SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
สายไฟเบอร์ออฟติก

               สมาชิก
1.น.ส.ณัชชา เอื้อนฤมลสุข เลขที่ 26
2.น.ส.กวิสรา ประณีตวตกุล เลขที่ 17
3.น.ส.ศิรภัสสร เริงเกษตรกิจ เลขที่ 14
                ม.4/4
สาย Fiber Optic คือ เส้นใยแก้วนาแสง กล่าวคือ
สายนาสัญญาณที่ใช้แสงเป็นตัวกลางในการสื่อสารข้อมูลจาก
จุดหนี่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยทาจากแก้วที่มีความบริสุทธิ์มาก
เส้นใยแก้วนาแสงทีดีต้องสามารถนาสัญญาณแสงจากจุดหนึ่ง
                   ่
ไปอีกจุดหนึ่งโดยมีการสูญเสียของสัญญาณแสงน้อยที่สุด
1. เส้นแก้ว (Core) เป็นตัวที่นาสัญญาณแสง จะมี
   เส้นผ่าศูนย์กลาง 62.5/125 um, 50/125 um,
   9/125 um
2.ฉนวนเคลือบ (Cladding) เป็นสารที่ใช้ในการ
   เคลือบแก้ว (Core) เพื่อให้นาสัญญาณได้ กล่าวคือ
   แสงที่ถูกส่งไปในแกนแก้วจะถูกขังหรือเคลื่อนที่ไป
   ตามสายไฟเบอร์ด้วยขบวนการสะท้อนกลับของแสง
   นิยมเคลือบจนมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 125 um
3. ฉนวนป้องกัน (Coating) เป็นเสมือนผนังของเส้นแก้ว
   เป็นชั้นที่ต่อจาก Cladding เพื่อให้ปลอดภัยขึ้น และใช้
   ป้องกันแสงจากภายนอกไม่ให้เข้ามาภายในเส้นไฟเบอร์
   มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 250 um
4. ปลอกสาย (Buffer) เป็นเสมือนปลอกของสายหรือเสื้อ
   ชั้นในที่หุ้มป้องกันสาย และยังช่วยให้การโค้งงอของ
   สายไฟเบอร์มีความยืดหยุ่นมากขึ้น มีเส้นผ่าศูนย์กลาง
   ประมาณ 900 um (Buffer Tube)
5. ปลอกหุ้ม (Jacket) เป็นเสมือนเสื้อชั้นนอกสุดของ
 สายไฟเบอร์ที่ให้เกิดความ เรียบร้อย และทาหน้าที่
 ป้องกันสายไฟเบอร์เป็นชั้นนอกสุดชนิดของ Jacket จะมี
 หลายชนิด ขึ้นอยู่กับการใช้งานว่าเป็นสายที่เดินภายใน
 อาคาร (Indoor) หรือเดินภายนอกอาคาร (Outdoor)
1. Single Mode (SM) มีเส้นผ่าศูนย์กลางของ Core และ
Cladding 9/125 um ตามลาดับ ซึ่งส่วนของแกนแก้วจะมี
ขนาดเล็กมากและจะให้แสงออกมาเพียง Mode เดียว แสงที่ใช้
จะต้องเป็นเส้นตรง ข้อดีทาให้ส่งสัญญาณได้ไกล
แบบของสายไฟเบอร์ออฟติก
2. Multi Mode (MM) จะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของ Core และ
 Cladding 62/125 um และ50/125 um ตามลาดับ เนืองจาก
                                             ่
 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของแกนมีขนาดใหญ่ ทาให้แนวแสงเกิดขึนหลาย
                                                       ้
 โหมด โดยแต่ละ Mode จะมีระยะเวลาในการเดินทางที่แตกต่างกัน อัน
 เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดการกระจายของแสง (Mode Dispersion)
1. Tight Buffer เป็นสายไฟเบอร์แบบ
เดินภายในอาคาร (Indoor) โดยมีการ
หุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่งให้มีความหนา 900
um เพื่อสะดวกในการใช้งานและป้องกัน
สายไฟเบอร์ในการติดตัง ปริมาณของเส้น
                        ้
ใยแก้วบรรจุอยู่ไม่มากนัก เช่น 4,6,8 Core
ส่วนสายที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์จะมี
ขนาด 1 Core ซึ่งเรียกว่า Simplex
ขนาด 2 Core เรียกว่า Zip Core
2. Loose Tube เป็นสายไฟเบอร์ที่
  ออกแบบมาใช้เดินภายนอกอาคาร
  (Outdoor) โดยการนาสายไฟเบอร์มาไว้
  ในแท่งพลาสติก และใส่เยลกันน้าเข้าไป
  เพื่อป้องกันไม่ให้สัมผัสกับแรงต่างๆ อีกทั้ง
  ยังกันน้าซึมเข้าภายในสาย สายแบบ
  Outdoor ยังแบ่งตามลักษณะการใช้งาน
  ได้อีกดังนี้
2.1 Duct Cable เป็นสาย Fiber Optic แบบร้อยท่อ
โครงสร้างของสายไม่มีส่วนใดเป็นตัวนาไฟฟ้า ซึ่งจะไม่มี
ปัญหาเรื่องฟ้าผ่า แต่จะมีความแข้งแรงทนทานน้อย ใน
การติดตั้งจึงควรร้อยไปในท่อ Conduit หรือ HDPE
(High-Density-Polyethylene)
2.2 Direct Burial เป็นสาย Fiber Optic ที่ออกแบบมา
ให้สามารถใช้ฝังดินได้โดยไม่ต้องร้อยท่อ โดยโครงสร้างของ
