SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
DESIGNING WEB-BASED LEARNING ENVIRONMENT
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยีการเรียนรู้บนเครือข่าย
237318-2559
ความหมาย และรูปแบบ
ของการเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่าย เป็นบทเรียนที่นาเสนอผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยอาศัย
คุณลักษณะของสื่อที่สามารถนาเสนอบทเรียนแบบข้อความหลายมิติ (Hypertext) ที่ประกอบด้วย
ข้อมูล ที่เรียกว่า โนด (Node) หลักและโนดย่อย รวมทั้งการเชื่อมโยงแต่ละโนด ที่เรียกว่า การ
เชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlinks) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา
โดยมีลักษณะที่ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กันโดยผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกัน
อิศรา ก้านจักร, 2557
ความหมาย และรูปแบบ
ของการเรียนบนเครือข่าย
รูปแบบการจัดการเรียนรู้บนครือข่าย
Parson (1997, อ้างถึงใน กิดานันท์มะลิทอง, 2543 และสรรรัชต์ ห่อไพศาล, 2544 และ ศิริพจน์มะโนดี,
2544) ได้แบ่งการเรียนบนเครือข่าย เป็น 3 รูปแบบ ดังนี้
วิชาเอกเทศ (Stand-alone course หรือ Web based course) เป็นวิชาที่เนื้อหาและทรัพยากรทั้งหมดจะมีการ
นาเสนอบนเครือข่ายรวมถึงการสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียนจะผ่านทางคอมพิวเตอร์ส่วนมากแล้วจะใช้ในการศึกษา
ทางไกล
วิชาที่ใช้สื่อบนเครือข่ายเสริม (Web supported course) ทรัพยากรหลายๆ อย่าง เช่นการอ่านเนื้อหาที่เกี่ยวกับ
บทเรียนและข้อมูลเสริม จะอ่านจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยผู้สอนอาจกาหนดให้หรือผู้เรียนหาเพิ่มเติม มีการ
ทางานและการติดต่อสื่อสารบนเครือข่าย
ทรัพยากรการสอนบนเครือข่าย (Web pedagogical resources) เป็นการนาเว็บไซต์ที่มีข้อมูลเกี่ยวข้องกับ
เนื้อหาวิชามาใช้เป็นส่วนหนึ่งของวิชานั้นหรือใช้เป็นกิจกรรมการเรียนของวิชา มีหลากหลายรูปแบบ เช่น ข้อความ
ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียง การติดต่อระหว่างผู้เรียนกับเว็บไซต์ ฯลฯ
Web 1.0
Read Only, Static Data
with simple markup
Web 2.0
Read/Write, Dynamic Data
through Web Services
Web 3.0
Read/Write/Relate,
Data with structured
Metadata + managed
identity
WEB 4.0
วิวัฒนาการของเทคโนโลยี
Web 1.0 - 4.0
เป็นเว็บในยุคเริ่มต้นและยังคงมีให้เห็นใน
ปัจจุบัน ไฟล์เป็นนามสกุลเ .htm และ .html
ทาหน้าที่ให้ข้อมูลข่าวสารในแบบสื่อสารทาง
เดียว เจ้าของเว็บไซต์หรือผู้ส่งสารจะเป็นผู้
กาหนดเนื้อหาเองทั้งหมด และต้องมีความรู้
พื้นฐานการทาเว็บและยากที่จะแบ่งปันส่งต่อ
เนื้อหาออกไป ซึ่งผู้ใช้หรือผู้รับสารมีหน้าที่
รับรู้ข่าวสารเพียงอย่างเดียวไม่สามารถ
โต้ตอบได้
ให้ความสาคัญกับผู้เข้าชมเว็บไซต์ โดยที่ผู้เข้าชมเว็บไซต์จะมี
ส่วนร่วมต่อเว็บไซต์มากขึ้น สามารถสร้างข้อมูลของเว็บไซต์
ขึ้นมาได้เอง หรือสามารถกาหนดคาสาคัญของเว็บไซต์ที่
เกี่ยวข้องข้อมูล (tag content) ทาให้ข้อมูลในเว็บไซต์นั้นมีการ
พัฒนา ปรับปรุงได้อย่างรวดเร็ว จึงกลายเป็นเว็บไซต์ ที่มี
รูปแบบของการสื่อสารเป็นแบบสองทาง
สร้างเครื่องมือช่วยวิเคราะห์ความต้องการของมนุษย์ เชื่อมโยง
เนื้อหาที่มีความสัมพันธ์กันเป็นเครือข่ายเดียวทั่วโลก มีการ
พัฒนารูปแบบที่เป็นมาตรฐานใช้ร่วมกันในแบบเอกซ์เอ็มแอล
