SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
นำเสนอ
   อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร

           สมาชิก
1.ธัชนนท์ เกียรติศักดิ์วัฒนา
       2.ธีม แววเกกี
 อินฟราเรด หรือ รังสีความร้อน เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งแผ่มา
  จากดวงอาทิตย์ รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าจากดวงอาทิตย์นั้นมีหลายชนิดซึ่ง
  แต่ละชนิดนั้นมีความยาว คลื่นต่างกัน เช่น แสงที่ตามองเห็น (Visible
  light) มีความยาวคลื่นอยู่ระหว่าง 400 – 700 นาโนเมตร, รังสีอุล
  ตราไวโอเล็ต (Ultraviolet radiation) มีความยาวคลื่น 1 - 400 นา
  โนเมตร, รังสีแกมมา (Gamma ray) มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 0.01
  นาโนเมตร, รังสีเอ็กซ์ (X-ray) ความยาวคลื่น 0.01 - 1 นาโนเมตร
  เป็นต้น
 สาหรับรังสีอินฟราเรด มีความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร – 1
 มิลลิเมตร เป็นคลื่นที่มีความถี่ถัดจากความถี่ของสีแดงลงมา
 มนุษย์จึงไม่สามารถมองเห็นรังสีอินฟราเรด แต่ก็รู้สึกถึงความ
 ร้อนได้ ส่วนสัตว์บางชนิด เช่น งูมีประสาทสัมผัสรังสี
 อินฟราเรด สามารถทราบตาแหน่งของเหยื่อได้ โดยการสัมผัส
 รังสีอินฟราเรดซึ่งแผ่ออกมาจากร่างกายของเหยื่อ
 เมื่อโลกได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์ โลกจะแผ่รังสีสะท้อนกลับสู่
  บรรยากาศเรียกว่า รังสีโลก (terrestrial radiation) ซึ่งเป็น
  รังสีอินฟราเรดในคลื่นยาว ซึ่งแตกต่างจากรังสีอินฟราเรดจาก
  ดวงอาทิตย์ซึ่งเป็นช่วงคลื่นสั้น ตามปกติแล้วไอน้าและ
  คาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศจะมีปริมาณพอเหมาะและ
  สามารถ ดูดซึมพลังงานส่วนนี้ไว้ ทาให ้โลกเก็บความร้อนไว้อยู่
  ในระดับที่เหมาะสมต่อการดารงชีวิตของคน สัตว์และพืช