สายจะมีส่วนของ Steel Armored เกราะ ช่วยป้องกัน และ
เพิ่มความแข็งแรงให้สาย
2.3 Figure - 8 เป็นสายไฟเบอร์ที่ใช้แขวนโยง
ระหว่างเสา โดยมีส่วนที่เป็นลวดสลิงทาหน้าที่รับ
แรงดึงและประคองสาย จึงทาให้สายมีรูปร่าง
หน้าตัดแบบเลข 8 จึงเรียกว่า Figure – 8
2.4 ADSS (All Dielectric Self Support) เป็น
สายไฟเบอร์ ที่สามารถโยงระหว่างเสาได้ โดยไม่
ต้องมีลวดสลิงเพื่อประคองสาย เนื่องจาก
โครงสร้างของสายประเภทนี้ ได้ถูกออกแบบให้
เป็น Double Jacket จึงทาให้มีความแข็งแรงสูง
3. สายแบบ Indoor/Outdoor เป็นสายเคเบิลใย
แก้วที่สามารถเดินได้ทั้งภายนอกและภายในอาคาร
เป็นสายที่มีคุณสมบัติพิเศษที่เรียกว่า Low Smoke
Zero Halogen (LSZH) ซึ่งเมือเกิดอัคคีภัย จะ
                                  ่
เกิดควันน้อยและควันไม่เป็นพิษ เมือเทียบกับ Jacket
                                    ่
ของสายชนิดอื่นที่จะลามไฟง่ายและเกิดควันพิษ
เนื่องจากการเดินสายในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเดิน
ภายนอกอาคาร ด้วยสาย Outdoor แล้วเข้าอาคาร
ซึ่งผิดมาตรฐานสากล ดังนั้นจึงควรใช้สายประเภทนี้
เมื่อมีการเดินจากภายนอกเข้าสู่ภายใน
1.ค่าการลดทอนสัญญาณต่า โดยความยาวคลื่นแสงในช่วง
1.3-1.5 ไมครอน ลดทอนสัญญาณน้อยกว่า 0.35 dB/km
2.แบนด์วิดธ์กว้าง ทาให้สามารถส่งสัญญาณเคเบิลทีวีได้
มากกว่า 100 ช่อง ผ่านสายไฟเบอร์ออฟติกเพียงเส้นเดียว
3.โครงสร้างของสายไฟเบอร์ออฟติกมีขนาดเล็กและน้าหนักเบา
4.ราคาถูก ในปํจจุบันไฟเบอร์ออฟติกเริ่มเป็นที่ต้องการใน
ตลาดมากขึ้นจึงทาให้ราคาถูกลงอย่างมากเมื่อเทียบกับในอดีต
5.เป็นอิสระทางไฟฟ้า สายไฟเบอร์ออฟติกเป็นฉนวนไฟฟ้าหาก
มีสายไฟฟ้าเปลือยมาสัมผัสไม่สามารถทาให้สายไฟเบอร์ออฟติก
เสียหาย
6.ปราศจากสัญญาณรบกวน เนื่องจากคุณสมบัตความเป็น
                                          ิ
ฉนวนไฟฟ้าทาให้ไม่มีสัญญาณรบกวนจากภายนอกเข้ามา
รบกวนได้
7.มีความทนทานสูง หากสายไฟเบอร์ออฟติกไม่ถูกทาให้
แตกหักเสียหาย อายุการใช้งานสามารถใช้ได้นานนับร้อยปี
ข้อเสียของสายไฟเบอร์ออฟติก
1. มีราคาแพงกว่าสายส่งข้อมูลแบบสาย
คู่ตีเกลียวและโคแอกเชียล
2. ต้องใช้ความชานาญในการติดตั้ง
3. มีค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสูงกว่า สายคู่
ตีเกลียวและโคแอกเชียล
1.สายไฟเบอร์ออฟติกคืออะไร
2.โครงสร้างของสายไฟเบอร์ออฟติกมีกี่อย่าง และ
ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง
3.ความแตกต่างในทางคุณสมบัติของสายไฟเบอร์ออฟติก
แบบ single mode และ multi mode คืออะไร
4.สายไฟเบอร์ออฟติกชนิด tight buffer มีลักษณะ
อย่างไร
5.จงบอกข้อเสียของสายฟเบอร์ออฟติก
1.สาย Fiber Optic คือ เส้นใยแก้วนาแสง ซึ่งเป็นสายนาสัญญาณที่
ใช้แสงเป็นตัวกลางในการสื่อสารข้อมูลจากจุดหนี่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
โดยทาจากแก้วที่มีความบริสุทธิ์มาก
2.มีโครงสร้าง 5 อย่าง คือ เส้นแก้ว ฉนนวนเคลือบ ฉนวนป้องกัน
ปลอกสายและปลอกหุ้ม
3. Single Mode ส่วนของแกนแก้วจะมีขนาดเล็กมากและจะให้แสง
ออกมาเพียง Mode เดียว ทาให้ส่งสัญญาณได้ไกล แต่ Multi Mode
มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของแกนมีขนาดใหญ่ ทาให้แนวแสงเกิดขึ้นหลาย
โหมดทาให้เกิดการกระจายของแสง
4. Tight buffer เป็นสายไฟเบอร์แบบเดินภายในอาคาร (Indoor)
  โดยมี การหุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่งให้มีความหนา 900 um เพื่อสะดวกใน
  การใช้งานและ ป้องกันสายไฟเบอร์ในการติดตั้ง ปริมาณของเส้นใย
  แก้วบรรจุอยูไม่มากนัก
                ่
5. ข้อเสีย คือ มีราคาแพงกว่าสายส่งข้อมูลแบบสายคู่ตีเกลียวและโคแอก
  เชียล ต้องใช้ความชานาญในการติดตั้ง และมีค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสูง
  กว่า สายคู่ตีเกลียวและโคแอกเชียล
http://home.kku.ac.th/regis/student/Network%20S
ystem/Page6.html

