SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
สายไฟเบอร์ออฟติก
นาเสนอ
อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร
สมาชิก
นางสาวปรียานุช เจริญลาภ ม.4/7 เลขที4
                                   ่
นางสาว วรญา อัมพรพิสิฎฐ์ ม.4/7 เลขที10
                                     ่
Fiber Optic

สาย Fiber Optic คือเส้นใยแก้วนาแสง กล่าวคือ สายนา
สัญญาณที่ใช้แสงเป็นตัวกลางในการสื่อสารข้อมูลจากจุด
หนี่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยทาจากแก้วที่มีความบริสุทธิมาก
                                                   ์
เส้นใยแก้วนาแสงที่ดีต้องสามารถนาสัญญาณแสงจากจุด
หนึ่งไปอีกจุดหนึ่งโดยมีการสูญเสียของสัญญาณแสงน้อย
ที่สุด
โครงสร้างของสาย Fiber Optic
1.เส้นแก้ว (Core) เป็นตัวที่นาสัญญาณแสง จะมี
เส้นผ่าศูนย์กลาง 62.5/125 um, 50/125 um, 9/125 um
2.ฉนวนเคลือบ (Cladding) เป็นสารที่ใช้ในการเคลือบแก้ว
(Core) เพื่อให้นาสัญญาณได้ กล่าวคือแสงที่ถูกส่งไปในแกนแก้
วจะถูกขังหรือเคลื่อนที่ไปตามสายไฟเบอร์ด้วยขบวนการสะท้อน
กลับของแสง นิยมเคลือบจนมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 125 um
3.ฉนวนป้องกัน (Coating) เป็นเสมือนผนังของเส้นแก้วเป็นชั้นที่
ต่อจาก Cladding เพื่อให้
ปลอดภัยขึ้น และใช้ป้องกันแสงจากภายนอกไม่ให้เข้ามาภายใน
เส้นไฟเบอร์ มีเส้นผ่าศูนย์กลาง250 um
โครงสร้างของสาย Fiber Optic
4. ปลอกสาย (Buffer) เป็นเสมือนปลอกของสายหรือเสื้อชั้นในที่
หุ้มป้องกันสาย และยังช่วยให้ การโค้งงอของสายไฟเบอร์มีความ
ยืดหยุ่นมากขึ้น มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 900 um (Buffer
Tube)
5. ปลอกหุ้ม (Jacket) เป็นเสมือนเสื้อชั้นนอกสุดของสายไฟ
เบอร์ที่ให้เกิดความเรียบร้อย และทาหน้าที่ป้องกันสายไฟเบอร์
เป็นชั้นนอกสุดชนิดของ Jacket จะมีหลายชนิด ขึ้นอยู่กับการใช้
งานว่าเป็นสายที่เดินภายในอาคาร (Indoor) หรือเดินภายนอก
อาคาร (Outdoor)
อุปกรณ์หลักของ Fiber Optic
ตัวส่งแสง (Optical Transmiter)
ทาหน้าที่แปลงสัญญาณเคเบิ้ลทีวีให้เป็นแสงมีกาลังส่งตั้งแต่ 4-
20 มิลิวัตต์ จะเลือกใช้ตามความเหมาะสม
ตัวรับแสง (Optical Reciver)
ทาหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณแสงให้กลับมาเป็นสัญญาณเคเบิ้ลทีวีซึ่ง
สามารถปรับเกณฑ์และสโลปได้เหมือนอุปกรณ์เคเบิ้ลทีวีทั่วไป
สายเมนไฟเบอร์ออพติก (Optical Fiber)
สายไฟเบอร์ออพติกใช้ในระบบเคเบิ้ลทีวีเป็นชนิด Single
Mode เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.9 ไมครอน สายไฟเบอร์ออพติกที่นิยม
ในระบบเคเบิ้ลทีวีมจานวนคอร์ (Core) ตั้งแต่ 4 คอร์ขึ้นไป ขึ้นอยู่
กับจานวนรับแสง (Node)
อุปกรณ์หลักของ Fiber Optic
ตัวแยกแสง (Optical Couple Or Optical Splitter)
ทาหน้าที่แยกแสงเป็นสองทางหรือมากกว่าสามารถกาหนดความ
เข้มของแสงแต่ละจุดแยกได้เป็นเปอร์เซ็นต์ เช่น ตัวแยกแสงสอง
ทาง ชนิด 60:40 จะแยกแสงเป็นสองทาง คือทางด้านหนึ่งจะมี
ความเข้มของแสง 60% และอีกด้านหนึ่งจะมีความเข้มของ
แสง 40%
ขั้วต่อ (Pigtail)
มีทั้งแบบภายในและภายนอกโดยส่วนใหญ่ในระบบเคเบิ้ลทีวีจะใช้
ขั้วต่อแบบ FC/APC
คุณสมบัติของ Fiber Optic
1.Fiber Optic ภายในทาจากแก้วที่มีความบริสุทธิ์สูงมาก
2.มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดเท่าเส้นผมของคนเรา
รับส่งสัญญาณได้ระยะไกลมากเป็นกิโลเมตร
3.ต้องใช้ผู้ชานาญ และเครื่องมือเฉพาะในการเข้าหัวสัญญาณ
4.ราคาแพงหลายเท่า เมื่อเทียบกับสายแลนประเภท CAT5
การนาไปใช้
1.ตึกสูงๆ ที่ต้องการเชือมต่อระบบเครือข่าย ทาเป็น
                       ่
Backbone (สายรับส่งสัญญาณข้อมูลหลัก)
2.ระบบการรับส่งสัญญาณภาพ วีดโอ ตามพื้นที่ต่างๆ
                                 ี
3.การเชื่อมต่อสัญญาณระยะไกล
ข้อดี
1.ค่าการลดทอนสัญญาณต่า โดยความยาวคลื่นแสงในช่วง 1.3-
1.5 ไมครอน ลดทอนสัญญาณน้อยกว่า 0.35 dB/km
2.แบนด์วิดธ์กว้าง ทาให้สามารถส่งสัญญาณเคเบิลทีวีได้มากกว่า
100 ช่อง ผ่านสายไฟเบอร์ออฟติกเพียงเส้นเดียว
3.โครงสร้างของสายไฟเบอร์ออฟติกมีขนาดเล็กและน้าหนักเบา
4.ราคาถูก ในปํจจุบันไฟเบอร์ออฟติกเริ่มเป็นที่ต้องการในตลาด
มากขึ้นจึงทาให้ราคาถูกลงอย่างมากเมื่อเทียบกับในอดีต
ข้อดี
5.เป็นอิสระทางไฟฟ้า สายไฟเบอร์ออฟติกเป็นฉนวนไฟฟ้าหากมี
สายไฟฟ้าเปลือยมาสัมผัสไม่สามารถทาให้สายไฟเบอร์ออฟติก
เสียหาย
6.ปราศจากสัญญาณรบกวน เนืองจากคุณสมบัติความเป็น
                           ่
ฉนวนไฟฟ้าทาให้ไม่มีสัญญาณรบกวนจากภายนอกเข้ามารบกวน
ได้
7.มีความทนทานสูง หากสายไฟเบอร์ออฟติกไม่ถูกทาให้แตกหัก
เสียหาย อายุการใช้งานสามารถใช้ได้นานนับร้อยปี
ข้อเสีย
1.มีราคาแพงกว่าสายส่งข้อมูลแบบสายคู่ตีเกลียวและโค
แอกเชียล
2.ต้องใช้ความชานาญในการติดตั้ง
3.มีค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสูงกว่า สายคู่ตีเกลียวและโค
แอกเชียล