    ในปัจจุบันมีการนารังสีอินฟราเรดมาประยุกต์ใช้งานหลายอย่าง
    ด้วยกัน เช่น ใช้เป็นตัวกลางในการสื่อสารของอุปกรณ์ไร้สาย
    หลายชนิดทั้งโทรศัพท์มอถือและ คอมพิวเตอร์ กล้องอินฟาเรด
                            ื
    ที่สามารถจับภาพได้แม้ในเวลากลางคืน ล่าสุดมีผลงานการวิจัย
    จาก University of Arizona แสดงให้เห็นว่ารังสีหรือแสงอิน
    ฟาเรดนั้นสามารถนามาประยุกต์ใช้ประโยชน์อื่นๆ ได้อีก
    โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตรวจวิเคราะห์เซลล์มะเร็ง รวมไปถึง
    การวิเคราะห์สารปนเปื้อนในแหล่งต่างๆ
 คุณสมบัตเด่นของอินฟาเรดคลืนสั้น คือทางเดินของแสงเป็นแนว
          ิ                 ่
  ตรง ราคาถูก ง่ายต่อการผลิต ปลอดภัยต่อการดักสัญญาณ ไม่
  สามารถทะลุผ่านวัตถุ ทาให้สามารถติดตั้ง อินฟาเรดในห้อง
  ทางานติดกันได้
 ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ อินฟาเรด
  แสงอินฟาเรด คือแสงที่มีความยาวคลื่นต่ากว่าแสงสีแดงลงไป
  ดังนั้นจึงไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยสายตา ของมนุษย์ ซึ่ง
  คุณสมบัตินี้เอง จึงทาให้ เซ็นเซอร์ชนิดที่ใช้แสงอินฟาเรด เป็นที่
  นิยมนามาใช้กันมาก โดยจะอาศัยหลักการของการสะท้อนของ
  แสง กล่าวคือ ใช้อุปกรณ์ส่งแสง เป็นแหล่งกาเนิด ปล่อยแสง
  ออกไป และเมื่อแสงกระทบกับวัตถุด้านหน้า มันก็จะสะท้อนแสง
  กลับมา เข้าที่ตัวรับแสง ส่วนอัตราของการสะท้อนกลับนั้น ขึ้นอยู่
  กับสี และสภาพความมัน ของวัตถุที่สะท้อน เช่น สีดา จะมีอัตรา
  การสะท้อนกลับ น้อยกว่าสีขาว , หรือสภาพพื้นผิวที่มีความ
  ราบเรียบ เป็นมันวาว จะสามารถสะท้อนแสงได้ดีกว่า พื้นผิวที่มี
  ลักษณะด้าน และขรุขระ เป็นต้น
 ข้อดีของคลืนอินฟราเรด:
             ่
  -ใช้พลังงานน้อย จึงนิยมใช้กับเครื่อง Laptops ,โทรศัพท์
  -แผงวงจรควบคุมราคาต่า เรียบง่ายและสามารถเชื่อมต่อกับระบบอื่น
  ได้อย่างรวดเร็ว
  -มีความปลอดภัยในเรื่องข้อมูลสูง ลักษณะการส่งคลื่นจะไม่รั่วไปที่
  เครื่องรับตัวอื่นในขณะทีส่งสัญญาณ
                          ่
  -กฎข้อห้ามระหว่างประเทศของ IrDA (Infrared Data Association)
  มีค่อนข้างน้อยสาหรับนักเดินทางท่วโลก
  -คลื่นแทรกจากเครื่องใช้ไฟฟ้าใกล้เคียงมีน้อย
 ข้อเสียของอินฟราเรด:
  -เครื่องส่ง(Transmitter) และเครื่องรับ (receiver) ต้องอยู่ในแนว
  เดียวกัน คือต้องเห็นว่าอยู่ในแนวเดียวกัน
  -คลื่นจะถูกกันโดยวัตถุทั่วไปได้ง่ายเช่น คน กาแพง ต้นไม้ ทาให้
  สื่อสารไม่ได้
  -ระยะทางการสื่อสารจะน้อย ประสิทธิภาพจะตกลงถ้าระยะทางมาก
  ขึ้น
  -สภาพอากาศ เช่นหมอก แสงอาทิตย์แรงๆ ฝนและมลภาวะมีผลต่อ
  ประสิทธิภาพการสื่อสาร
  -อัตราการส่งข้อมูลจะช้ากว่าแบบใช้สายไฟทั่วไป
คำถำม
      1.รังสีอินฟาเรดคืออะไร?
ตอบ : เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งแผ่มาจากดวงอาทิตย์
      2.รังสีอินฟาเรดมีความยาวคลื่นช่วงใด?
ตอบ : มีความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร – 1 มิลลิเมตร
      3.ข้อดีของรังสีอนฟาเรดคือ?
                      ิ
ตอบ : ใช้พลังงานน้อย,แผงวงจรควบคุมราคาต่่า,มีความปลอดภัยในเรื่อง
ข้อมูลสูง,คลื่นแทรกจากเครื่องใช้ไฟฟ้ามีน้อย,มีกฎระหว่างประเทศน้อย
    4.คุณสมบัติเด่นของรังสีอินฟาเรดคลื่นสั้นคือ?
ตอบ : ทางเดินของแสงเป็นแนวตรง ราคาถูก ง่ายต่อการผลิต
ปลอดภัยต่อการดักสัญญาณ ไม่สามารถทะลุผ่านวัตถุ ท่าให้สามารถติดตั้ง
อินฟาเรดในห้องท่างานติดกันได้
   5.ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้รังสีอินฟาเรดเพื่อการสื่อสาร?
ตอบ : เซนเซอร์
 http://www.thaigoodview.com/node/118154
 http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=24fb26ad46
 75bb05

