SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 1 - www.focus-physics.com
บทที่ 1 บทนา
ตอนที่ 3 เลขนัยสาคัญ
วิธีพิจารณาเลขนัยสาคัญ
เลขนัยสาคัญ (Significant Figure)
เลขนัยสาคัญ คือ ค่าที่บ่งบอกความละเอียดและความน่าเชื่อถือจากการวัดด้วยเครื่องมือชนิดต่างๆ
ในการวัดสิ่งต่างๆ จะสามารถวัดได้ละเอียดมากน้อยขึ้นอยู่กับความละเอียดของสเกลในเครื่องมือที่ใช้
วัด การบันทึกผลการวัดต้องบันทึกเป็นเลขนัยสาคัญ ซึ่งเป็นการบันทึกตัวเลขที่เป็นผลการวัดโดยจะบันทึกตัว
เลขที่อ่านได้จากสเกลของเครื่องมือวัดโดยตรงรวมกับตัวเลขที่ได้จากการประมาณด้วยสายตาอีก 1 ตัว
1. เลขทุกตัวที่ไม่ใช่ 0 เป็นเลขนัยสาคัญ
เช่น 3.14 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว
7825 มีเลขนัยสาคัญ 4 ตัว
2. เลข 0 ที่อยู่ระหว่างตัวเลขนัยสาคัญเป็นเลขนัยสาคัญ
เช่น 102 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว
10.2 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว
3. เลข 0 ที่อยู่ทางด้านซ้ายมือของเลขนัยสาคัญ ไม่เป็นเลขนัยสาคัญ
เช่น 0527 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว
0.00135 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว
4. เลข 0 ที่อยู่ทางด้านขวามือของเลขนัยสาคัญ แต่อยู่หลังจุดทศนิยมเป็นเลขนัยสาคัญ
เช่น 1.040 มีเลขนัยสาคัญ 4 ตัว
0.001500 มีเลขนัยสาคัญ 4 ตัว
5. เลข 10 ยกกาลังไม่นับเป็นเลขนัยสาคัญ
เช่น 2.5 x 103
มีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว
3.60 x 104
มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว
6. ค่าคงตัวทั้งหลาย และจานวนธรรมชาติ ไม่นับเป็นเลขนัยสาคัญ (ค่า  และค่า e ไม่นับ)
เช่น 2 ใน r2
จะพิจารณาเห็นว่า 2 เป็นค่าคงที่ pi ก็เป็นค่าคงที่
2 ใน 2r ไม่ว่าจะเอาสองมาคูณ สองตัวนี้ก็ไม่เป็นเลขนัยสาคัญ
7. เลข 0 ท้ายจานวนเต็มที่ไม่มีทศนิยม ไม่นับเป็นเลขนัยสาคัญ
เช่น 5000 , 10 มีเลขนัยสาคัญ 1 ตัว
โดยการพิจารณาตัวเลขนี้ขึ้นอยู่กับเครื่องมือ 500 อาจมีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว หรือ 1 ตัว ก็ได้ ขึ้นอยู่กับว่าเราได้มา
จากการวัดจริง ๆ เพราะฉะนั้นค่าที่ได้จากการทดลองจริงๆ จะนับเป็นเลขนัยสาคัญหมด (ต้องได้จากการวัดจริง
ๆเท่านั้น)
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 2 - www.focus-physics.com
1(มช 34) นักเรียนคนหนึ่งบันทึกตัวเลขจากการทดลองเป็น 0.0652 กิโลกรัม , 8.20 x 10–2
เมตร , 25.5 เซนติเมตร และ 8.00 วินาที จานวนเหล่านี้มีเลขนัยสาคัญกี่ตัว
ก. 1 ตัว ข. 2 ตัว ค. 3 ตัว ง. 4 ตัว (ข้อ ค)
การบวก และลบ เลขนัยสาคัญ
วิธีการ “ให้บวกลบตามปกติ แต่ผลลัพธ์ที่ได้ต้องมีจานวนทศนิยม เท่ากับจานวน
ทศนิยม ของตัวตั้งที่มีจานวนทศนิยมน้อยที่สุด”
2. จงหาผลลัพธ์ของคาถามต่อไปนี้ตามหลักเลขนัยสาคัญ 4.36 + 2.1 – 0.002
1. 6 2. 6.5 3. 6.46 4. 6.458 (ข้อ 2)
วิธีทา 4.36 + 2.1 – 0.002=6.458 ตอบจริง 6.5
3. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / PAT 2 ก.ค. 2552 ]
ผลลัพธ์ของ 16.74 + 5.1 มีจานวนเลขนัยเท่ากับตัวเลขในข้อใด
1. -3.14 2. 0.003 3. 99.99 4. 270.00
เฉลย 1
16.74 + 5.1 =21.84 ตอบจริง 21.8
ดังนั้นคาตอบ คือ 21.8 มีนัยสาคัญ 3 ตัว เลขที่มีนัยสาคัญเท่ากัน คือตัวเลือก ข้อ 1. 3.14
การคูณ และ หาร เลขนัยสาคัญ
วิธีการ “ให้คูณ หรือ หารตามปกติ แต่ผลลัพธ์ที่ได้ต้องมีจานวนตัวเลขนัยสาคัญ
เท่ากับจานวนเลขนัยสาคัญของตัวตั้งที่มีจานวนเลขนัยสาคัญน้อยที่สุด”
4. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / PAT 2 มี.ค. 2555 ]
พื้นที่ของสี่เหลี่ยมที่มีด้านยาว36.0cmและด้านกว้าง4cm ควรบันทึกเช่นใด
1. 100 2
cm 2. 140 2
cm 3. 144 2
cm 4. 144.0 2
cm
พื้นที่ของสี่เหลี่ยม = กว้าง × ยาว
2
36.0 4 144 cm   ตามหลักของเลขนัยสาคัญ
เนื่องจาก 36.0 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว
4 มีเลขนัยสาคัญ 1 ตัว
ตามหลักการคูณเลข ควรบันทึกผลคูณตามตัวคูณที่มีเลขนัยสาคัญน้อยที่สุด
ดังนั้นควรบันทึกค่าเป็น 1.44 × 102
หรือ 144 mm2
5 ห้องหนึ่งกว้าง 3.40 เมตร ยาว 12.71 เมตร ห้องจะมีพื้นที่เท่าไร
1. 43.214 ตารางเมตร 2. 43.2 ตารางเมตร
3. 43.21 ตารางเมตร 4. 43.2140 ตารางเมตร (ข้อ 2)
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 3 - www.focus-physics.com
6. นักเรียนคนหนึ่งใช้เครื่องวัด วัดเส้นผ่านศูนย์กลางของเหรียญบาทได้ 2.59 เซนติเมตร เมื่อ
พิจารณาเลขนัยสาคัญ เขาควรจะบันทึกค่าพื้นที่หน้าตัดดังนี้
1. 5.27065 ตารางเซนติเมตร 2. 5.2707 ตารางเซนติเมตร
3. 5.271 ตารางเซนติเมตร 4. 5.27 ตารางเซนติเมตร (ข้อ 4)
7. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / PAT 2 มี.ค. 2552 ]
นักเรียนคนหนึ่งวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมวงหนึ่งได้ 5.27 เซนติเมตร เขาควรจะบันทึกรัศมี
วงกลมวงนี้เป็นกี่เซนติเมตร
1. 3 2. 2.6 3. 2.64  4. 2.635
เฉลย 3
รัศมี
เส้นผ่านศูนยก์ลาง
2

