SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
-สายไฟเบอร์ อ อพติ ก -


                นำเสนอ
          อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร
                 สมำชิก
   น.ส.พิชญ์ชพร สุตนติรำษฎร์ ม.4/5 เลขที่11
                   ั
   น.ส.พิชญำนิน ฤทธิสนธิ์ ม.4/5 เลขที่20
- สายไฟเบอร์ออพติกคืออะไร -
สายไฟเบอร์ออพติก (เส้นใยแก้วนาแสง) คือ สายนาสัญญาณที่ใช้แสงเป็นตัวกลาง
ในการ สื่อสารข้อมูลจากจุดหนี่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยทาจากแก้วที่มีความบริสุทธิ์
มาก เส้นใยแก้วนาแสงที่ดี ต้องสามารถนาสัญญาณแสงจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง
โดยมีการสูญเสียของสัญญาณแสงน้อยที่สุด
- โครงสร้างของสายไฟเบอร์ออพติก -
1. เส้นแก้ว (Core) เป็นตัวที่นาสัญญาณแสง
2. ฉนวนเคลือบ (Cladding) เป็นสารที่ใช้ในการเคลือบแก้ว เพื่อให้นาสัญญาณได้ คือ
   แสงที่ถูกส่งไปในแกนแก้วจะถูกขังหรือเคลื่อนที่ไปตามสายไฟเบอร์ด้วย
   ขบวนการสะท้อน กลับของแสง
3. ฉนวนป้องกัน (Coating) เป็นเสมือนผนังของเส้นแก้วเป็นชั้นที่ต่อจาก Cladding
    เพื่อให้ปลอดภัยขึ้น และใช้ป้องกันแสงจากภายนอกไม่ให้เข้ามาภายในเส้นไฟเบอร์
4. ปลอกสาย (Buffer) เป็นเสมือนปลอกของสายหรือเสื้อชั้นในที่หุ้มป้องกันสาย และ
    ยังช่วยให้การโค้งงอของสายไฟเบอร์มีความยืดหยุ่นมากขึ้น
5. ปลอกหุ้ม (Jacket) เป็นเสมือนเสื้อชั้นนอกสุดของสายไฟเบอร์ที่ให้เกิดความ
    เรียบร้อย และทาหน้าที่ป้องกันสายไฟเบอร์มีหลายชนิด ขึ้นอยู่กับการใช้งานว่าเป็น
    สายที่เดินภายในอาคาร (หรือเดินภายนอกอาคาร
- ลักษณะการทางาน -
แบ่งลักษณะการทางานออกเป็น2ประเภทคือ
1.Tight Buffer เป็นสายไฟเบอร์แบบเดินภายในอาคาร โดยมีการหุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่ง
    ให้มีความหนา 900 um เพื่อสะดวกในการใช้งานและป้องกันสายไฟเบอร์ในการ
    ติดตั้ง



