SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
สายไฟเบอร์ออฟติก
                เสนอ
      อ. ปิยวรรณ รัตนภานุศร
             จัดทาโดย
นาย เจตณัฐ หะวานนท์ ม.4/3 เลขที่ 6
 นาย พริษฐ์ กุลประดิษฐ์ ม.4/3 เลขที่ 10
สายไฟเบอร์ออฟติก
สาย Fiber Optic คือเส้นใยแก้วนาแสง กล่าวคือ สายนาสัญญาณที่ใช้แสงเป็นตัวกลางในการ
  สื่อสารข้อมูลจากจุดหนี่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยทาจากแก้วที่มีความบริสุทธิ์มาก เส้นใยแก้วนาแสงที่ดี
  ต้องสามารถนาสัญญาณแสงจากจุดหนึงไปอีกจุดหนึ่งโดยมีการสูญเสียของสัญญาณแสงน้อยที่สุด
                                      ่

      โครงสร้างของสาย Fiber Optic
      1. เส้นแก้ว (Core) เป็นตัวที่นาสัญญาณแสง จะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 62.5/125 um, 50/125
         um, 9/125 um
      2. ฉนวนเคลือบ (Cladding) เป็นสารที่ใช้ในการเคลือบแก้ว (Core) เพื่อให้นาสัญญาณได้ กล่าว
         คือแสงที่ถูกส่งไปในแกนแก้วจะถูกขังหรือเคลื่อนที่ไปตามสายไฟเบอร์ด้วยขบวนการสะท้อน
         กลับของแสง นิยมเคลือบจนมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 125 um
3. ฉนวนป้องกัน (Coating) เป็นเสมือนผนังของเส้นแก้วเป็นชั้นที่ต่อจาก Cladding เพื่อให้
    ปลอดภัยขึ้น และใช้ป้องกันแสงจากภายนอกไม่ให้เข้ามาภายในเส้นไฟเบอร์ มีเส้นผ่าศูนย์กลาง
    250 um
 4. ปลอกสาย (Buffer) เป็นเสมือนปลอกของสายหรือเสื้อชั้นในที่หุ้มป้องกันสาย และยังช่วยให้
    การโค้งงอของสายไฟเบอร์มีความยืดหยุ่นมากขึ้น มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 900 um
    (Buffer Tube)
 5. ปลอกหุ้ม (Jacket) เป็นเสมือนเสื้อชั้นนอกสุดของสายไฟเบอร์ที่ให้เกิดความเรียบร้อย และทา
    หน้าที่ป้องกันสายไฟเบอร์เป็นชั้นนอกสุดชนิดของ Jacket จะมีหลายชนิด ขึ้นอยู่กับการใช้งาน
    ว่าเป็นสายที่เดินภายในอาคาร (Indoor) หรือเดินภายนอกอาคาร (Outdoor)
สาย Fiber Optic แบ่งออกเป็น 2 แบบ
1. Single Mode (SM) มีเส้นผ่าศูนย์กลางของ Core และ Cladding 9/125 um ตามลาดับ ซึ่ง
   ส่วนของแกนแก้วจะมีขนาดเล็กมากและจะให้แสงออกมาเพียง Mode เดียว แสงที่ใช้จะต้องเป็น
   เส้นตรง ข้อดีทาให้ส่งสัญญาณได้ไกล
2. Multi Mode (MM) จะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของ Core และ Cladding 62/125 um และ
   50/125 um ตามลาดับ เนื่องจากขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของแกนมีขนาดใหญ่ ทาให้แนวแสงเกิด
   ขึ้นหลายโหมด โดยแต่ละ Mode จะมีระยะเวลาในการเดินทางที่แตกต่างกัน อันเป็นสาเหตุที่ทาให้
   เกิดการกระจายของแสง (Mode Dispersion)
สาย Fiber Optic แบ่งตามลักษณะการใช้งาน
       1. Tight Buffer เป็นสายไฟเบอร์แบบเดินภายในอาคาร (Indoor) โดยมีการหุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่งให้มี
          ความหนา 900 um เพื่อสะดวกในการใช้งานและป้องกันสายไฟเบอร์ในการติดตั้ง ปริมาณของ
          เส้นใยแก้วบรรจุอยู่ไม่มากนัก เช่น 4,6,8 Core ส่วนสายที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์จะมีขนาด 1