5.27
2.635 2.64 cm
2
  
8(มช 44) ขนมชิ้นหนึ่งมีมวล 2.00 กิโลกรัม ถูกแบ่งออกเป็นสี่ส่วนเท่ากันพอดี แต่ละส่วน
จะมีมวลกี่กิโลกรัม
1. 0.5 2. 0.50 3. 0.500 4. 0.5000 (ข้อ 3)
ตอนที่ 4 ความไม่แน่นอนในการวัด
เนื่องจากค่าที่ได้จากการวัดนั้น จะมีตัวเลขที่ได้จากการคาดเดาอยู่ด้วย จึงอาจทาให้เกิด
ความคาดเคลื่อนได้บ้าง ดังนั้นการบันทึกค่าที่ได้จากการวัด เราอาจเขียนค่าความคลาดเคลื่อน
ลงไปด้วย เช่น 16.03  0.01 เป็นต้น
การบวก และ ลบ จานวนที่เขียนอยู่ในรูปความคลาดเคลื่อน
สูตร 1        BqApqBpABBqAAp 
สูตร 2        BqApqBpABBqAAp 
9. กาหนด A = 30.00  0.10 , B = 10.00  0.40 จงหา
1. A + B
       BqApqBpABBqAAp 
       4.010.000.1000.304.000.10110.000.301 
   5.000.40 
50.000.30 
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 4 - www.focus-physics.com
2. A – B
       BqApqBpABBqAAp 
       4.010.000.1000.304.000.10110.000.301 
   5.000.20 
50.000.20 
3. A + 2B
       BqApqBpABBqAAp 
         40.0210.000.10200.304.000.10210.000.301 
   80.010.000.2000.30 
90.000.50 
4. 3A – 2B
       BqApqBpABBqAAp 
       80.030.000.2000.904.000.10210.000.303 
   80.030.000.2000.90 
10.100.70 
การคูณ และ หาร จานวนที่เขียนอยู่ในรูปความคลาดเคลื่อน
สูตร 3       %