More Related Content

What's hot

สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406Arutchapaun Trongsiriwat
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)Ploy's Sutantirat
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407Aommy Arpajai
 
สายใยแก้วนำแสง
สายใยแก้วนำแสงสายใยแก้วนำแสง
สายใยแก้วนำแสงsekzazo
 
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสารช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสารPaksorn Runlert
 
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405Kaimin Ngaokrajang
 
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403Theem N. Veokeki
 
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401Blank Jirayusw
 
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404Yamano Yumeyuki
 
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407Paksupa Pleehajinda
 
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)Nitkamon Bamrungchaokasem
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟPeerapas Trungtreechut
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402Pitchayanis Kittichaovanun
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403Supanut Maiyos
 
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405Alspkc Edk
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟPram Pu-ngoen
 

What's hot (20)

สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
สายใยแก้วนำแสง
สายใยแก้วนำแสงสายใยแก้วนำแสง
สายใยแก้วนำแสง
 
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสารช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
 
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
 
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
 
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
 
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
 
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
 
อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406
อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406
อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406
 
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
 
สัญญาณอินฟราเรด (จารุศิริ+ชลพินทุ์) 402
สัญญาณอินฟราเรด (จารุศิริ+ชลพินทุ์) 402สัญญาณอินฟราเรด (จารุศิริ+ชลพินทุ์) 402
สัญญาณอินฟราเรด (จารุศิริ+ชลพินทุ์) 402
 