http://www.catvthai.com/index.php?option=com_c
ontent&view=article&id=72&Itemid=69

http://klsharing.blogspot.com/2011/09/fiber-
optic.html

More Related Content

What's hot

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3Duduan
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันJariya Jaiyot
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทDew Thamita
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48Unity' Aing
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าdnavaroj
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01Apinya Phuadsing
 
009 pat 3
009 pat 3009 pat 3
009 pat 3konosor
 
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆKankamol Kunrat
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionSaipanya school
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 

What's hot (20)

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
 
Fibers
FibersFibers
Fibers
 
A brief-guide-for-tobacco-control
A brief-guide-for-tobacco-controlA brief-guide-for-tobacco-control
A brief-guide-for-tobacco-control
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
009 pat 3
009 pat 3009 pat 3
009 pat 3
 
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10 ใบงานที่10
ใบงานที่10
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solution
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 

Viewers also liked

สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402Pibi Densiriaksorn
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)Worawut Thongchan
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffsพื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center StaffsChideeHom
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟPeerapas Trungtreechut
 
สายโครแอกเชียล(ธนชาติ พชรพล)407
สายโครแอกเชียล(ธนชาติ พชรพล)407สายโครแอกเชียล(ธนชาติ พชรพล)407
สายโครแอกเชียล(ธนชาติ พชรพล)407Gy Thanachat
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407Woraya Ampornpisit
 
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403Piyawan
 
optical fibre ppt for download visit http://nowcracktheworld.blogspot.in/
optical fibre  ppt for download visit http://nowcracktheworld.blogspot.in/optical fibre  ppt for download visit http://nowcracktheworld.blogspot.in/
optical fibre ppt for download visit http://nowcracktheworld.blogspot.in/Ram Niwas Bajiya
 