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4gasine092
 
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาshikapu
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ekkachai kaikaew
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาfriend209
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียPannipa Saetan
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5Puet Mp
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานPannathat Champakul
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
คำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยี
คำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยีคำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยี
คำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยีHami dah'Princess
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นฐานการสร้างเว็บไซต์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นฐานการสร้างเว็บไซต์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นฐานการสร้างเว็บไซต์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นฐานการสร้างเว็บไซต์Joop Ssk
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 

What's hot (20)

บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4
 
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2 ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
 
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงาน
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
คำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยี
คำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยีคำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยี
คำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยี
 
Noise pollution
Noise pollutionNoise pollution
Noise pollution
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นฐานการสร้างเว็บไซต์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นฐานการสร้างเว็บไซต์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นฐานการสร้างเว็บไซต์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นฐานการสร้างเว็บไซต์
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 

Viewers also liked

รังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลตรังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลตDashodragon KaoKaen
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลตSomporn Laothongsarn
 
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405Alspkc Edk
 
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407Mullika Pummuen
 
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406Krittapas Rodsom
 
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)Nitkamon Bamrungchaokasem
 
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)Physics Lek
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กNiwat Yod
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1pageใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการSomporn Laothongsarn
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1Chakkrawut Mueangkhon
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์Somporn Laothongsarn
 

Viewers also liked (20)

คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
รังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลตรังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลต
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
 
อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406
อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406
อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406
 
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
 
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
 
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
 
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
 
สัญญาณอินฟราเรด (จารุศิริ+ชลพินทุ์) 402
สัญญาณอินฟราเรด (จารุศิริ+ชลพินทุ์) 402สัญญาณอินฟราเรด (จารุศิริ+ชลพินทุ์) 402
สัญญาณอินฟราเรด (จารุศิริ+ชลพินทุ์) 402
 
Applications of infrared ray for drying agricultural products
Applications of infrared ray for drying agricultural productsApplications of infrared ray for drying agricultural products
Applications of infrared ray for drying agricultural products
 
Edge
EdgeEdge
Edge
 
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้าสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1pageใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
 

Similar to อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403

เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรดSomporn Laothongsarn
 
อินฟาเรด(ประณิธาณ+แทนพร)402
อินฟาเรด(ประณิธาณ+แทนพร)402อินฟาเรด(ประณิธาณ+แทนพร)402
อินฟาเรด(ประณิธาณ+แทนพร)402Gulper Tour
 
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอมบทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอมPakawan Sonna
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721CUPress
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
คำศัพท์ประกอบ หน่วยที่ 7
คำศัพท์ประกอบ หน่วยที่  7คำศัพท์ประกอบ หน่วยที่  7
คำศัพท์ประกอบ หน่วยที่ 7chanatangmo
 
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์parinya
 

Similar to อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403 (20)

เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
 
อินฟาเรด(ประณิธาณ+แทนพร)402
อินฟาเรด(ประณิธาณ+แทนพร)402อินฟาเรด(ประณิธาณ+แทนพร)402
อินฟาเรด(ประณิธาณ+แทนพร)402
 
System lighting
System lightingSystem lighting
System lighting
 
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอมบทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
 
System lighting
System lightingSystem lighting
System lighting
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
Rs
RsRs
Rs
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
Pulsars
PulsarsPulsars
Pulsars
 
Pulsars
PulsarsPulsars
Pulsars
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
System lighting
System lightingSystem lighting
System lighting
 
Laser
LaserLaser
Laser
 
คำศัพท์ประกอบ หน่วยที่ 7
คำศัพท์ประกอบ หน่วยที่  7คำศัพท์ประกอบ หน่วยที่  7
คำศัพท์ประกอบ หน่วยที่ 7
 