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟ
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
 
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟ
 

Similar to สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407

สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402Pibi Densiriaksorn
 
Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13mook_suju411
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404พิศลย์ ลือสมบูรณ์
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(บุญธิดา+ชนิกานต์)405
สายไฟเบอร์ออฟติก(บุญธิดา+ชนิกานต์)405สายไฟเบอร์ออฟติก(บุญธิดา+ชนิกานต์)405
สายไฟเบอร์ออฟติก(บุญธิดา+ชนิกานต์)405Na Ban
 
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402แพทตี้ ฉัตรบริรักษ์
 
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403Uracha Choodee
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลYmalte
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)supatra2011
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405Jaja Ch
 
สายโคแอกซ์(ปวริศา+พลอย)404
สายโคแอกซ์(ปวริศา+พลอย)404สายโคแอกซ์(ปวริศา+พลอย)404
สายโคแอกซ์(ปวริศา+พลอย)404Eedoré Cinderelly
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์pongrawee
 

Similar to สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407 (20)

สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Media
MediaMedia
Media
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(บุญธิดา+ชนิกานต์)405
สายไฟเบอร์ออฟติก(บุญธิดา+ชนิกานต์)405สายไฟเบอร์ออฟติก(บุญธิดา+ชนิกานต์)405
สายไฟเบอร์ออฟติก(บุญธิดา+ชนิกานต์)405
 
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
 
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
 
Media
MediaMedia
Media
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
 
สายโคแอกซ์(ปวริศา+พลอย)404
สายโคแอกซ์(ปวริศา+พลอย)404สายโคแอกซ์(ปวริศา+พลอย)404
สายโคแอกซ์(ปวริศา+พลอย)404
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
เทอม 1 คาบ 9
เทอม 1 คาบ 9เทอม 1 คาบ 9
เทอม 1 คาบ 9
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407