 2.Loose Tube เป็นสายไฟเบอร์ที่ออกแบบมาใช้เดินภายนอกอาคารโดยการนา
สายไฟเบอร์มาไว้ในแท่งพลาสติก และใส่เยลกันน้าเข้าไป เพื่อป้องกันไม่ให้สัมผัสกับ
แรงต่าง ๆ อีกทั้งยังกันน้าซึมเข้าภายในสาย
- คุณสมบัติ -
การส่งสัญญาณผ่านเส้นใยนาแสง มีข้อได้เปรียบสายเคเบิล (Cable) หลายประการ เมื่อ
ความถี่ที่ใช้ส่งสัญญาณสูงขึ้น ในสายเคเบิลก็มากขึ้นตามไปด้วย ทาให้สายเคเบิลสามารถ
ใช้ส่งสัญญาณได้ในระยะสั้นๆ เท่านั้น ในทางกลับกันสายไฟเบอร์ออพติกนั้นสามารถใช้
ส่งสัญญาณได้ระยะทางไกลๆ ที่ความถี่หรือ Bandwidth สูงๆ จึงนามาใช้ในการสื่อสาร
อย่างแพร่หลายเช่น Backbone Link LANs SANs หรือ Office Data Centers
- ข้อดี-ข้อเสีย -
 ข้อดีของสายไฟเบอร์ออพติก
1 แบนด์วดธ์สงมาก ไม่มีสายอื่น ๆ ตามสื่อส่งข้อมูลที่มแบนด์วิธใยไม่
          ิ ู                                         ี
2. ง่ายต่อการรองรับแบนด์วิดธ์ที่เพิ่มขึน การใช้หลายรุ่นล่าสุดของสายไฟเบอร์ออปติกอุปกรณ์
                                       ้
    ใหม่สามารถเพิ่มสายเคเบิลใยเฉื่อยที่สามารถให้ความจุใหญ่โตกว้างขวางกว่าเส้นใยวางเดิม
3 ความต้านทานต่อการรบกวนแม่เหล็กไฟฟ้า ไฟเบอร์มีอัตราที่ต่ามากของข้อผิดพลาดบิต เป็น
    ผลมาจากเส้นใยจะเป็นเพื่อการทนต่อการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า ส่งผ่านใยแก้วนาแสง
    เป็นเสียงปราศจาก
4 เนินของความเสียหายและการส่งสายเคเบิลที่มความปลอดภัย จะคอยตรวจสอบเครือข่าย
      ่                                         ี
    ออปติคอลและโดยระมัดระวังการวัดเวลาที่ใช้แสงเพื่อสะท้อนให้เห็นถึงลงใย, splices ในสาย
    สามารถตรวจพบได้ง่าย
- ข้อเสียของสายไฟเบอร์ออพติก -
1. ค่าใช้จ่ายการติดตังในขณะที่ลดลงยังคงสูง
                     ้
2. อุปกรณ์ทดสอบพิเศษ ราคาแพงอุปกรณ์ทดสอบพิเศษแสงเช่นฟิวส์แสงมีความ
    จาเป็นอย่างมากที่สุด
3 อ่อนแอจะเกิดความเสียหายทางกายภาพ ไฟเบอร์เป็นสายขนาดเล็กกะทัดรัดและมัน
    ก็เป็นอย่างอ่อนแอจะกลายเป็นตัดหรือความเสียหายในระหว่างกิจกรรมการติดตั้ง
    หรือก่อสร้าง
- คาถาม -
1.สายไฟเบอร์ออพติกคืออะไร
ตอบ สายนาสัญญาณที่ใช้แสงเป็นตัวกลางในการ สื่อสารข้อมูลจากจุดหนี่งไปยังอีกจุดหนึ่ง


2.โครงสร้างของเส้นใยนาแสงมีอะไรบ้าง
ตอบ เส้นแก้ว ฉนวนเคลือบ ฉนวนป้องกัน ปลอกสายและเปลือกหุ้ม


 3.สายไฟเบอร์ออพติกแบ่งการทางานออกเป็น2ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง..
ตอบ Tight Buffer แบบเดินภายในอาคาร และ Loose Tube แบบเดินภายนอกอาคาร
4. ข้อเสียของสายไฟเบอร์ออพติกมีอะไรบ้าง ยกตัวอย่างมา 2 ประการ
ตอบ 1.ค่าใช้จ่ายการติดตั้งในขณะที่ลดลงยังคงสูง
     2. อุปกรณ์ทดสอบพิเศษ ราคาแพงอุปกรณ์ทดสอบพิเศษแสงเช่นฟิวส์แสงมีความจาเป็นอย่างมากที่สุด
     3. อ่อนแอจะเกิดความเสียหายทางกายภาพ ไฟเบอร์เป็นสายขนาดเล็กกะทัดรัดและมันก็เป็นอย่าง
   อ่อนแอจะกลายเป็นตัดหรือความเสียหายในระหว่างกิจกรรมการติดตั้งหรือก่อสร้าง