 100
B
B
q100
A
A
pB.ABB.AA qpqp
สูตร 4  
 
%





















100
B
B
q100
A
A
p
B
A
BB
AA
q
p
q
p
10. กาหนด A = 20.00 0.10 , B = 10.00  0.40 จงหา A.B และ
B
A
1. A . B
      %









 100
B
B
q100
A
A
pB.ABB.AA qpqp
         %





 100
10
40.0
100
00.20
10.0
00.10.00.204.000.10.10.000.20 1111
   %00.450.000.200 
  00.200
100
50.4
00.200 
00.900.200 
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 5 - www.focus-physics.com
2.
B
A
 
 
%





















100
B
B
q100
A
A
p
B
A
BB
AA
q
p
q
p
 
 
 
 
%

















100
00.10
40.0
100
20
10.0
00.10
00.20
40.000.10
10.000.20
1
1
1
1
 %00.450.000.2 
00.2
100
5.4
00.2 
90.000.2 
11. กาหนด A = 20.00  0.10 , B = 100.00  0.90 จงหา
1. A2
.B
      %









 100
B
B
q100
A
A
pB.ABB.AA qpqp
         %





 100
100
90.0
100
00.20
10.0
200.100.00.2090.000.100.10.000.20 1212
   %90.000.100.40000 
00.40000
100
90.1
00.40000 
00.76000.40000 
2. BA
      %









 100
B
B
q100
A
A
pB.ABB.AA qpqp
        %



















 100
100
90.0
2
1
100
00.20
10.0
00.100.00.2090.000.100.10.000.20 2
1
1
2
1
1
   %45.0500.000.200 
00.200
100
95.0
00.200 
90.100.200 
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 6 - www.focus-physics.com
3. A3
    %







 100
A
A
pA.AA pp
     %





 100
00.20
10.0
300.2010.000.20 33
%50.100.8000 
8000
100
50.1
00.8000 
00.12000.8000 
12. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / PAT 2 ต.ค. 2555 ]
กาหนดให้ปริมาณ A 5 1 , B 3 2    และ C 4 1 
ความคลาดเคลื่อนแบบมากที่สุดของปริมาณ
A 2B
C

อยู่ในช่วงคาตอบใด
1. ,1.0 2. 1.0,3.0 3. 3.0,5.0 4. 5.0,
   A 2B 5 1 2 3 2    
   5 1 6 4   
11 5 
A 2B 11 5
C 4 1
 


11 5 1
100 100 %
4 11 4
 
      
 2.75 45.45 25.00 %  
 2.75 70.45 % 
70.45
2.75 2.75
100
  
2.75 1.94 
4.69 ,0.81
ความคลาดเคลื่อนแบบมากที่สุด 4.69
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 7 - www.focus-physics.com
13. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / PAT 2 มี.ค. 2556 ]
กาหนดให้ปริมาณ A 5 1,B 3 2    และ C 4 1  ถ้าปริมาณ
A 2B
R
C


จงคานวณหาปริมาณ
R
R

โดยใช้หลักความคลาดเคลื่อนเชิงสถิติ คาตอบที่ได้อยู่ในช่วงคาตอบใด
1.  0,1 2.  1,2
3.  2,3 4.  3,4
   A 2B 5 1 2 3 2        5 1 6 4    11 5 
A 2B 11 5 11 5 1
R 100 100 %
C 4 1 4 11 4
   