  • 2. Fiber Optic สาย Fiber Optic คือเส้นใยแก้วนาแสง กล่าวคือ สายนา สัญญาณที่ใช้แสงเป็นตัวกลางในการสื่อสารข้อมูลจากจุด หนี่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยทาจากแก้วที่มีความบริสุทธิมาก ์ เส้นใยแก้วนาแสงที่ดีต้องสามารถนาสัญญาณแสงจากจุด หนึ่งไปอีกจุดหนึ่งโดยมีการสูญเสียของสัญญาณแสงน้อย ที่สุด
  • 3. โครงสร้างของสาย Fiber Optic 1.เส้นแก้ว (Core) เป็นตัวที่นาสัญญาณแสง จะมี เส้นผ่าศูนย์กลาง 62.5/125 um, 50/125 um, 9/125 um 2.ฉนวนเคลือบ (Cladding) เป็นสารที่ใช้ในการเคลือบแก้ว (Core) เพื่อให้นาสัญญาณได้ กล่าวคือแสงที่ถูกส่งไปในแกนแก้ วจะถูกขังหรือเคลื่อนที่ไปตามสายไฟเบอร์ด้วยขบวนการสะท้อน กลับของแสง นิยมเคลือบจนมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 125 um 3.ฉนวนป้องกัน (Coating) เป็นเสมือนผนังของเส้นแก้วเป็นชั้นที่ ต่อจาก Cladding เพื่อให้ ปลอดภัยขึ้น และใช้ป้องกันแสงจากภายนอกไม่ให้เข้ามาภายใน เส้นไฟเบอร์ มีเส้นผ่าศูนย์กลาง250 um
  • 4. โครงสร้างของสาย Fiber Optic 4. ปลอกสาย (Buffer) เป็นเสมือนปลอกของสายหรือเสื้อชั้นในที่ หุ้มป้องกันสาย และยังช่วยให้ การโค้งงอของสายไฟเบอร์มีความ ยืดหยุ่นมากขึ้น มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 900 um (Buffer Tube) 5. ปลอกหุ้ม (Jacket) เป็นเสมือนเสื้อชั้นนอกสุดของสายไฟ เบอร์ที่ให้เกิดความเรียบร้อย และทาหน้าที่ป้องกันสายไฟเบอร์ เป็นชั้นนอกสุดชนิดของ Jacket จะมีหลายชนิด ขึ้นอยู่กับการใช้ งานว่าเป็นสายที่เดินภายในอาคาร (Indoor) หรือเดินภายนอก อาคาร (Outdoor)
  • 5. อุปกรณ์หลักของ Fiber Optic ตัวส่งแสง (Optical Transmiter) ทาหน้าที่แปลงสัญญาณเคเบิ้ลทีวีให้เป็นแสงมีกาลังส่งตั้งแต่ 4- 20 มิลิวัตต์ จะเลือกใช้ตามความเหมาะสม ตัวรับแสง (Optical Reciver) ทาหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณแสงให้กลับมาเป็นสัญญาณเคเบิ้ลทีวีซึ่ง สามารถปรับเกณฑ์และสโลปได้เหมือนอุปกรณ์เคเบิ้ลทีวีทั่วไป สายเมนไฟเบอร์ออพติก (Optical Fiber) สายไฟเบอร์ออพติกใช้ในระบบเคเบิ้ลทีวีเป็นชนิด Single Mode เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.9 ไมครอน สายไฟเบอร์ออพติกที่นิยม ในระบบเคเบิ้ลทีวีมจานวนคอร์ (Core) ตั้งแต่ 4 คอร์ขึ้นไป ขึ้นอยู่ กับจานวนรับแสง (Node)
  • 6. อุปกรณ์หลักของ Fiber Optic ตัวแยกแสง (Optical Couple Or Optical Splitter) ทาหน้าที่แยกแสงเป็นสองทางหรือมากกว่าสามารถกาหนดความ เข้มของแสงแต่ละจุดแยกได้เป็นเปอร์เซ็นต์ เช่น ตัวแยกแสงสอง ทาง ชนิด 60:40 จะแยกแสงเป็นสองทาง คือทางด้านหนึ่งจะมี ความเข้มของแสง 60% และอีกด้านหนึ่งจะมีความเข้มของ แสง 40% ขั้วต่อ (Pigtail) มีทั้งแบบภายในและภายนอกโดยส่วนใหญ่ในระบบเคเบิ้ลทีวีจะใช้ ขั้วต่อแบบ FC/APC
  • 7. คุณสมบัติของ Fiber Optic 1.Fiber Optic ภายในทาจากแก้วที่มีความบริสุทธิ์สูงมาก 2.มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดเท่าเส้นผมของคนเรา รับส่งสัญญาณได้ระยะไกลมากเป็นกิโลเมตร 3.ต้องใช้ผู้ชานาญ และเครื่องมือเฉพาะในการเข้าหัวสัญญาณ 4.ราคาแพงหลายเท่า เมื่อเทียบกับสายแลนประเภท CAT5
  • 8. การนาไปใช้ 1.ตึกสูงๆ ที่ต้องการเชือมต่อระบบเครือข่าย ทาเป็น ่ Backbone (สายรับส่งสัญญาณข้อมูลหลัก) 2.ระบบการรับส่งสัญญาณภาพ วีดโอ ตามพื้นที่ต่างๆ ี 3.การเชื่อมต่อสัญญาณระยะไกล
  • 9. ข้อดี 1.ค่าการลดทอนสัญญาณต่า โดยความยาวคลื่นแสงในช่วง 1.3- 1.5 ไมครอน ลดทอนสัญญาณน้อยกว่า 0.35 dB/km 2.แบนด์วิดธ์กว้าง ทาให้สามารถส่งสัญญาณเคเบิลทีวีได้มากกว่า 100 ช่อง ผ่านสายไฟเบอร์ออฟติกเพียงเส้นเดียว 3.โครงสร้างของสายไฟเบอร์ออฟติกมีขนาดเล็กและน้าหนักเบา 4.ราคาถูก ในปํจจุบันไฟเบอร์ออฟติกเริ่มเป็นที่ต้องการในตลาด มากขึ้นจึงทาให้ราคาถูกลงอย่างมากเมื่อเทียบกับในอดีต
  • 10. ข้อดี 5.เป็นอิสระทางไฟฟ้า สายไฟเบอร์ออฟติกเป็นฉนวนไฟฟ้าหากมี สายไฟฟ้าเปลือยมาสัมผัสไม่สามารถทาให้สายไฟเบอร์ออฟติก เสียหาย 6.ปราศจากสัญญาณรบกวน เนืองจากคุณสมบัติความเป็น ่ ฉนวนไฟฟ้าทาให้ไม่มีสัญญาณรบกวนจากภายนอกเข้ามารบกวน ได้ 7.มีความทนทานสูง หากสายไฟเบอร์ออฟติกไม่ถูกทาให้แตกหัก เสียหาย อายุการใช้งานสามารถใช้ได้นานนับร้อยปี