5. สายไฟเบอร์ออพติกมีข้อได้เปรียบจากสายเคเบิลอย่างไร
ตอบ สายไฟเบอร์ออพติกนั้นสามารถใช้ส่งสัญญาณได้ระยะทางไกลๆ ที่ความถี่หรือ Bandwidth
สูงๆ จึงนามาใช้ในการสื่อสารอย่างแพร่หลายเช่น Backbone Link LANs SANs หรือ Office Data
Centers
- อ้างอิง -
http://klsharing.blogspot.com/2011/09/fiber-optic.html
http://www.technicchan.ac.th/?name=article&file=read_article
   &id=36
http://translate.google.co.th/translate?hl=th&langpair=en%7Cth
   &u=http://hubtechinsider.wordpress.com/2009/06/04/the-
   advantages-and-disadvantages-of-fiber-optics/&ei=2xj-
   UO64FsqIrAeK5IGIDw

More Related Content

What's hot

สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403Uracha Choodee
 
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402แพทตี้ ฉัตรบริรักษ์
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Noppanut Bany
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403Pharist Kulpradit
 
Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13mook_suju411
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Noppanut Bany
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Samakthanyakit Theptas
 
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402Jarensiri Pankoa
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลYmalte
 
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405Jaja Ch
 
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406Bu Ba
 
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407Paksupa Pleehajinda
 
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสารช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสารPaksorn Runlert
 
สายโคแอกเชียล(คำนวณ+ธีรภัทร)406
สายโคแอกเชียล(คำนวณ+ธีรภัทร)406สายโคแอกเชียล(คำนวณ+ธีรภัทร)406
สายโคแอกเชียล(คำนวณ+ธีรภัทร)406Kamnuan Jompuk
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406Gunn Chaemkasem
 

What's hot (19)

สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
 
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403
 
Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13
 
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
 
โจทย์O net com
โจทย์O net comโจทย์O net com
โจทย์O net com
 
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
 
โจทย์O net com
โจทย์O net comโจทย์O net com
โจทย์O net com
 
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
 
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสารช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
 
สายโคแอกเชียล(คำนวณ+ธีรภัทร)406
สายโคแอกเชียล(คำนวณ+ธีรภัทร)406สายโคแอกเชียล(คำนวณ+ธีรภัทร)406
สายโคแอกเชียล(คำนวณ+ธีรภัทร)406
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
 

Similar to สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)

สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407Woraya Ampornpisit
 
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401Mink Chonnikan
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403Papangkorn Chamviteelert
 
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401Blank Jirayusw
 
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)Pampam Chaiklahan
 
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404Yamano Yumeyuki
 
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405Kaimin Ngaokrajang
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์ASpyda Ch
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406Gunn Chaemkasem
 
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402Theepop Eamchotchawalit
 
สายโคแอกซ์(จิรภัสสร์+สุชานันท์)403
สายโคแอกซ์(จิรภัสสร์+สุชานันท์)403สายโคแอกซ์(จิรภัสสร์+สุชานันท์)403
สายโคแอกซ์(จิรภัสสร์+สุชานันท์)403ap55555
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 
สายไฟเบอร์ออพติก
สายไฟเบอร์ออพติกสายไฟเบอร์ออพติก
สายไฟเบอร์ออพติกGunn Chaemkasem
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)supatra2011
 

Similar to สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405) (18)

สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
 
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
 
สายคู่บิดเกลียว
สายคู่บิดเกลียวสายคู่บิดเกลียว
สายคู่บิดเกลียว
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
 
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
 
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
 
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
 
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
 
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402
 
สายโคแอกซ์(จิรภัสสร์+สุชานันท์)403
สายโคแอกซ์(จิรภัสสร์+สุชานันท์)403สายโคแอกซ์(จิรภัสสร์+สุชานันท์)403
สายโคแอกซ์(จิรภัสสร์+สุชานันท์)403
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
สายไฟเบอร์ออพติก
สายไฟเบอร์ออพติกสายไฟเบอร์ออพติก
สายไฟเบอร์ออพติก
 
4
44
4
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 

สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)