          Core ซึ่งเรียกว่า Simplex ขนาด 2 Core เรียกว่า Zip Core
       2. Loose Tube เป็นสายไฟเบอร์ที่ออกแบบมาใช้เดินภายนอกอาคาร (Outdoor) โดยการนาสายไฟ
          เบอร์มาไว้ในแท่งพลาสติก และใส่เยลกันน้าเข้าไป เพื่อป้องกันไม่ให้สัมผัสกับแรงต่างๆ อีกทั้งยัง
          กันน้าซึมเข้าภายในสาย สายแบบ Outdoor ยังแบ่งตามลักษณะการใช้งานได้อีกดังนี้
            2.1 Duct Cable เป็นสาย Fiber Optic แบบร้อยท่อ โครงสร้างของสายไม่มีส่วนใดเป็นตัวนา
                 ไฟฟ้า ซึ่งจะไม่มีปัญหาเรื่องฟ้าผ่า แต่จะมีความแข้งแรงทนทานน้อย ในการติดตั้งจึงควร
                 ร้อยไปในท่อ Conduit หรือ HDPE (High-Density-Polyethylene)
            2.2 Direct Burial เป็นสาย Fiber Optic ที่ออกแบบมาให้สามารถใช้ฝังดินได้โดยไม่ต้องร้อย
                 ท่อ โดยโครงสร้างของสายจะมีส่วนของ Steel Armored เกราะ ช่วยป้องกัน และเพิ่ม
                 ความแข็งแรงให้สาย
2.3 Figure - 8 เป็นสายไฟเบอร์ที่ใช้แขวนโยงระหว่างเสา โดยมีส่วนที่เป็นลวดสลิงทาหน้าที่รับ
              แรงดึงและประคองสาย จึงทาให้สายมีรูปร่างหน้าตัดแบบเลข 8 จึงเรียกว่า Figure - 8
         2.4 ADSS (All Dielectric Self Support) เป็นสายไฟเบอร์ ที่สามารถโยงระหว่างเสาได้ โดย
              ไม่ต้องมีลวดสลิงเพื่อประคองสาย เนื่องจากโครงสร้างของสายประเภทนี้ ได้ถูกออกแบบให้
              เป็น Double Jacket จึงทาให้มีความแข็งแรงสูง
    3. สายแบบ Indoor/Outdoor เป็นสายเคเบิลใยแก้วที่สามารถเดินได้ทั้งภายนอกและภายในอาคาร เป็น
       สายที่มีคุณสมบัติพิเศษที่เรียกว่า Low Smoke Zero Halogen (LSZH) ซึ่งเมื่อเกิดอัคคีภัย จะเกิด
       ควันน้อยและควันไม่เป็นพิษ เมื่อเทียบกับ Jacket ของสายชนิดอื่น ที่จะลามไฟง่ายและเกิดควันพิษ
       เนื่องจากการเดินสายในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเดินภายนอกอาคาร ด้วยสาย Outdoor แล้วเข้า
       อาคาร ซึ่งผิดมาตรฐานสากล ดังนั้นจึงควรใช้สายประเภทนี้เมื่อมีการเดินจากภายนอกเข้าสู่ภายใน
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403

More Related Content

Similar to สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403

Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Noppanut Bany
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407Aommy Arpajai
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Noppanut Bany
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406Panitnun Suwannarat
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407Woraya Ampornpisit
 
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403Uracha Choodee
 
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407Paksupa Pleehajinda
 
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406Bu Ba
 
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406Bu Ba
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404พิศลย์ ลือสมบูรณ์
 