       
  
11 5 1
100 100 %
4 11 4
 
      
 2.75 45.45 25.00 %  
 2.75 70.45 % 
70.45
2.75 2.75
100
  
2.75 1.94 
4.69 ,0.81
จงคานวณหาปริมาณ
R 0.81
0.17
R 4.69

 
14. โต๊ะสี่เหลี่ยมตัวหนึ่งกว้าง 20.00  0.10 เซนติเมตร ยาว 10.00 0.20 เซนติเมตร จะมี
พื้นที่มากที่สุดและน้อยที่สุดของโต๊ะนี้เท่ากับกี่ตารางเซนติเมตร (205.00 , 195.00 )
วิธีทา       %









 100
B
B
q100
A
A
pB.ABB.AA qpqp
         %





 100
10
20.0
100
00.20
10.0
00.10.00.202.000.10.10.000.20 1111
   %00.250.000.200 
  00.200
100
50.2
00.200 
00.500.200 
พื้นที่มากที่สุด 00.20500.50.200 
พื้นที่น้อยที่สุด 00.19500.50.200 
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 8 - www.focus-physics.com
15. กล่องรูปลูกบาศก์มีด้านแต่ละด้านยาว 1.00  0.02 เซนติเมตร ปริมาตรของกล่องนี้จะมี
ความคลาดเคลื่อนสูงสุดกี่ % และปริมาตรมีค่ากี่ลูกบาศก์เซนติเมตร (6% , 1.00 0.06 )
วิธีทา     %







 100
A
A
pA.AA pp
     %





 100
00.1
02.0
300.102.000.1 33
%00.600.1 
00.1
100
00.6
00.1 
06.000.1 
16. ทรงกลมรัศมี 21.00  0.21 เซนติเมตร ปริมาตรของทรงกลมนี้จะมีความคลาดเคลื่อนสูง
สุดกี่ % ปริมาตรทั้งหมดมีค่ากี่ลูกบาศก์เซนติเมตร (3% , 38808.00 1164.24 )
วิธีทา     %







 100
A
A
pA.AA pp
     %





 100
00.21
21.0
300.2121.000.21 33
%00.300.9261 
00.9261
100
00.3
00.9261 
83.27700.9261 
ปริมาตร 3
R
3
4
 83.277
73
224
9261
73
224






24.116400.38808 
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 9 - www.focus-physics.com
17. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / PAT 2 ต.ค. 2552 ]
กาหนดให้ T เป็นแรงตึงในเส้นเชือกมีหน่วยเป็นนิวตัน หรือ กิโลกรัมเมตรต่อวินาทียกกาลังสอง
และ µ เป็นมวลของเชือกต่อหน่วยความยาว มีหน่วยเป็นกิโลกรัมต่อเมตร ปริมาณ

T
มีหน่วย
เดียวกับปริมาณใด
1. ความเร็ว 2. พลังงาน 3. ความเร่ง 4. รากที่สองของความเร่ง
เฉลย 1
เมื่อพิจารณาในรูปหน่วย
 
   
NT
kg / m

    
   
kg m / s
kg / m

 
 
2
2
m
s

   m / s
ดังนั้น หน่วยสุดท้ายจึงมีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที ตรงกับหน่วยของความเร็ว

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดเรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดApinya Phuadsing
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวDestiny Nooppynuchy
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfbansarot
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนพิทักษ์ ทวี
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายInmylove Nupad
 

What's hot (20)

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
เรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดเรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัด
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
 

Similar to เลขนัย

ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์jupjeep
 
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์Saran Pankeaw
 
คณิตศาสตร์ Onet'51
คณิตศาสตร์ Onet'51คณิตศาสตร์ Onet'51
คณิตศาสตร์ Onet'51Prapasson Tiptem
 
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์supakeat
 
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์Du 'saknit
 
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ 2552
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ 2552ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ 2552
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ 2552Chayagon Mongkonsawat
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์linnoi
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์linnoi
 
ข้อสอบ O-Net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O-Net 51 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O-Net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O-Net 51 คณิตศาสตร์Supakrit Chaiwong
 
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์Nattidapaengluang
 

Similar to เลขนัย (20)