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
 

อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403

  • 1. นำเสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร สมาชิก 1.ธัชนนท์ เกียรติศักดิ์วัฒนา 2.ธีม แววเกกี
  • 2.  อินฟราเรด หรือ รังสีความร้อน เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งแผ่มา จากดวงอาทิตย์ รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าจากดวงอาทิตย์นั้นมีหลายชนิดซึ่ง แต่ละชนิดนั้นมีความยาว คลื่นต่างกัน เช่น แสงที่ตามองเห็น (Visible light) มีความยาวคลื่นอยู่ระหว่าง 400 – 700 นาโนเมตร, รังสีอุล ตราไวโอเล็ต (Ultraviolet radiation) มีความยาวคลื่น 1 - 400 นา โนเมตร, รังสีแกมมา (Gamma ray) มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 0.01 นาโนเมตร, รังสีเอ็กซ์ (X-ray) ความยาวคลื่น 0.01 - 1 นาโนเมตร เป็นต้น
  • 3.  สาหรับรังสีอินฟราเรด มีความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร – 1 มิลลิเมตร เป็นคลื่นที่มีความถี่ถัดจากความถี่ของสีแดงลงมา มนุษย์จึงไม่สามารถมองเห็นรังสีอินฟราเรด แต่ก็รู้สึกถึงความ ร้อนได้ ส่วนสัตว์บางชนิด เช่น งูมีประสาทสัมผัสรังสี อินฟราเรด สามารถทราบตาแหน่งของเหยื่อได้ โดยการสัมผัส รังสีอินฟราเรดซึ่งแผ่ออกมาจากร่างกายของเหยื่อ
  • 4.  เมื่อโลกได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์ โลกจะแผ่รังสีสะท้อนกลับสู่ บรรยากาศเรียกว่า รังสีโลก (terrestrial radiation) ซึ่งเป็น รังสีอินฟราเรดในคลื่นยาว ซึ่งแตกต่างจากรังสีอินฟราเรดจาก ดวงอาทิตย์ซึ่งเป็นช่วงคลื่นสั้น ตามปกติแล้วไอน้าและ คาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศจะมีปริมาณพอเหมาะและ สามารถ ดูดซึมพลังงานส่วนนี้ไว้ ทาให ้โลกเก็บความร้อนไว้อยู่ ในระดับที่เหมาะสมต่อการดารงชีวิตของคน สัตว์และพืช
  • 5. ในปัจจุบันมีการนารังสีอินฟราเรดมาประยุกต์ใช้งานหลายอย่าง ด้วยกัน เช่น ใช้เป็นตัวกลางในการสื่อสารของอุปกรณ์ไร้สาย หลายชนิดทั้งโทรศัพท์มอถือและ คอมพิวเตอร์ กล้องอินฟาเรด ื ที่สามารถจับภาพได้แม้ในเวลากลางคืน ล่าสุดมีผลงานการวิจัย จาก University of Arizona แสดงให้เห็นว่ารังสีหรือแสงอิน ฟาเรดนั้นสามารถนามาประยุกต์ใช้ประโยชน์อื่นๆ ได้อีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตรวจวิเคราะห์เซลล์มะเร็ง รวมไปถึง การวิเคราะห์สารปนเปื้อนในแหล่งต่างๆ
  • 6.  คุณสมบัตเด่นของอินฟาเรดคลืนสั้น คือทางเดินของแสงเป็นแนว ิ ่ ตรง ราคาถูก ง่ายต่อการผลิต ปลอดภัยต่อการดักสัญญาณ ไม่ สามารถทะลุผ่านวัตถุ ทาให้สามารถติดตั้ง อินฟาเรดในห้อง ทางานติดกันได้