(XML) พร้อมกับมีการแก้ไขปัญหาของข้อมูลที่ไม่มีคุณภาพและ
พัฒนาระบบการจัดการข้อมูลในเว็บให้ดีขึ้น เพื่อให้ผู้เยี่ยมชม
สามารถเขัาถึงเนื้อหาของเว็บได้ดีขึ้นและตรงตามความต้องการ
“A Symbiotic web” คือ เว็บที่ทางานแบบ
Artificial Intelligence (AI) ที่ฉลาดมากยิ่งขึ้น
คอมพิวเตอร์สามารถคิดได้ ในการอ่านทั้งเนื้อหา
ข้อความ และรูปภาพ หรือวีดีโอ สามารถที่จะ
ตอบสนองหรือตัดสินใจได้ว่าจะใช้ข้อมูลอะไร จาก
ไหน ที่จะให้ประสิทธิภาพดีที่สุดมาให้ผู้ใช้งานก่อน
ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ Ubiquity,
Identity และ Connection กล่าวคือ จะพบได้
ทุกหนทุกแห่ง ไม่จากัดว่าจะเป็น Device ใด
สามารถระบุตัวตนของผู้ใช้งานได้อย่างแน่ชัด
รวมถึงอาจจะ Integrate ไปกับอุปกรณ์อื่นๆ ที่
ช่วยในการระบุตัวตน
ความแตกต่างระหว่าง
เทคโนโลยี Web 1.0 - 4.0
Web 1.0 Web 2.0 Web 3.0 Web 4.0
แก้ไขอัพเดตข้อมูลต่างๆในหน้าเว็บ
ได้เฉพาะ Webmaster หรือคน
ดูแลเว็บไซต์เท่านั้น
สามารถสื่อสารตอบโต้ได้ทั้ง
ผู้สร้างเว็บและผู้ใช้เว็บ
สามารถคาดเดาเหตุการณ์ต่างๆ
และสื่อสารโต้ตอบได้
สามารถตอบสนองความ
ต้องการของคนโดยการวิเคราะห์
ทางเลือกที่ดีที่สุดให้ (IPA)
การโพสต์กระทู้ต่าง ๆ สร้างเพื่อ
สื่อสารโต้ตอบทาได้ยาก ผู้รับสาร
มีหน้าที่รับสารอย่างเดียวโต้ตอบ
กลับไม่ได้ เนื่องจากเป็นการ
สื่อสารทางเดียว
สามารถสร้างปรากฏการณ์แบบ
ปากต่อปากได้ดังไฟลามทุ่ง จาก
การแนะนาผ่าน Blog
ใช้ AI มาช่วยในการสร้าง tag
เพิ่มเติมจากเจ้าของ content
สร้าง tag เอง ทาให้ค้นหาตาม
ความต้องการได้ง่าย
สามารถเรียนรู้และจดจารูปแบบ
พฤติกรรมการใช้งานของผู้ใช้แต่
ละคน และทาการวิเคราะห์
สืบค้น ประมวลผล นาเสนอ
เนื้อหาและข้อมูลให้ตรงตามความ
ต้องการของผู้ใช้มากที่สุด
ให้ข้อมูลความรู้แบบตายตัว การ
เปลี่ยนแปลงแก้ไขขึ้นอยู่กับ
Webmaster
สามารถต่อยอดข้อมูลต่างๆ
ออกไปได้ไม่จากัด และข้อมูลจะถูก
ตรวจสอบคัดกรองอยู่ตลอด
ตัวอย่างเช่น Wikipedia
สามารถอธิบายข้อมูลด้วยข้อมูล
โดยจะทาการคานวณว่าข้อมูลที่
เราใช้งานอยู่มีข้อมูลใดสัมพันธ์กัน
ซึ่งยังสามารถอธิบายข้อมูลตัว
มันเองได้
เป็น Learning Web โลกของ
การเรียนรู้บนสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
จะทาให้เรียนรู้ได้ด้วยตัวมันเอง
และพัฒนา การคิดวิเคราะห์ได้
ด้วยตรรกวิทยา
ตัวอย่างเทคโนโลยี Web 1.0 - 4.0
Web 1.0: Read-Only Web Web 2.0: Social Community Explosion
Web 3.0: Immersive and virtual web Web 4.0: Ultra Intelligent Electronic Agents
เอกสารอ้างอิง
นัฐวุฒิ.(2558). เทคโนโลยีเว็บพัฒนาการของเว็บไซต์ เว็บ 1.0, เว็บ 2.0, เว็บ 3.0, เว็บ 4.0. สืบค้นเมื่อ
17 มกราคม 2560 ,จาก http://www.anantasook.com/web-technology-future-
internet- web3-0/
อิสรา ก้านจักรและคณะ.(2560). เอกสารประกอบการสอนวิชา 237218 การออกแบบสิ่งแวดล้อมการ
เรียนรู้บนเครือข่าย.สืบค้นเมื่อ 17 มกราคม 2560, จาก https://classroom.google.com/c
/Mzk1OTM3NDE2M1pa
จัดทาโดย
นางสาวบัณฑิตา ทุมมา 573050211-0
นางสาวอติกานต์ ติงชาติ 573050672-4
สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา ชั้นปีที่ 3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
นาเสนอ
ผศ.ดร.จารุณี ซามาตย์ และ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร
รายวิชา 237318 DESIGNING WEB-BASED LEARNING ENVIRONMENT
การออกแบบสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่าย