Optical fiber communiction system
Optical fiber communiction systemOptical fiber communiction system
Optical fiber communiction systemrahulohlan14
 
Can We Assess Creativity?
Can We Assess Creativity?Can We Assess Creativity?
Can We Assess Creativity?John Spencer
 
Guided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of ItGuided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of ItJennifer Jones
 

Viewers also liked (14)

สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffsพื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟ
 
สายโครแอกเชียล(ธนชาติ พชรพล)407
สายโครแอกเชียล(ธนชาติ พชรพล)407สายโครแอกเชียล(ธนชาติ พชรพล)407
สายโครแอกเชียล(ธนชาติ พชรพล)407
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
 
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403
 
Supercapacitors as an Energy Storage Device
Supercapacitors as an Energy Storage DeviceSupercapacitors as an Energy Storage Device
Supercapacitors as an Energy Storage Device
 
optical fibre ppt for download visit http://nowcracktheworld.blogspot.in/
optical fibre  ppt for download visit http://nowcracktheworld.blogspot.in/optical fibre  ppt for download visit http://nowcracktheworld.blogspot.in/
optical fibre ppt for download visit http://nowcracktheworld.blogspot.in/
 
Optical fiber communiction system
Optical fiber communiction systemOptical fiber communiction system
Optical fiber communiction system
 
Can We Assess Creativity?
Can We Assess Creativity?Can We Assess Creativity?
Can We Assess Creativity?
 
Guided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of ItGuided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of It
 

Similar to สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404

สายไฟเบอร์ออพติก
สายไฟเบอร์ออพติกสายไฟเบอร์ออพติก
สายไฟเบอร์ออพติกGunn Chaemkasem
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403Pharist Kulpradit
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)Ploy's Sutantirat
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406Panitnun Suwannarat
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407Aommy Arpajai
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Noppanut Bany
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Noppanut Bany
 
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407Paksupa Pleehajinda
 
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัทวุฒิ)406
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัทวุฒิ)406สายไฟเบอร์ออพติก(ณัทวุฒิ)406
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัทวุฒิ)406BK KB
 
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405Jaja Ch
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406Gunn Chaemkasem
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406Gunn Chaemkasem
 
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403Uracha Choodee
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404พิศลย์ ลือสมบูรณ์
 
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405Kaimin Ngaokrajang
 

Similar to สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404 (20)

สายไฟเบอร์ออพติก
สายไฟเบอร์ออพติกสายไฟเบอร์ออพติก
สายไฟเบอร์ออพติก
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
 
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
 
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัทวุฒิ)406
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัทวุฒิ)406สายไฟเบอร์ออพติก(ณัทวุฒิ)406
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัทวุฒิ)406
 
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
 
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
 
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404
สายไฟเบอร์ออพติก(พิศลย์+ภิญญ์พิสิฐ)404
 