  • 1. -สายไฟเบอร์ อ อพติ ก - นำเสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร สมำชิก น.ส.พิชญ์ชพร สุตนติรำษฎร์ ม.4/5 เลขที่11 ั น.ส.พิชญำนิน ฤทธิสนธิ์ ม.4/5 เลขที่20
  • 2. - สายไฟเบอร์ออพติกคืออะไร - สายไฟเบอร์ออพติก (เส้นใยแก้วนาแสง) คือ สายนาสัญญาณที่ใช้แสงเป็นตัวกลาง ในการ สื่อสารข้อมูลจากจุดหนี่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยทาจากแก้วที่มีความบริสุทธิ์ มาก เส้นใยแก้วนาแสงที่ดี ต้องสามารถนาสัญญาณแสงจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง โดยมีการสูญเสียของสัญญาณแสงน้อยที่สุด
  • 3. - โครงสร้างของสายไฟเบอร์ออพติก - 1. เส้นแก้ว (Core) เป็นตัวที่นาสัญญาณแสง 2. ฉนวนเคลือบ (Cladding) เป็นสารที่ใช้ในการเคลือบแก้ว เพื่อให้นาสัญญาณได้ คือ แสงที่ถูกส่งไปในแกนแก้วจะถูกขังหรือเคลื่อนที่ไปตามสายไฟเบอร์ด้วย ขบวนการสะท้อน กลับของแสง
  • 4. 3. ฉนวนป้องกัน (Coating) เป็นเสมือนผนังของเส้นแก้วเป็นชั้นที่ต่อจาก Cladding เพื่อให้ปลอดภัยขึ้น และใช้ป้องกันแสงจากภายนอกไม่ให้เข้ามาภายในเส้นไฟเบอร์ 4. ปลอกสาย (Buffer) เป็นเสมือนปลอกของสายหรือเสื้อชั้นในที่หุ้มป้องกันสาย และ ยังช่วยให้การโค้งงอของสายไฟเบอร์มีความยืดหยุ่นมากขึ้น 5. ปลอกหุ้ม (Jacket) เป็นเสมือนเสื้อชั้นนอกสุดของสายไฟเบอร์ที่ให้เกิดความ เรียบร้อย และทาหน้าที่ป้องกันสายไฟเบอร์มีหลายชนิด ขึ้นอยู่กับการใช้งานว่าเป็น สายที่เดินภายในอาคาร (หรือเดินภายนอกอาคาร
  • 5. - ลักษณะการทางาน - แบ่งลักษณะการทางานออกเป็น2ประเภทคือ 1.Tight Buffer เป็นสายไฟเบอร์แบบเดินภายในอาคาร โดยมีการหุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่ง ให้มีความหนา 900 um เพื่อสะดวกในการใช้งานและป้องกันสายไฟเบอร์ในการ ติดตั้ง 2.Loose Tube เป็นสายไฟเบอร์ที่ออกแบบมาใช้เดินภายนอกอาคารโดยการนา สายไฟเบอร์มาไว้ในแท่งพลาสติก และใส่เยลกันน้าเข้าไป เพื่อป้องกันไม่ให้สัมผัสกับ แรงต่าง ๆ อีกทั้งยังกันน้าซึมเข้าภายในสาย
  • 6. - คุณสมบัติ - การส่งสัญญาณผ่านเส้นใยนาแสง มีข้อได้เปรียบสายเคเบิล (Cable) หลายประการ เมื่อ ความถี่ที่ใช้ส่งสัญญาณสูงขึ้น ในสายเคเบิลก็มากขึ้นตามไปด้วย ทาให้สายเคเบิลสามารถ ใช้ส่งสัญญาณได้ในระยะสั้นๆ เท่านั้น ในทางกลับกันสายไฟเบอร์ออพติกนั้นสามารถใช้ ส่งสัญญาณได้ระยะทางไกลๆ ที่ความถี่หรือ Bandwidth สูงๆ จึงนามาใช้ในการสื่อสาร อย่างแพร่หลายเช่น Backbone Link LANs SANs หรือ Office Data Centers
