแปลง
รหัส หรือแปลงรูปของข้อมูล ให้เป็นรูป
แบบการสื่อสารเดียวกัน เพื่อช่วยลด
ปัญหาต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ใช้งาน
ในระบบ
มาตรฐานโพรโทคอล
Application  
เป็นชั้นที่ใช้ติดต่อกันระหว่างผู้ใช้ แต่
อย่างไรก็ตามการที่เครื่องคอมพิวเตอร์
หลายๆ เครื่องจะติดต่อสื่อสารกันได้
ในแต่ละเลเยอร์ของแต่ละเครื่องจะต้องใช้
โปรโตคอลแบบเดียวกัน หรือถ้าใช้
โปรโตคอลต่างกันก็ต้องการแปลง
โครงสร้างเครือข่าย
โครงสร้างเครือข่ายแบบบัส (bus 
topology)
โครงสร้างเครือข่ายแบบบัส จะประกอบ
ด้วย สายส่งข้อมูลหลัก ที่ใช้ส่งข้อมูล
ภายในเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละ
เครื่อง จะเชื่อมต่อเข้ากับสายข้อมูลผ่านจุด
เชื่อมต่อ เมื่อมีการส่งข้อมูลระหว่างเครื่อง
โครงสร้างเครือข่าย
ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบบัส
ใช้สื่อนำาข้อมูลน้อย ประหยัดค่าใช้จ่าย และ
ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง
เสียก็จะไม่ส่งผลต่อการทำางานของระบบโดย
รวม
ข้อเสียของการเชื่อมต่อแบบบัส
การตรวจจุดที่มีปัญหา กระทำาได้ค่อนข้าง
โครงสร้างเครือข่าย
โครงสร้างเครือข่ายแบบวงแหวน
(ring topology)
โครงสร้างเครือข่ายแบบวงแหวน มีการ
เชื่อมต่อกันเป็น
การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายนี้ก็จะเป็น
วงกลมด้วย เช่นกัน ทิศทางการส่งข้อมูลจะ
เป็นทิศทางเดียวกันเสมอ จนถึงปลายทาง
โครงสร้างเครือข่าย
ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบวงแหวน
ใช้สายเคเบิ้ลน้อย และถ้าตัดเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่เสียออกจากระบบ ก็จะไม่ส่ง
ผลต่อการทำางานของระบบเครือข่ายนี้ และ
จะไม่มีการชนกันของข้อมูลที่แต่ละเครื่อง
ส่ง
โครงสร้างเครือข่าย
โครงสร้างเครือข่ายแบบดาว (star 
topology)
โครงสร้างเครือข่ายแบบดาว ภายในเครือ
ข่ายจะต้องมีจุดศูนย์กลางในการควบคุม
การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หรือ ฮับ (hub) 
การสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์
ต่างๆ จะสื่อสารผ่านฮับก่อนที่จะส่งข้อมูล
โครงสร้างเครือข่าย
ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบดาว
ถ้าต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่
ก็สามารถทำาได้ง่ายและไม่กระทบต่อเครื่อง
คอมพิวเตอร์อื่นๆ ในระบบ
ข้อเสียของการเชื่อมต่อแบบดาว
ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะค่อนข้าง
สูง และเมื่อฮับไม่ทำางาน การสื่อสารของ
โครงสร้างเครือข่าย
โครงสร้างเครือข่ายแบบเมช (mesh 
topology)
โครงสร้างเครือข่ายแบบเมช มีการทำางาน
โดยเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะมีช่อง
สัญญาณจำานวนมาก เพื่อที่จะเชื่อมต่อกับ
เครื่องอื่นๆ
เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะส่งข้อมูล
โครงสร้างเครือข่าย
โครงสร้างเครือข่ายแบบผสม
(hybrid topology)
เป็นโครงสร้างเครือข่ายที่ผสมผสาน
ความสามารถของโครงสร้างเครือข่าย
คอมพิวเตอร์หลายๆ แบบรวมกัน
มีโครงสร้างแตกต่างกันมาเชื่อมต่อกัน
ประเภทของระบบเครือข่าย
LAN (Local Area Network):เครือข่ายระดับ
ท้องถิ่น
 
เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้งานอยู่ในบริเวณไม่
กว้าง อาจใช้อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรือ
อาคารที่อยู่ใกล้กัน
การส่งข้อมูลสามารถทำาได้ด้วยความเร็วสูง
และมีข้อผิดพลาดน้อย
ประเภทของระบบเครือข่าย
MAN(Metropolitan Area Network):เครือข่าย
ระดับเมือง 
เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้ภายในเมืองหรือ
จังหวัดเท่านั้น การเชื่อมโยงจะต้องอาศัยระบบ
บริการเครือข่ายสาธารณะ จึงเป็นเครือข่ายที่
ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกลและต้องการ
เชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน
ประเภทของระบบเครือข่าย
WAN(Wide Area Network):เครือข่ายระดับ
ประเทศ
เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง
เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่
อยู่ห่างไกลกันเข้าด้วยกัน อาจจะต้องเป็นการ
ติดต่อสื่อสารกันในระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่ว
โลกก็ได้
ในการเชื่อมการติดต่อนั้น จะต้องมีการต่อเข้ากับ
ระบบสื่อสารขององค์การโทรศัพท์
เพราะ จะเป็นการส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ ใน
วิธีการส่งข้อมูลในระบบ
สื่อสารข้อมูล
แบบขนาน
การส่งข้อมูลแบบขนานเป็นการส่งข้อมูลที
ละ 8 บิต จากอุปกรณ์ส่งไปอุปกรณ์รับ
ตัวกลางต้องมีทางให้ข้อมูลผ่านอย่างน้อย
8ทาง
เป็นสายแบบขนาน ระยะของสายไม่ควร
เกิน 100 ฟุต เพราะอาจทำาให้เกิดปัญหา
วิธีการส่งข้อมูลในระบบ
สื่อสารข้อมูล
แบบอนุกรม
การส่งข้อมูลแบบอนุกรมเป็นการส่งข้อมูล
ทีละ 1 บิต ระหว่างจุดส่ง-รับ จะช้ากว่าแบบ
ขนาน และ ต้องการตัวกลางเพียงช่องเดียว
ค่าใช้จ่ายจะถูกกว่าแบบขนานสำาหรับการ
ส่งระยะทางไปไกลๆ
การส่งข้อมูลเริ่มโดยข้อมูลแบบขนานจะ
รูปแบบการสื่อสารข้อมูล
แบบไม่ประสานจังหวะ(asynchronous
transmission)
เป็นการส่งข้อมูลโดยข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่มี
จังหวะการส่งข้อมูลแต่จะส่งเป็นชุดๆ และมี
ช่องว่างอยู่ระหว่างข้อมูลเพื่อใช้แบ่งข้อมูลเป็น
ชุดๆ เมื่อเริ่มต้นส่งข้อมูลแต่ละชุดจะมีสีญ
ญาณบอกจุดเริ่มต้นของข้อมูลขนาด 1 และมี
รูปแบบการสื่อสารข้อมูล
แบบไม่ประสานจังหวะ(asynchronous
transmission)
ถ้าขนาดข้อมูลแต่ละชุดมีขนาด 8 บิต
ลักษณะของการส่งข้อมูลจะมีลำาดับดังนี้คือ
เริ่มต้นขนาด 1 บิต ข้อมูล 8 บิต และสิ้นสุด 1 
บิต
ตัวอย่างการส่งข้อมูลแบบไม่ประสาน
รูปแบบการสื่อสารข้อมูล
แบบประสานจังหวะ(synchronous
transmission)
เป็นการส่งข้อมูลที่มีลักษณะต่อเนื่องกัน
อย่างเป็นจังหวะ โดยใช้นาฬิกาเป็นตัว
บอกจังหวะ การส่งข้อมูลวิธีนี้จะไม่มีช่อง
ว่างระหว่างข้อมูลและไม่มีสัญญาณบอกจุด
เริ่มต้นและจุดสิ้นสุด การส่งข้อมูลแบบ
สื่อกลางนำาเข้าข้อมูลแบบมี
สาย(WIRED MEDIA)
สายคู่บิตเกลียว(twisted-paircable)
มีลักษณะคล้ายสายไฟทั่วไป จำานวนสายจะมี
เป็นคู่และมีการพันเป็นเกลียวเพื่อลดสัญญาณ
รบกวนในการส่งข้อมูลทำาให้ส่งได้ไกลกว่า
ปกติ มีความถี่ในการส่งข้อมูลประมาณ 100
Hz-5 MHz
มี 2 ลักษณะ คือ แบบไม่มีชั้นโลหะห่อหุ้มและ
สื่อกลางนำาเข้าข้อมูลแบบมี
สาย(WIRED MEDIA)
สายโคแอกเชียล(coaxial cable)
มีความถี่ในการส่งข้อมูลประมาณ 100-500
MHz มีความเร็วในการส่งข้อมูลและมี
ราคาสูงกว่าสายคู่บิดเกลียว มีลักษณะเป็น
สายนำาสัญญาณที่มีฉนวนหุ้มสลับกับตัว
โลหะ ตัวนำาโลหะชั้นในทำาหน้าที่ส่ง
สัญญาณ ส่วนตัวนำาโลหะชั้นนอกทำาหน้าที่
สื่อกลางนำาเข้าข้อมูลแบบมี
สาย(WIRED)
สายใยแก้วนำาแสง(optical fiber
cable)
สายสัญญาณทำาจากใยแก้วหรือสารนำา
แสงห่อหุ้มวัสดุป้องกันแสง
สามารถส่งข้อมูลเท่ากับความเร็วแสง ใช้
ในการส่งข้อมูลที่มีความถี่สูงสัญญาณที่ส่ง
ผ่านสายใยแก้วนำาแสง คือแสง และ
สื่อกลางนำาเข้าข้อมูลแบบไร้
สาย(WIRELESS)
สัญญาณวิทยุ(radio wave)
สัญญาณที่มีการส่งข้อมูลเป็นสัญญาณ
คลื่นไปในอากาศไปยังตัวรับสัญญาณ จึง
ทำาให้ถูกสภาพแวดล้อมรบกวนข้อมูลได้
ในช่วงที่สภาพอากาศไม่ดี การส่ง
สัญญาณวิธีนี้จะช่วยส่งข้อมูลในระยะทาง
ไกล หรือในสภาพภูมิประเทศที่ไม่เอื้อ
สื่อกลางนำาเข้าข้อมูลแบบไร้
สาย(WIRELESS)
ไมโครเวฟภาคพื้นดิน(terrestrial
microwave)
การสื่อสารนี้จะมีการส่งสัญญาณ
ไมโครเวฟไปในอากาศไปยังเสารับข้อมูล
ในกรณีที่ระยะทางห่างกันมาก หรือมีสิ่ง
กีดขวางสัญญาณ จะต้องใช้สถานีทวน
สัญญาณ เพื่อการส่งสัญญาณเป็นช่วงๆ
สื่อกลางนำาเข้าข้อมูลแบบไร้
สาย(WIRELESS)
การสื่อสารผ่านดาวเทียม(satellite
communication)   
เป็นการสื่อสารที่ส่งสัญญาณข้อมูลไปยัง
ดาวเทียม โดยดาวเทียมจะเป็นสถานีทวน
สัญญาณ เพื่อจัดส่งสัญญาณต่อไปยัง
สถานีภาคพื้นดิน ระยะทางจากโลกถึง
ดาวเทียมเป็นระยะทางที่ไกลมาก ทำาให้
 