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
 
4
44
4
 

สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404

  • 1. สายไฟเบอร์ออฟติก สมาชิก 1.น.ส.ณัชชา เอื้อนฤมลสุข เลขที่ 26 2.น.ส.กวิสรา ประณีตวตกุล เลขที่ 17 3.น.ส.ศิรภัสสร เริงเกษตรกิจ เลขที่ 14 ม.4/4
  • 2. สาย Fiber Optic คือ เส้นใยแก้วนาแสง กล่าวคือ สายนาสัญญาณที่ใช้แสงเป็นตัวกลางในการสื่อสารข้อมูลจาก จุดหนี่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยทาจากแก้วที่มีความบริสุทธิ์มาก เส้นใยแก้วนาแสงทีดีต้องสามารถนาสัญญาณแสงจากจุดหนึ่ง ่ ไปอีกจุดหนึ่งโดยมีการสูญเสียของสัญญาณแสงน้อยที่สุด
  • 3. 1. เส้นแก้ว (Core) เป็นตัวที่นาสัญญาณแสง จะมี เส้นผ่าศูนย์กลาง 62.5/125 um, 50/125 um, 9/125 um 2.ฉนวนเคลือบ (Cladding) เป็นสารที่ใช้ในการ เคลือบแก้ว (Core) เพื่อให้นาสัญญาณได้ กล่าวคือ แสงที่ถูกส่งไปในแกนแก้วจะถูกขังหรือเคลื่อนที่ไป ตามสายไฟเบอร์ด้วยขบวนการสะท้อนกลับของแสง นิยมเคลือบจนมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 125 um
  • 4. 3. ฉนวนป้องกัน (Coating) เป็นเสมือนผนังของเส้นแก้ว เป็นชั้นที่ต่อจาก Cladding เพื่อให้ปลอดภัยขึ้น และใช้ ป้องกันแสงจากภายนอกไม่ให้เข้ามาภายในเส้นไฟเบอร์ มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 250 um 4. ปลอกสาย (Buffer) เป็นเสมือนปลอกของสายหรือเสื้อ ชั้นในที่หุ้มป้องกันสาย และยังช่วยให้การโค้งงอของ สายไฟเบอร์มีความยืดหยุ่นมากขึ้น มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 900 um (Buffer Tube)
  • 5. 5. ปลอกหุ้ม (Jacket) เป็นเสมือนเสื้อชั้นนอกสุดของ สายไฟเบอร์ที่ให้เกิดความ เรียบร้อย และทาหน้าที่ ป้องกันสายไฟเบอร์เป็นชั้นนอกสุดชนิดของ Jacket จะมี หลายชนิด ขึ้นอยู่กับการใช้งานว่าเป็นสายที่เดินภายใน อาคาร (Indoor) หรือเดินภายนอกอาคาร (Outdoor)
  • 6. 1. Single Mode (SM) มีเส้นผ่าศูนย์กลางของ Core และ Cladding 9/125 um ตามลาดับ ซึ่งส่วนของแกนแก้วจะมี ขนาดเล็กมากและจะให้แสงออกมาเพียง Mode เดียว แสงที่ใช้ จะต้องเป็นเส้นตรง ข้อดีทาให้ส่งสัญญาณได้ไกล
  • 7. แบบของสายไฟเบอร์ออฟติก 2. Multi Mode (MM) จะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของ Core และ Cladding 62/125 um และ50/125 um ตามลาดับ เนืองจาก ่ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของแกนมีขนาดใหญ่ ทาให้แนวแสงเกิดขึนหลาย ้ โหมด โดยแต่ละ Mode จะมีระยะเวลาในการเดินทางที่แตกต่างกัน อัน เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดการกระจายของแสง (Mode Dispersion)
  • 8. 1. Tight Buffer เป็นสายไฟเบอร์แบบ เดินภายในอาคาร (Indoor) โดยมีการ หุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่งให้มีความหนา 900 um เพื่อสะดวกในการใช้งานและป้องกัน สายไฟเบอร์ในการติดตัง ปริมาณของเส้น ้ ใยแก้วบรรจุอยู่ไม่มากนัก เช่น 4,6,8 Core ส่วนสายที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์จะมี ขนาด 1 Core ซึ่งเรียกว่า Simplex ขนาด 2 Core เรียกว่า Zip Core
  • 9. 2. Loose Tube เป็นสายไฟเบอร์ที่ ออกแบบมาใช้เดินภายนอกอาคาร (Outdoor) โดยการนาสายไฟเบอร์มาไว้ ในแท่งพลาสติก และใส่เยลกันน้าเข้าไป เพื่อป้องกันไม่ให้สัมผัสกับแรงต่างๆ อีกทั้ง ยังกันน้าซึมเข้าภายในสาย สายแบบ Outdoor ยังแบ่งตามลักษณะการใช้งาน ได้อีกดังนี้