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404Yamano Yumeyuki
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406Gunn Chaemkasem
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406Gunn Chaemkasem
 
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401Mink Chonnikan
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406Arutchapaun Trongsiriwat
 
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405Jaja Ch
 

Similar to สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403 (20)

Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
 
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
 
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
 
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
 
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
 
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404
 
สายคู่บิดเกลียว
สายคู่บิดเกลียวสายคู่บิดเกลียว
สายคู่บิดเกลียว
 
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
 
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
 
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
 

สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403

  • 1. สายไฟเบอร์ออฟติก เสนอ อ. ปิยวรรณ รัตนภานุศร จัดทาโดย นาย เจตณัฐ หะวานนท์ ม.4/3 เลขที่ 6 นาย พริษฐ์ กุลประดิษฐ์ ม.4/3 เลขที่ 10
  • 2. สายไฟเบอร์ออฟติก สาย Fiber Optic คือเส้นใยแก้วนาแสง กล่าวคือ สายนาสัญญาณที่ใช้แสงเป็นตัวกลางในการ สื่อสารข้อมูลจากจุดหนี่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยทาจากแก้วที่มีความบริสุทธิ์มาก เส้นใยแก้วนาแสงที่ดี ต้องสามารถนาสัญญาณแสงจากจุดหนึงไปอีกจุดหนึ่งโดยมีการสูญเสียของสัญญาณแสงน้อยที่สุด ่ โครงสร้างของสาย Fiber Optic 1. เส้นแก้ว (Core) เป็นตัวที่นาสัญญาณแสง จะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 62.5/125 um, 50/125 um, 9/125 um 2. ฉนวนเคลือบ (Cladding) เป็นสารที่ใช้ในการเคลือบแก้ว (Core) เพื่อให้นาสัญญาณได้ กล่าว คือแสงที่ถูกส่งไปในแกนแก้วจะถูกขังหรือเคลื่อนที่ไปตามสายไฟเบอร์ด้วยขบวนการสะท้อน กลับของแสง นิยมเคลือบจนมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 125 um
  • 3. 3. ฉนวนป้องกัน (Coating) เป็นเสมือนผนังของเส้นแก้วเป็นชั้นที่ต่อจาก Cladding เพื่อให้ ปลอดภัยขึ้น และใช้ป้องกันแสงจากภายนอกไม่ให้เข้ามาภายในเส้นไฟเบอร์ มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 250 um 4. ปลอกสาย (Buffer) เป็นเสมือนปลอกของสายหรือเสื้อชั้นในที่หุ้มป้องกันสาย และยังช่วยให้ การโค้งงอของสายไฟเบอร์มีความยืดหยุ่นมากขึ้น มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 900 um (Buffer Tube) 5. ปลอกหุ้ม (Jacket) เป็นเสมือนเสื้อชั้นนอกสุดของสายไฟเบอร์ที่ให้เกิดความเรียบร้อย และทา หน้าที่ป้องกันสายไฟเบอร์เป็นชั้นนอกสุดชนิดของ Jacket จะมีหลายชนิด ขึ้นอยู่กับการใช้งาน ว่าเป็นสายที่เดินภายในอาคาร (Indoor) หรือเดินภายนอกอาคาร (Outdoor)