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสาร
ข้อมูลคอมพิวเตอร์
โมเด็ม(Modem)
โมเด็มเป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำาหน้าที่แปลง
สัญญาณแอนะล็อก ให้เป็นสัญญาณดิจิทัล
เมื่อข้อมูลถูกส่งมายังผู้รับ และแปลง
สัญญาณดิจิทัลให้เป็นแอนะล็อกเมื่อ
ต้องการส่งข้อมูลไปบนช่องสื่อสาร 
โมเด็มที่ใช้ในปัจจุบันมี 2 ประเภท คือ
 
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสาร
ข้อมูลคอมพิวเตอร์
 โมเด็ม(Modem)
โมเด็มแปลงดิจิทัลเป็นแอนะล็อก เรียกว่า
มอดูเลชัน
โมเด็ม ทำาหน้าที่ มอดูเลเตอร์
โมเด็มแปลงแอนะล็อกเป็นดิจิทัล เรียกว่า ดี
มอดูเลชัน
 
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสาร
ข้อมูลคอมพิวเตอร์
เกตเวย์(Gateway)
เกตเวย์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อีกอย่าง
หนึ่งที่ช่วยในการสื่อสารข้อมูล
คอมพิวเตอร์ หน้าที่หลักคือช่วยให้เครือ
ข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่ายหรือมากกว่า
ซึ่งมีลักษณะไม่เหมือนกันสามารถติดต่อ
สื่อสารกันได้เหมือนเป็นเครือข่ายเดียวกัน
 