  • 7. - ข้อดี-ข้อเสีย - ข้อดีของสายไฟเบอร์ออพติก 1 แบนด์วดธ์สงมาก ไม่มีสายอื่น ๆ ตามสื่อส่งข้อมูลที่มแบนด์วิธใยไม่ ิ ู ี 2. ง่ายต่อการรองรับแบนด์วิดธ์ที่เพิ่มขึน การใช้หลายรุ่นล่าสุดของสายไฟเบอร์ออปติกอุปกรณ์ ้ ใหม่สามารถเพิ่มสายเคเบิลใยเฉื่อยที่สามารถให้ความจุใหญ่โตกว้างขวางกว่าเส้นใยวางเดิม 3 ความต้านทานต่อการรบกวนแม่เหล็กไฟฟ้า ไฟเบอร์มีอัตราที่ต่ามากของข้อผิดพลาดบิต เป็น ผลมาจากเส้นใยจะเป็นเพื่อการทนต่อการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า ส่งผ่านใยแก้วนาแสง เป็นเสียงปราศจาก 4 เนินของความเสียหายและการส่งสายเคเบิลที่มความปลอดภัย จะคอยตรวจสอบเครือข่าย ่ ี ออปติคอลและโดยระมัดระวังการวัดเวลาที่ใช้แสงเพื่อสะท้อนให้เห็นถึงลงใย, splices ในสาย สามารถตรวจพบได้ง่าย
  • 8. - ข้อเสียของสายไฟเบอร์ออพติก - 1. ค่าใช้จ่ายการติดตังในขณะที่ลดลงยังคงสูง ้ 2. อุปกรณ์ทดสอบพิเศษ ราคาแพงอุปกรณ์ทดสอบพิเศษแสงเช่นฟิวส์แสงมีความ จาเป็นอย่างมากที่สุด 3 อ่อนแอจะเกิดความเสียหายทางกายภาพ ไฟเบอร์เป็นสายขนาดเล็กกะทัดรัดและมัน ก็เป็นอย่างอ่อนแอจะกลายเป็นตัดหรือความเสียหายในระหว่างกิจกรรมการติดตั้ง หรือก่อสร้าง
  • 9. - คาถาม - 1.สายไฟเบอร์ออพติกคืออะไร ตอบ สายนาสัญญาณที่ใช้แสงเป็นตัวกลางในการ สื่อสารข้อมูลจากจุดหนี่งไปยังอีกจุดหนึ่ง 2.โครงสร้างของเส้นใยนาแสงมีอะไรบ้าง ตอบ เส้นแก้ว ฉนวนเคลือบ ฉนวนป้องกัน ปลอกสายและเปลือกหุ้ม 3.สายไฟเบอร์ออพติกแบ่งการทางานออกเป็น2ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง.. ตอบ Tight Buffer แบบเดินภายในอาคาร และ Loose Tube แบบเดินภายนอกอาคาร
  • 10. 4. ข้อเสียของสายไฟเบอร์ออพติกมีอะไรบ้าง ยกตัวอย่างมา 2 ประการ ตอบ 1.ค่าใช้จ่ายการติดตั้งในขณะที่ลดลงยังคงสูง 2. อุปกรณ์ทดสอบพิเศษ ราคาแพงอุปกรณ์ทดสอบพิเศษแสงเช่นฟิวส์แสงมีความจาเป็นอย่างมากที่สุด 3. อ่อนแอจะเกิดความเสียหายทางกายภาพ ไฟเบอร์เป็นสายขนาดเล็กกะทัดรัดและมันก็เป็นอย่าง อ่อนแอจะกลายเป็นตัดหรือความเสียหายในระหว่างกิจกรรมการติดตั้งหรือก่อสร้าง 5. สายไฟเบอร์ออพติกมีข้อได้เปรียบจากสายเคเบิลอย่างไร ตอบ สายไฟเบอร์ออพติกนั้นสามารถใช้ส่งสัญญาณได้ระยะทางไกลๆ ที่ความถี่หรือ Bandwidth สูงๆ จึงนามาใช้ในการสื่อสารอย่างแพร่หลายเช่น Backbone Link LANs SANs หรือ Office Data Centers
  • 11. - อ้างอิง - http://klsharing.blogspot.com/2011/09/fiber-optic.html http://www.technicchan.ac.th/?name=article&file=read_article &id=36 http://translate.google.co.th/translate?hl=th&langpair=en%7Cth &u=http://hubtechinsider.wordpress.com/2009/06/04/the- advantages-and-disadvantages-of-fiber-optics/&ei=2xj- UO64FsqIrAeK5IGIDw