บทนำและเวกเตอร์
บทนำและเวกเตอร์บทนำและเวกเตอร์
บทนำและเวกเตอร์
 
3
33
3
 
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
 
Math m6
Math m6Math m6
Math m6
 
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
 
คณิตศาสตร์ Onet'51
คณิตศาสตร์ Onet'51คณิตศาสตร์ Onet'51
คณิตศาสตร์ Onet'51
 
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
 
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
 
M6 math-2551
M6 math-2551M6 math-2551
M6 math-2551
 
M6 math-2551
M6 math-2551M6 math-2551
M6 math-2551
 
Onet math
Onet mathOnet math
Onet math
 
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ 2552
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ 2552ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ 2552
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ 2552
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
M6 math-2551
M6 math-2551M6 math-2551
M6 math-2551
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
ข้อสอบ O-Net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O-Net 51 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O-Net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O-Net 51 คณิตศาสตร์
 
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 คณิตศาสตร์
 
Math m6
Math m6Math m6
Math m6
 
O net51-math
O net51-mathO net51-math
O net51-math
 
Math m6
Math m6Math m6
Math m6
 

More from Aey Usanee

ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.pptระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.pptAey Usanee
 
ระเบียบวิธีวิจัย.pptx
ระเบียบวิธีวิจัย.pptxระเบียบวิธีวิจัย.pptx
ระเบียบวิธีวิจัย.pptxAey Usanee
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์Aey Usanee
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตAey Usanee
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงานAey Usanee
 

More from Aey Usanee (6)

ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.pptระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
 
ระเบียบวิธีวิจัย.pptx
ระเบียบวิธีวิจัย.pptxระเบียบวิธีวิจัย.pptx
ระเบียบวิธีวิจัย.pptx
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 