  • 4. สาย Fiber Optic แบ่งออกเป็น 2 แบบ 1. Single Mode (SM) มีเส้นผ่าศูนย์กลางของ Core และ Cladding 9/125 um ตามลาดับ ซึ่ง ส่วนของแกนแก้วจะมีขนาดเล็กมากและจะให้แสงออกมาเพียง Mode เดียว แสงที่ใช้จะต้องเป็น เส้นตรง ข้อดีทาให้ส่งสัญญาณได้ไกล 2. Multi Mode (MM) จะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของ Core และ Cladding 62/125 um และ 50/125 um ตามลาดับ เนื่องจากขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของแกนมีขนาดใหญ่ ทาให้แนวแสงเกิด ขึ้นหลายโหมด โดยแต่ละ Mode จะมีระยะเวลาในการเดินทางที่แตกต่างกัน อันเป็นสาเหตุที่ทาให้ เกิดการกระจายของแสง (Mode Dispersion)
  • 5. สาย Fiber Optic แบ่งตามลักษณะการใช้งาน 1. Tight Buffer เป็นสายไฟเบอร์แบบเดินภายในอาคาร (Indoor) โดยมีการหุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่งให้มี ความหนา 900 um เพื่อสะดวกในการใช้งานและป้องกันสายไฟเบอร์ในการติดตั้ง ปริมาณของ เส้นใยแก้วบรรจุอยู่ไม่มากนัก เช่น 4,6,8 Core ส่วนสายที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์จะมีขนาด 1 Core ซึ่งเรียกว่า Simplex ขนาด 2 Core เรียกว่า Zip Core 2. Loose Tube เป็นสายไฟเบอร์ที่ออกแบบมาใช้เดินภายนอกอาคาร (Outdoor) โดยการนาสายไฟ เบอร์มาไว้ในแท่งพลาสติก และใส่เยลกันน้าเข้าไป เพื่อป้องกันไม่ให้สัมผัสกับแรงต่างๆ อีกทั้งยัง กันน้าซึมเข้าภายในสาย สายแบบ Outdoor ยังแบ่งตามลักษณะการใช้งานได้อีกดังนี้ 2.1 Duct Cable เป็นสาย Fiber Optic แบบร้อยท่อ โครงสร้างของสายไม่มีส่วนใดเป็นตัวนา ไฟฟ้า ซึ่งจะไม่มีปัญหาเรื่องฟ้าผ่า แต่จะมีความแข้งแรงทนทานน้อย ในการติดตั้งจึงควร ร้อยไปในท่อ Conduit หรือ HDPE (High-Density-Polyethylene) 2.2 Direct Burial เป็นสาย Fiber Optic ที่ออกแบบมาให้สามารถใช้ฝังดินได้โดยไม่ต้องร้อย ท่อ โดยโครงสร้างของสายจะมีส่วนของ Steel Armored เกราะ ช่วยป้องกัน และเพิ่ม ความแข็งแรงให้สาย
  • 6. 2.3 Figure - 8 เป็นสายไฟเบอร์ที่ใช้แขวนโยงระหว่างเสา โดยมีส่วนที่เป็นลวดสลิงทาหน้าที่รับ แรงดึงและประคองสาย จึงทาให้สายมีรูปร่างหน้าตัดแบบเลข 8 จึงเรียกว่า Figure - 8 2.4 ADSS (All Dielectric Self Support) เป็นสายไฟเบอร์ ที่สามารถโยงระหว่างเสาได้ โดย ไม่ต้องมีลวดสลิงเพื่อประคองสาย เนื่องจากโครงสร้างของสายประเภทนี้ ได้ถูกออกแบบให้ เป็น Double Jacket จึงทาให้มีความแข็งแรงสูง 3. สายแบบ Indoor/Outdoor เป็นสายเคเบิลใยแก้วที่สามารถเดินได้ทั้งภายนอกและภายในอาคาร เป็น สายที่มีคุณสมบัติพิเศษที่เรียกว่า Low Smoke Zero Halogen (LSZH) ซึ่งเมื่อเกิดอัคคีภัย จะเกิด ควันน้อยและควันไม่เป็นพิษ เมื่อเทียบกับ Jacket ของสายชนิดอื่น ที่จะลามไฟง่ายและเกิดควันพิษ เนื่องจากการเดินสายในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเดินภายนอกอาคาร ด้วยสาย Outdoor แล้วเข้า อาคาร ซึ่งผิดมาตรฐานสากล ดังนั้นจึงควรใช้สายประเภทนี้เมื่อมีการเดินจากภายนอกเข้าสู่ภายใน