More Related Content

Viewers also liked

Artifact 2 cyberbullying
Artifact 2 cyberbullyingArtifact 2 cyberbullying
Artifact 2 cyberbullyinghgraffam
 
Tabulação guapiara - 2012 - gráficos
Tabulação   guapiara -  2012 - gráficosTabulação   guapiara -  2012 - gráficos
Tabulação guapiara - 2012 - gráficosToniel Carvalho
 
Feliz día de la mujer
Feliz día de  la mujerFeliz día de  la mujer
Feliz día de la mujerSulay Torres
 
Plantilla Marta.H
Plantilla Marta.HPlantilla Marta.H
Plantilla Marta.Hmarta64
 
A minha vida é do mestre - lazaro
A minha vida é do mestre - lazaroA minha vida é do mestre - lazaro
A minha vida é do mestre - lazaroLeandro Lima
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...Atigarn Tingchart
 
Tema 17. MICROBIOLOGÍA APLICADA
Tema 17. MICROBIOLOGÍA APLICADATema 17. MICROBIOLOGÍA APLICADA
Tema 17. MICROBIOLOGÍA APLICADAjosemanuel7160
 
Geometry mathematics geometry
Geometry mathematics geometryGeometry mathematics geometry
Geometry mathematics geometrymicheleandnien
 
أطفـــال الشوارع
أطفـــال الشوارعأطفـــال الشوارع
أطفـــال الشوارعgroupdsri5
 
André valadão - vou crer
André valadão -  vou crerAndré valadão -  vou crer
André valadão - vou crerLeandro Lima
 
Process Entitlement and Organic Optimization - New York Business Process Pro...
Process Entitlement and Organic Optimization -  New York Business Process Pro...Process Entitlement and Organic Optimization -  New York Business Process Pro...
Process Entitlement and Organic Optimization - New York Business Process Pro...Samuel Chin, PMP, CSM
 
Презентація серії документів ISACA з впровадження Європейської Моделі Кібербе...
Презентація серії документів ISACA з впровадження Європейської Моделі Кібербе...Презентація серії документів ISACA з впровадження Європейської Моделі Кібербе...
Презентація серії документів ISACA з впровадження Європейської Моделі Кібербе...Alexey Yankovski
 
Henderson.Jan.The Redesigned Curriculum
Henderson.Jan.The Redesigned CurriculumHenderson.Jan.The Redesigned Curriculum
Henderson.Jan.The Redesigned CurriculumFaye Brownlie
 

Viewers also liked (17)

178 gloriosa paz
178   gloriosa paz178   gloriosa paz
178 gloriosa paz
 
Artifact 2 cyberbullying
Artifact 2 cyberbullyingArtifact 2 cyberbullying
Artifact 2 cyberbullying
 
Tabulação guapiara - 2012 - gráficos
Tabulação   guapiara -  2012 - gráficosTabulação   guapiara -  2012 - gráficos
Tabulação guapiara - 2012 - gráficos
 
Feliz día de la mujer
Feliz día de  la mujerFeliz día de  la mujer
Feliz día de la mujer
 
Plantilla Marta.H
Plantilla Marta.HPlantilla Marta.H
Plantilla Marta.H
 
A minha vida é do mestre - lazaro
A minha vida é do mestre - lazaroA minha vida é do mestre - lazaro
A minha vida é do mestre - lazaro
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...
 