เลขนัย

  • 1. เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 1 - www.focus-physics.com บทที่ 1 บทนา ตอนที่ 3 เลขนัยสาคัญ วิธีพิจารณาเลขนัยสาคัญ เลขนัยสาคัญ (Significant Figure) เลขนัยสาคัญ คือ ค่าที่บ่งบอกความละเอียดและความน่าเชื่อถือจากการวัดด้วยเครื่องมือชนิดต่างๆ ในการวัดสิ่งต่างๆ จะสามารถวัดได้ละเอียดมากน้อยขึ้นอยู่กับความละเอียดของสเกลในเครื่องมือที่ใช้ วัด การบันทึกผลการวัดต้องบันทึกเป็นเลขนัยสาคัญ ซึ่งเป็นการบันทึกตัวเลขที่เป็นผลการวัดโดยจะบันทึกตัว เลขที่อ่านได้จากสเกลของเครื่องมือวัดโดยตรงรวมกับตัวเลขที่ได้จากการประมาณด้วยสายตาอีก 1 ตัว 1. เลขทุกตัวที่ไม่ใช่ 0 เป็นเลขนัยสาคัญ เช่น 3.14 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว 7825 มีเลขนัยสาคัญ 4 ตัว 2. เลข 0 ที่อยู่ระหว่างตัวเลขนัยสาคัญเป็นเลขนัยสาคัญ เช่น 102 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว 10.2 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว 3. เลข 0 ที่อยู่ทางด้านซ้ายมือของเลขนัยสาคัญ ไม่เป็นเลขนัยสาคัญ เช่น 0527 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว 0.00135 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว 4. เลข 0 ที่อยู่ทางด้านขวามือของเลขนัยสาคัญ แต่อยู่หลังจุดทศนิยมเป็นเลขนัยสาคัญ เช่น 1.040 มีเลขนัยสาคัญ 4 ตัว 0.001500 มีเลขนัยสาคัญ 4 ตัว 5. เลข 10 ยกกาลังไม่นับเป็นเลขนัยสาคัญ เช่น 2.5 x 103 มีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว 3.60 x 104 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว 6. ค่าคงตัวทั้งหลาย และจานวนธรรมชาติ ไม่นับเป็นเลขนัยสาคัญ (ค่า  และค่า e ไม่นับ) เช่น 2 ใน r2 จะพิจารณาเห็นว่า 2 เป็นค่าคงที่ pi ก็เป็นค่าคงที่ 2 ใน 2r ไม่ว่าจะเอาสองมาคูณ สองตัวนี้ก็ไม่เป็นเลขนัยสาคัญ 7. เลข 0 ท้ายจานวนเต็มที่ไม่มีทศนิยม ไม่นับเป็นเลขนัยสาคัญ เช่น 5000 , 10 มีเลขนัยสาคัญ 1 ตัว โดยการพิจารณาตัวเลขนี้ขึ้นอยู่กับเครื่องมือ 500 อาจมีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว หรือ 1 ตัว ก็ได้ ขึ้นอยู่กับว่าเราได้มา จากการวัดจริง ๆ เพราะฉะนั้นค่าที่ได้จากการทดลองจริงๆ จะนับเป็นเลขนัยสาคัญหมด (ต้องได้จากการวัดจริง ๆเท่านั้น)
  • 2. เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 2 - www.focus-physics.com 1(มช 34) นักเรียนคนหนึ่งบันทึกตัวเลขจากการทดลองเป็น 0.0652 กิโลกรัม , 8.20 x 10–2 เมตร , 25.5 เซนติเมตร และ 8.00 วินาที จานวนเหล่านี้มีเลขนัยสาคัญกี่ตัว ก. 1 ตัว ข. 2 ตัว ค. 3 ตัว ง. 4 ตัว (ข้อ ค) การบวก และลบ เลขนัยสาคัญ วิธีการ “ให้บวกลบตามปกติ แต่ผลลัพธ์ที่ได้ต้องมีจานวนทศนิยม เท่ากับจานวน ทศนิยม ของตัวตั้งที่มีจานวนทศนิยมน้อยที่สุด” 2. จงหาผลลัพธ์ของคาถามต่อไปนี้ตามหลักเลขนัยสาคัญ 4.36 + 2.1 – 0.002 1. 6 2. 6.5 3. 6.46 4. 6.458 (ข้อ 2) วิธีทา 4.36 + 2.1 – 0.002=6.458 ตอบจริง 6.5 3. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / PAT 2 ก.ค. 2552 ] ผลลัพธ์ของ 16.74 + 5.1 มีจานวนเลขนัยเท่ากับตัวเลขในข้อใด 1. -3.14 2. 0.003 3. 99.99 4. 270.00 เฉลย 1 16.74 + 5.1 =21.84 ตอบจริง 21.8 ดังนั้นคาตอบ คือ 21.8 มีนัยสาคัญ 3 ตัว เลขที่มีนัยสาคัญเท่ากัน คือตัวเลือก ข้อ 1. 3.14 การคูณ และ หาร เลขนัยสาคัญ วิธีการ “ให้คูณ หรือ หารตามปกติ แต่ผลลัพธ์ที่ได้ต้องมีจานวนตัวเลขนัยสาคัญ เท่ากับจานวนเลขนัยสาคัญของตัวตั้งที่มีจานวนเลขนัยสาคัญน้อยที่สุด” 4. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / PAT 2 มี.ค. 2555 ] พื้นที่ของสี่เหลี่ยมที่มีด้านยาว36.0cmและด้านกว้าง4cm ควรบันทึกเช่นใด 1. 100 2 cm 2. 140 2 cm 3. 144 2 cm 4. 144.0 2 cm พื้นที่ของสี่เหลี่ยม = กว้าง × ยาว 2 36.0 4 144 cm   ตามหลักของเลขนัยสาคัญ เนื่องจาก 36.0 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว 4 มีเลขนัยสาคัญ 1 ตัว ตามหลักการคูณเลข ควรบันทึกผลคูณตามตัวคูณที่มีเลขนัยสาคัญน้อยที่สุด ดังนั้นควรบันทึกค่าเป็น 1.44 × 102 หรือ 144 mm2 5 ห้องหนึ่งกว้าง 3.40 เมตร ยาว 12.71 เมตร ห้องจะมีพื้นที่เท่าไร 1. 43.214 ตารางเมตร 2. 43.2 ตารางเมตร 3. 43.21 ตารางเมตร 4. 43.2140 ตารางเมตร (ข้อ 2)