  • 10. 2.1 Duct Cable เป็นสาย Fiber Optic แบบร้อยท่อ โครงสร้างของสายไม่มีส่วนใดเป็นตัวนาไฟฟ้า ซึ่งจะไม่มี ปัญหาเรื่องฟ้าผ่า แต่จะมีความแข้งแรงทนทานน้อย ใน การติดตั้งจึงควรร้อยไปในท่อ Conduit หรือ HDPE (High-Density-Polyethylene)
  • 11. 2.2 Direct Burial เป็นสาย Fiber Optic ที่ออกแบบมา ให้สามารถใช้ฝังดินได้โดยไม่ต้องร้อยท่อ โดยโครงสร้างของ สายจะมีส่วนของ Steel Armored เกราะ ช่วยป้องกัน และ เพิ่มความแข็งแรงให้สาย
  • 12. 2.3 Figure - 8 เป็นสายไฟเบอร์ที่ใช้แขวนโยง ระหว่างเสา โดยมีส่วนที่เป็นลวดสลิงทาหน้าที่รับ แรงดึงและประคองสาย จึงทาให้สายมีรูปร่าง หน้าตัดแบบเลข 8 จึงเรียกว่า Figure – 8 2.4 ADSS (All Dielectric Self Support) เป็น สายไฟเบอร์ ที่สามารถโยงระหว่างเสาได้ โดยไม่ ต้องมีลวดสลิงเพื่อประคองสาย เนื่องจาก โครงสร้างของสายประเภทนี้ ได้ถูกออกแบบให้ เป็น Double Jacket จึงทาให้มีความแข็งแรงสูง
  • 13. 3. สายแบบ Indoor/Outdoor เป็นสายเคเบิลใย แก้วที่สามารถเดินได้ทั้งภายนอกและภายในอาคาร เป็นสายที่มีคุณสมบัติพิเศษที่เรียกว่า Low Smoke Zero Halogen (LSZH) ซึ่งเมือเกิดอัคคีภัย จะ ่ เกิดควันน้อยและควันไม่เป็นพิษ เมือเทียบกับ Jacket ่ ของสายชนิดอื่นที่จะลามไฟง่ายและเกิดควันพิษ เนื่องจากการเดินสายในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเดิน ภายนอกอาคาร ด้วยสาย Outdoor แล้วเข้าอาคาร ซึ่งผิดมาตรฐานสากล ดังนั้นจึงควรใช้สายประเภทนี้ เมื่อมีการเดินจากภายนอกเข้าสู่ภายใน
  • 14. 1.ค่าการลดทอนสัญญาณต่า โดยความยาวคลื่นแสงในช่วง 1.3-1.5 ไมครอน ลดทอนสัญญาณน้อยกว่า 0.35 dB/km 2.แบนด์วิดธ์กว้าง ทาให้สามารถส่งสัญญาณเคเบิลทีวีได้ มากกว่า 100 ช่อง ผ่านสายไฟเบอร์ออฟติกเพียงเส้นเดียว 3.โครงสร้างของสายไฟเบอร์ออฟติกมีขนาดเล็กและน้าหนักเบา 4.ราคาถูก ในปํจจุบันไฟเบอร์ออฟติกเริ่มเป็นที่ต้องการใน ตลาดมากขึ้นจึงทาให้ราคาถูกลงอย่างมากเมื่อเทียบกับในอดีต
  • 15. 5.เป็นอิสระทางไฟฟ้า สายไฟเบอร์ออฟติกเป็นฉนวนไฟฟ้าหาก มีสายไฟฟ้าเปลือยมาสัมผัสไม่สามารถทาให้สายไฟเบอร์ออฟติก เสียหาย 6.ปราศจากสัญญาณรบกวน เนื่องจากคุณสมบัตความเป็น ิ ฉนวนไฟฟ้าทาให้ไม่มีสัญญาณรบกวนจากภายนอกเข้ามา รบกวนได้ 7.มีความทนทานสูง หากสายไฟเบอร์ออฟติกไม่ถูกทาให้ แตกหักเสียหาย อายุการใช้งานสามารถใช้ได้นานนับร้อยปี
  • 18. 1.สาย Fiber Optic คือ เส้นใยแก้วนาแสง ซึ่งเป็นสายนาสัญญาณที่ ใช้แสงเป็นตัวกลางในการสื่อสารข้อมูลจากจุดหนี่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยทาจากแก้วที่มีความบริสุทธิ์มาก 2.มีโครงสร้าง 5 อย่าง คือ เส้นแก้ว ฉนนวนเคลือบ ฉนวนป้องกัน ปลอกสายและปลอกหุ้ม 3. Single Mode ส่วนของแกนแก้วจะมีขนาดเล็กมากและจะให้แสง ออกมาเพียง Mode เดียว ทาให้ส่งสัญญาณได้ไกล แต่ Multi Mode มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของแกนมีขนาดใหญ่ ทาให้แนวแสงเกิดขึ้นหลาย โหมดทาให้เกิดการกระจายของแสง
  • 19. 4. Tight buffer เป็นสายไฟเบอร์แบบเดินภายในอาคาร (Indoor) โดยมี การหุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่งให้มีความหนา 900 um เพื่อสะดวกใน การใช้งานและ ป้องกันสายไฟเบอร์ในการติดตั้ง ปริมาณของเส้นใย แก้วบรรจุอยูไม่มากนัก ่ 5. ข้อเสีย คือ มีราคาแพงกว่าสายส่งข้อมูลแบบสายคู่ตีเกลียวและโคแอก เชียล ต้องใช้ความชานาญในการติดตั้ง และมีค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสูง กว่า สายคู่ตีเกลียวและโคแอกเชียล