RASHAD NEW CV (1)
RASHAD NEW CV (1)RASHAD NEW CV (1)
RASHAD NEW CV (1)
 
Tema 17. MICROBIOLOGÍA APLICADA
Tema 17. MICROBIOLOGÍA APLICADATema 17. MICROBIOLOGÍA APLICADA
Tema 17. MICROBIOLOGÍA APLICADA
 
Geometry mathematics geometry
Geometry mathematics geometryGeometry mathematics geometry
Geometry mathematics geometry
 
Canes sin Supervisión - Proyectos Creativos
Canes sin Supervisión - Proyectos CreativosCanes sin Supervisión - Proyectos Creativos
Canes sin Supervisión - Proyectos Creativos
 
أطفـــال الشوارع
أطفـــال الشوارعأطفـــال الشوارع
أطفـــال الشوارع
 
Bloque IV
Bloque IVBloque IV
Bloque IV
 
André valadão - vou crer
André valadão -  vou crerAndré valadão -  vou crer
André valadão - vou crer
 
Process Entitlement and Organic Optimization - New York Business Process Pro...
Process Entitlement and Organic Optimization -  New York Business Process Pro...Process Entitlement and Organic Optimization -  New York Business Process Pro...
Process Entitlement and Organic Optimization - New York Business Process Pro...
 
Презентація серії документів ISACA з впровадження Європейської Моделі Кібербе...
Презентація серії документів ISACA з впровадження Європейської Моделі Кібербе...Презентація серії документів ISACA з впровадження Європейської Моделі Кібербе...
Презентація серії документів ISACA з впровадження Європейської Моделі Кібербе...
 
Henderson.Jan.The Redesigned Curriculum
Henderson.Jan.The Redesigned CurriculumHenderson.Jan.The Redesigned Curriculum
Henderson.Jan.The Redesigned Curriculum
 

Similar to ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยีการเรียนรู้บนเครือข่าย

การเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่าย การเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่าย Cholticha New
 
การเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่ายการเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่ายkitiya thompat
 
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1Cholticha New
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1Pymlapas Punpaisan
 
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)guest082d95
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอguest082d95
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้phoom_man
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้phoom_man
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้phoom_man
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียนรายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียนchuttiyarach
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกNattapon
 

Similar to ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยีการเรียนรู้บนเครือข่าย (20)

Chap1
Chap1Chap1
Chap1
 
การเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่าย การเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่าย
 
การเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่ายการเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่าย
 
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
 
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียนรายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
 