  • 3. เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 3 - www.focus-physics.com 6. นักเรียนคนหนึ่งใช้เครื่องวัด วัดเส้นผ่านศูนย์กลางของเหรียญบาทได้ 2.59 เซนติเมตร เมื่อ พิจารณาเลขนัยสาคัญ เขาควรจะบันทึกค่าพื้นที่หน้าตัดดังนี้ 1. 5.27065 ตารางเซนติเมตร 2. 5.2707 ตารางเซนติเมตร 3. 5.271 ตารางเซนติเมตร 4. 5.27 ตารางเซนติเมตร (ข้อ 4) 7. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / PAT 2 มี.ค. 2552 ] นักเรียนคนหนึ่งวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมวงหนึ่งได้ 5.27 เซนติเมตร เขาควรจะบันทึกรัศมี วงกลมวงนี้เป็นกี่เซนติเมตร 1. 3 2. 2.6 3. 2.64  4. 2.635 เฉลย 3 รัศมี เส้นผ่านศูนยก์ลาง 2  5.27 2.635 2.64 cm 2    8(มช 44) ขนมชิ้นหนึ่งมีมวล 2.00 กิโลกรัม ถูกแบ่งออกเป็นสี่ส่วนเท่ากันพอดี แต่ละส่วน จะมีมวลกี่กิโลกรัม 1. 0.5 2. 0.50 3. 0.500 4. 0.5000 (ข้อ 3) ตอนที่ 4 ความไม่แน่นอนในการวัด เนื่องจากค่าที่ได้จากการวัดนั้น จะมีตัวเลขที่ได้จากการคาดเดาอยู่ด้วย จึงอาจทาให้เกิด ความคาดเคลื่อนได้บ้าง ดังนั้นการบันทึกค่าที่ได้จากการวัด เราอาจเขียนค่าความคลาดเคลื่อน ลงไปด้วย เช่น 16.03  0.01 เป็นต้น การบวก และ ลบ จานวนที่เขียนอยู่ในรูปความคลาดเคลื่อน สูตร 1        BqApqBpABBqAAp  สูตร 2        BqApqBpABBqAAp  9. กาหนด A = 30.00  0.10 , B = 10.00  0.40 จงหา 1. A + B        BqApqBpABBqAAp         4.010.000.1000.304.000.10110.000.301     5.000.40  50.000.30 
  • 4. เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 4 - www.focus-physics.com 2. A – B        BqApqBpABBqAAp         4.010.000.1000.304.000.10110.000.301     5.000.20  50.000.20  3. A + 2B        BqApqBpABBqAAp           40.0210.000.10200.304.000.10210.000.301     80.010.000.2000.30  90.000.50  4. 3A – 2B        BqApqBpABBqAAp         80.030.000.2000.904.000.10210.000.303     80.030.000.2000.90  10.100.70  การคูณ และ หาร จานวนที่เขียนอยู่ในรูปความคลาดเคลื่อน สูตร 3       %           100 B B q100 A A pB.ABB.AA qpqp สูตร 4     %                      100 B B q100 A A p B A BB AA q p q p 10. กาหนด A = 20.00 0.10 , B = 10.00  0.40 จงหา A.B และ B A 1. A . B       %           100 B B q100 A A pB.ABB.AA qpqp          %       100 10 40.0 100 00.20 10.0 00.10.00.204.000.10.10.000.20 1111    %00.450.000.200    00.200 100 50.4 00.200  00.900.200 
  • 5. เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 5 - www.focus-physics.com 2. B A     %                      100 B B q100 A A p B A BB AA q p q p         %                  100 00.10 40.0 100 20 10.0 00.10 00.20 40.000.10 10.000.20 1 1 1 1  %00.450.000.2  00.2 100 5.4 00.2  90.000.2  11. กาหนด A = 20.00  0.10 , B = 100.00  0.90 จงหา 1. A2 .B       %           100 B B q100 A A pB.ABB.AA qpqp          %       100 100 90.0 100 00.20 10.0 200.100.00.2090.000.100.10.000.20 1212    %90.000.100.40000  00.40000 100 90.1 00.40000  00.76000.40000  2. BA       %           100 B B q100 A A pB.ABB.AA qpqp         %                     100 100 90.0 2 1 100 00.20 10.0 00.100.00.2090.000.100.10.000.20 2 1 1 2 1 1    %45.0500.000.200  00.200 100 95.0 00.200  90.100.200 