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสาร
ข้อมูลคอมพิวเตอร์
เราเตอร์(Router)
เป็นอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายที่ทำาหน้าที่
เป็นตัวเชื่อมโยงให้เครือข่ายที่มีขนาดหรือ
มาตรฐานในการส่งข้อมูลต่างกัน สามารถ
ติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ เรา
เตอร์จะทำางานอยู่ในชั้น Network หน้าที่
ของเราเตอร์ก็คือ ปรับโปรโตคอล ที่ต่าง
 
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสาร
ข้อมูลคอมพิวเตอร์
บริดจ์(Bridge)
บริดจ์มีลักษณะคล้ายเครื่องขยายสัญญาณ
บริดจ์จะทำางานอยู่ในชั้น DataLink บริดจ์
ทำางานคล้ายเครื่องตรวจตำาแหน่งของ
ข้อมูล โดยบริดจ์จะรับข้อมูลจากต้นทาง
และ ส่งให้ปลายทาง โดยที่ไม่มีการแก้ไข
หรือเปลี่ยนแปลงใดๆ แก่ข้อมูล บริดจ์
 
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสาร
ข้อมูลคอมพิวเตอร์
รีพีตเตอร์(Repeater)
รีพีตเตอร์ เป็นเครื่องทบทวนสัญญาณ
ข้อมูลในการส่งสัญญาณข้อมูลในระยะ
ทางไกล ๆ สำาหรับสัญญาณแอนะล็อกจะ
ต้องมีการขยายสัญญาณ ข้อมูลที่เริ่มจะ
เบาบางลงเนื่องจากระยะทาง และสำาหรับ
สัญญาณดิจิทัลก็จะต้องมีการทบทวน
จัดทำาโดย
1.นายกรณ์ เอนกวรางกูร ม.5/5 เลขที่
12
2.นายพฤทธิ์ เตชะวชิรศิริ ม.5/5 เลขที่
13
3.นายสีหนาถ วงศ์ศรีชนาลัย ม.5/5
เลขที่ 14
4.นายณัฐภัทร พวงพิพัฒน์ ม.5/5 เลข
ขอบคุณที่รับชมครับ

More Related Content

What's hot

ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kru.Mam Charoensansuay
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ครู อินดี้
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kru.Mam Charoensansuay
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6ครู อินดี้
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Piyanoot Ch
 
Atcharaporn nutk 1550900458
Atcharaporn nutk 1550900458Atcharaporn nutk 1550900458
Atcharaporn nutk 1550900458Atchza PartyClub
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1Tharathep Chumchuen
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑patchu0625
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัสArt Asn
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่  2.1ใบงานที่  2.1
ใบงานที่ 2.1Meaw Sukee
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศครู อินดี้
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลนายนันทวัฒน์ เสนาช่วย
 

What's hot (19)

ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เบญ
เบญเบญ
เบญ
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Atcharaporn nutk 1550900458
Atcharaporn nutk 1550900458Atcharaporn nutk 1550900458
Atcharaporn nutk 1550900458
 
Cai
CaiCai
Cai
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่  2.1ใบงานที่  2.1
ใบงานที่ 2.1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
 
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
 

Similar to ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์Manas Panjai
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลAqilla Madaka
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8ratiporn555
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายสำหรับคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายสำหรับคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายสำหรับคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายสำหรับคอมพิวเตอร์janemeeee
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5Aomsin Kittibullungkul
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลScholarBas Tanaporn
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลScholarBas Tanaporn
 
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารสื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารKhunakon Thanatee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์Por Oraya
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1อรยา ม่วงมนตรี
 
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศMk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศKanokorn Thodsaphon
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารTuaLek Kitkoot
 
Computer_m2_datacommunication
Computer_m2_datacommunicationComputer_m2_datacommunication
Computer_m2_datacommunicationPhuwit Innma
 
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูลความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูลPinku Inthira
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsmileoic
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารMapowzee Dahajee
 

Similar to ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายสำหรับคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายสำหรับคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายสำหรับคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายสำหรับคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารสื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศMk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
Computer_m2_datacommunication
Computer_m2_datacommunicationComputer_m2_datacommunication
Computer_m2_datacommunication
 
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูลความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์