ตัว
ตัวตัว
ตัว
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
 

ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยีการเรียนรู้บนเครือข่าย

  • 1. DESIGNING WEB-BASED LEARNING ENVIRONMENT ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยีการเรียนรู้บนเครือข่าย 237318-2559
  • 2. ความหมาย และรูปแบบ ของการเรียนบนเครือข่าย การเรียนบนเครือข่าย เป็นบทเรียนที่นาเสนอผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยอาศัย คุณลักษณะของสื่อที่สามารถนาเสนอบทเรียนแบบข้อความหลายมิติ (Hypertext) ที่ประกอบด้วย ข้อมูล ที่เรียกว่า โนด (Node) หลักและโนดย่อย รวมทั้งการเชื่อมโยงแต่ละโนด ที่เรียกว่า การ เชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlinks) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา โดยมีลักษณะที่ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กันโดยผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกัน อิศรา ก้านจักร, 2557
  • 3. ความหมาย และรูปแบบ ของการเรียนบนเครือข่าย รูปแบบการจัดการเรียนรู้บนครือข่าย Parson (1997, อ้างถึงใน กิดานันท์มะลิทอง, 2543 และสรรรัชต์ ห่อไพศาล, 2544 และ ศิริพจน์มะโนดี, 2544) ได้แบ่งการเรียนบนเครือข่าย เป็น 3 รูปแบบ ดังนี้ วิชาเอกเทศ (Stand-alone course หรือ Web based course) เป็นวิชาที่เนื้อหาและทรัพยากรทั้งหมดจะมีการ นาเสนอบนเครือข่ายรวมถึงการสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียนจะผ่านทางคอมพิวเตอร์ส่วนมากแล้วจะใช้ในการศึกษา ทางไกล วิชาที่ใช้สื่อบนเครือข่ายเสริม (Web supported course) ทรัพยากรหลายๆ อย่าง เช่นการอ่านเนื้อหาที่เกี่ยวกับ บทเรียนและข้อมูลเสริม จะอ่านจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยผู้สอนอาจกาหนดให้หรือผู้เรียนหาเพิ่มเติม มีการ ทางานและการติดต่อสื่อสารบนเครือข่าย ทรัพยากรการสอนบนเครือข่าย (Web pedagogical resources) เป็นการนาเว็บไซต์ที่มีข้อมูลเกี่ยวข้องกับ เนื้อหาวิชามาใช้เป็นส่วนหนึ่งของวิชานั้นหรือใช้เป็นกิจกรรมการเรียนของวิชา มีหลากหลายรูปแบบ เช่น ข้อความ ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียง การติดต่อระหว่างผู้เรียนกับเว็บไซต์ ฯลฯ
  • 4. Web 1.0 Read Only, Static Data with simple markup Web 2.0 Read/Write, Dynamic Data through Web Services Web 3.0 Read/Write/Relate, Data with structured Metadata + managed identity WEB 4.0 วิวัฒนาการของเทคโนโลยี Web 1.0 - 4.0 เป็นเว็บในยุคเริ่มต้นและยังคงมีให้เห็นใน ปัจจุบัน ไฟล์เป็นนามสกุลเ .htm และ .html ทาหน้าที่ให้ข้อมูลข่าวสารในแบบสื่อสารทาง เดียว เจ้าของเว็บไซต์หรือผู้ส่งสารจะเป็นผู้ กาหนดเนื้อหาเองทั้งหมด และต้องมีความรู้ พื้นฐานการทาเว็บและยากที่จะแบ่งปันส่งต่อ เนื้อหาออกไป ซึ่งผู้ใช้หรือผู้รับสารมีหน้าที่ รับรู้ข่าวสารเพียงอย่างเดียวไม่สามารถ โต้ตอบได้ ให้ความสาคัญกับผู้เข้าชมเว็บไซต์ โดยที่ผู้เข้าชมเว็บไซต์จะมี ส่วนร่วมต่อเว็บไซต์มากขึ้น สามารถสร้างข้อมูลของเว็บไซต์ ขึ้นมาได้เอง หรือสามารถกาหนดคาสาคัญของเว็บไซต์ที่ เกี่ยวข้องข้อมูล (tag content) ทาให้ข้อมูลในเว็บไซต์นั้นมีการ พัฒนา ปรับปรุงได้อย่างรวดเร็ว จึงกลายเป็นเว็บไซต์ ที่มี รูปแบบของการสื่อสารเป็นแบบสองทาง สร้างเครื่องมือช่วยวิเคราะห์ความต้องการของมนุษย์ เชื่อมโยง เนื้อหาที่มีความสัมพันธ์กันเป็นเครือข่ายเดียวทั่วโลก มีการ พัฒนารูปแบบที่เป็นมาตรฐานใช้ร่วมกันในแบบเอกซ์เอ็มแอล (XML) พร้อมกับมีการแก้ไขปัญหาของข้อมูลที่ไม่มีคุณภาพและ พัฒนาระบบการจัดการข้อมูลในเว็บให้ดีขึ้น เพื่อให้ผู้เยี่ยมชม สามารถเขัาถึงเนื้อหาของเว็บได้ดีขึ้นและตรงตามความต้องการ “A Symbiotic web” คือ เว็บที่ทางานแบบ Artificial Intelligence (AI) ที่ฉลาดมากยิ่งขึ้น คอมพิวเตอร์สามารถคิดได้ ในการอ่านทั้งเนื้อหา ข้อความ และรูปภาพ หรือวีดีโอ สามารถที่จะ ตอบสนองหรือตัดสินใจได้ว่าจะใช้ข้อมูลอะไร จาก ไหน ที่จะให้ประสิทธิภาพดีที่สุดมาให้ผู้ใช้งานก่อน ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ Ubiquity, Identity และ Connection กล่าวคือ จะพบได้ ทุกหนทุกแห่ง ไม่จากัดว่าจะเป็น Device ใด สามารถระบุตัวตนของผู้ใช้งานได้อย่างแน่ชัด รวมถึงอาจจะ Integrate ไปกับอุปกรณ์อื่นๆ ที่ ช่วยในการระบุตัวตน
  • 5. ความแตกต่างระหว่าง เทคโนโลยี Web 1.0 - 4.0 Web 1.0 Web 2.0 Web 3.0 Web 4.0 แก้ไขอัพเดตข้อมูลต่างๆในหน้าเว็บ ได้เฉพาะ Webmaster หรือคน ดูแลเว็บไซต์เท่านั้น สามารถสื่อสารตอบโต้ได้ทั้ง ผู้สร้างเว็บและผู้ใช้เว็บ สามารถคาดเดาเหตุการณ์ต่างๆ และสื่อสารโต้ตอบได้ สามารถตอบสนองความ ต้องการของคนโดยการวิเคราะห์ ทางเลือกที่ดีที่สุดให้ (IPA) การโพสต์กระทู้ต่าง ๆ สร้างเพื่อ สื่อสารโต้ตอบทาได้ยาก ผู้รับสาร มีหน้าที่รับสารอย่างเดียวโต้ตอบ กลับไม่ได้ เนื่องจากเป็นการ สื่อสารทางเดียว สามารถสร้างปรากฏการณ์แบบ ปากต่อปากได้ดังไฟลามทุ่ง จาก การแนะนาผ่าน Blog ใช้ AI มาช่วยในการสร้าง tag เพิ่มเติมจากเจ้าของ content สร้าง tag เอง ทาให้ค้นหาตาม ความต้องการได้ง่าย สามารถเรียนรู้และจดจารูปแบบ พฤติกรรมการใช้งานของผู้ใช้แต่ ละคน และทาการวิเคราะห์ สืบค้น ประมวลผล นาเสนอ เนื้อหาและข้อมูลให้ตรงตามความ ต้องการของผู้ใช้มากที่สุด ให้ข้อมูลความรู้แบบตายตัว การ เปลี่ยนแปลงแก้ไขขึ้นอยู่กับ Webmaster สามารถต่อยอดข้อมูลต่างๆ ออกไปได้ไม่จากัด และข้อมูลจะถูก ตรวจสอบคัดกรองอยู่ตลอด ตัวอย่างเช่น Wikipedia สามารถอธิบายข้อมูลด้วยข้อมูล โดยจะทาการคานวณว่าข้อมูลที่ เราใช้งานอยู่มีข้อมูลใดสัมพันธ์กัน ซึ่งยังสามารถอธิบายข้อมูลตัว มันเองได้ เป็น Learning Web โลกของ การเรียนรู้บนสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น จะทาให้เรียนรู้ได้ด้วยตัวมันเอง และพัฒนา การคิดวิเคราะห์ได้ ด้วยตรรกวิทยา
  • 6. ตัวอย่างเทคโนโลยี Web 1.0 - 4.0 Web 1.0: Read-Only Web Web 2.0: Social Community Explosion Web 3.0: Immersive and virtual web Web 4.0: Ultra Intelligent Electronic Agents
  • 7. เอกสารอ้างอิง นัฐวุฒิ.(2558). เทคโนโลยีเว็บพัฒนาการของเว็บไซต์ เว็บ 1.0, เว็บ 2.0, เว็บ 3.0, เว็บ 4.0. สืบค้นเมื่อ 17 มกราคม 2560 ,จาก http://www.anantasook.com/web-technology-future- internet- web3-0/ อิสรา ก้านจักรและคณะ.(2560). เอกสารประกอบการสอนวิชา 237218 การออกแบบสิ่งแวดล้อมการ เรียนรู้บนเครือข่าย.สืบค้นเมื่อ 17 มกราคม 2560, จาก https://classroom.google.com/c /Mzk1OTM3NDE2M1pa
  • 8. จัดทาโดย นางสาวบัณฑิตา ทุมมา 573050211-0 นางสาวอติกานต์ ติงชาติ 573050672-4 สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา ชั้นปีที่ 3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น นาเสนอ ผศ.ดร.จารุณี ซามาตย์ และ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร รายวิชา 237318 DESIGNING WEB-BASED LEARNING ENVIRONMENT การออกแบบสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่าย