  • 6. เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 6 - www.focus-physics.com 3. A3     %         100 A A pA.AA pp      %       100 00.20 10.0 300.2010.000.20 33 %50.100.8000  8000 100 50.1 00.8000  00.12000.8000  12. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / PAT 2 ต.ค. 2555 ] กาหนดให้ปริมาณ A 5 1 , B 3 2    และ C 4 1  ความคลาดเคลื่อนแบบมากที่สุดของปริมาณ A 2B C  อยู่ในช่วงคาตอบใด 1. ,1.0 2. 1.0,3.0 3. 3.0,5.0 4. 5.0,    A 2B 5 1 2 3 2        5 1 6 4    11 5  A 2B 11 5 C 4 1     11 5 1 100 100 % 4 11 4           2.75 45.45 25.00 %    2.75 70.45 %  70.45 2.75 2.75 100    2.75 1.94  4.69 ,0.81 ความคลาดเคลื่อนแบบมากที่สุด 4.69
  • 7. เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 7 - www.focus-physics.com 13. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / PAT 2 มี.ค. 2556 ] กาหนดให้ปริมาณ A 5 1,B 3 2    และ C 4 1  ถ้าปริมาณ A 2B R C   จงคานวณหาปริมาณ R R  โดยใช้หลักความคลาดเคลื่อนเชิงสถิติ คาตอบที่ได้อยู่ในช่วงคาตอบใด 1.  0,1 2.  1,2 3.  2,3 4.  3,4    A 2B 5 1 2 3 2        5 1 6 4    11 5  A 2B 11 5 11 5 1 R 100 100 % C 4 1 4 11 4                11 5 1 100 100 % 4 11 4           2.75 45.45 25.00 %    2.75 70.45 %  70.45 2.75 2.75 100    2.75 1.94  4.69 ,0.81 จงคานวณหาปริมาณ R 0.81 0.17 R 4.69    14. โต๊ะสี่เหลี่ยมตัวหนึ่งกว้าง 20.00  0.10 เซนติเมตร ยาว 10.00 0.20 เซนติเมตร จะมี พื้นที่มากที่สุดและน้อยที่สุดของโต๊ะนี้เท่ากับกี่ตารางเซนติเมตร (205.00 , 195.00 ) วิธีทา       %           100 B B q100 A A pB.ABB.AA qpqp          %       100 10 20.0 100 00.20 10.0 00.10.00.202.000.10.10.000.20 1111    %00.250.000.200    00.200 100 50.2 00.200  00.500.200  พื้นที่มากที่สุด 00.20500.50.200  พื้นที่น้อยที่สุด 00.19500.50.200 
  • 8. เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 8 - www.focus-physics.com 15. กล่องรูปลูกบาศก์มีด้านแต่ละด้านยาว 1.00  0.02 เซนติเมตร ปริมาตรของกล่องนี้จะมี ความคลาดเคลื่อนสูงสุดกี่ % และปริมาตรมีค่ากี่ลูกบาศก์เซนติเมตร (6% , 1.00 0.06 ) วิธีทา     %         100 A A pA.AA pp      %       100 00.1 02.0 300.102.000.1 33 %00.600.1  00.1 100 00.6 00.1  06.000.1  16. ทรงกลมรัศมี 21.00  0.21 เซนติเมตร ปริมาตรของทรงกลมนี้จะมีความคลาดเคลื่อนสูง สุดกี่ % ปริมาตรทั้งหมดมีค่ากี่ลูกบาศก์เซนติเมตร (3% , 38808.00 1164.24 ) วิธีทา     %         100 A A pA.AA pp      %       100 00.21 21.0 300.2121.000.21 33 %00.300.9261  00.9261 100 00.3 00.9261  83.27700.9261  ปริมาตร 3 R 3 4  83.277 73 224 9261 73 224       24.116400.38808 
  • 9. เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิสิกส์ - 9 - www.focus-physics.com 17. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / PAT 2 ต.ค. 2552 ] กาหนดให้ T เป็นแรงตึงในเส้นเชือกมีหน่วยเป็นนิวตัน หรือ กิโลกรัมเมตรต่อวินาทียกกาลังสอง และ µ เป็นมวลของเชือกต่อหน่วยความยาว มีหน่วยเป็นกิโลกรัมต่อเมตร ปริมาณ  T มีหน่วย เดียวกับปริมาณใด 1. ความเร็ว 2. พลังงาน 3. ความเร่ง 4. รากที่สองของความเร่ง เฉลย 1 เมื่อพิจารณาในรูปหน่วย       NT kg / m           kg m / s kg / m      2 2 m s     m / s ดังนั้น หน่วยสุดท้ายจึงมีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที ตรงกับหน่วยของความเร็ว