  • 7.  ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ อินฟาเรด แสงอินฟาเรด คือแสงที่มีความยาวคลื่นต่ากว่าแสงสีแดงลงไป ดังนั้นจึงไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยสายตา ของมนุษย์ ซึ่ง คุณสมบัตินี้เอง จึงทาให้ เซ็นเซอร์ชนิดที่ใช้แสงอินฟาเรด เป็นที่ นิยมนามาใช้กันมาก โดยจะอาศัยหลักการของการสะท้อนของ แสง กล่าวคือ ใช้อุปกรณ์ส่งแสง เป็นแหล่งกาเนิด ปล่อยแสง ออกไป และเมื่อแสงกระทบกับวัตถุด้านหน้า มันก็จะสะท้อนแสง กลับมา เข้าที่ตัวรับแสง ส่วนอัตราของการสะท้อนกลับนั้น ขึ้นอยู่ กับสี และสภาพความมัน ของวัตถุที่สะท้อน เช่น สีดา จะมีอัตรา การสะท้อนกลับ น้อยกว่าสีขาว , หรือสภาพพื้นผิวที่มีความ ราบเรียบ เป็นมันวาว จะสามารถสะท้อนแสงได้ดีกว่า พื้นผิวที่มี ลักษณะด้าน และขรุขระ เป็นต้น
  • 8.  ข้อดีของคลืนอินฟราเรด: ่ -ใช้พลังงานน้อย จึงนิยมใช้กับเครื่อง Laptops ,โทรศัพท์ -แผงวงจรควบคุมราคาต่า เรียบง่ายและสามารถเชื่อมต่อกับระบบอื่น ได้อย่างรวดเร็ว -มีความปลอดภัยในเรื่องข้อมูลสูง ลักษณะการส่งคลื่นจะไม่รั่วไปที่ เครื่องรับตัวอื่นในขณะทีส่งสัญญาณ ่ -กฎข้อห้ามระหว่างประเทศของ IrDA (Infrared Data Association) มีค่อนข้างน้อยสาหรับนักเดินทางท่วโลก -คลื่นแทรกจากเครื่องใช้ไฟฟ้าใกล้เคียงมีน้อย
  • 9.  ข้อเสียของอินฟราเรด: -เครื่องส่ง(Transmitter) และเครื่องรับ (receiver) ต้องอยู่ในแนว เดียวกัน คือต้องเห็นว่าอยู่ในแนวเดียวกัน -คลื่นจะถูกกันโดยวัตถุทั่วไปได้ง่ายเช่น คน กาแพง ต้นไม้ ทาให้ สื่อสารไม่ได้ -ระยะทางการสื่อสารจะน้อย ประสิทธิภาพจะตกลงถ้าระยะทางมาก ขึ้น -สภาพอากาศ เช่นหมอก แสงอาทิตย์แรงๆ ฝนและมลภาวะมีผลต่อ ประสิทธิภาพการสื่อสาร -อัตราการส่งข้อมูลจะช้ากว่าแบบใช้สายไฟทั่วไป
  • 10. คำถำม 1.รังสีอินฟาเรดคืออะไร? ตอบ : เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งแผ่มาจากดวงอาทิตย์ 2.รังสีอินฟาเรดมีความยาวคลื่นช่วงใด? ตอบ : มีความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร – 1 มิลลิเมตร 3.ข้อดีของรังสีอนฟาเรดคือ? ิ ตอบ : ใช้พลังงานน้อย,แผงวงจรควบคุมราคาต่่า,มีความปลอดภัยในเรื่อง ข้อมูลสูง,คลื่นแทรกจากเครื่องใช้ไฟฟ้ามีน้อย,มีกฎระหว่างประเทศน้อย 4.คุณสมบัติเด่นของรังสีอินฟาเรดคลื่นสั้นคือ? ตอบ : ทางเดินของแสงเป็นแนวตรง ราคาถูก ง่ายต่อการผลิต ปลอดภัยต่อการดักสัญญาณ ไม่สามารถทะลุผ่านวัตถุ ท่าให้สามารถติดตั้ง อินฟาเรดในห้องท่างานติดกันได้ 5.ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้รังสีอินฟาเรดเพื่อการสื่อสาร? ตอบ : เซนเซอร์