SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
สายไฟเบอร์ออพติก



           นาเสนอ
 อ.ปิยวรรณ        รัตนภานุศร
             โดย
         ณัทวุฒิ สมัย
Fiber Optic คืออะไร

• Fiber Optic คือ สายสัญญาณของระบบเครือข่ายอีกชนิดหนึ่ง ที่มี
  ความสามารถในการรับ-ส่งสัญญาณได้ไกลๆ เป็นกิโลเมตร และมีการ
  สูญเสียของสัญญาณน้อยมาก เมื่อเทียบกับสายแลนทั่วๆ ไป (CAT5,
  CAT5e, CAT6, CAT7 เป็นต้น)
• Fiber Optic เรียกเป็นภาษาไทยว่า "เส้นใยแก้วนาแสง"
สายไฟเบอร์ ประกอบด้วยอะไรบ้าง?
โครงสร้างของสาย Fiber Optic นัน จะมีชนของ Jacket ทีละชัน มีดงนี้
                                   ้         ั้                  ้        ั
   1.เส้นแก้ว (Optical Core) ซึง่ เป็นตัวนาสัญญาณ จะมีขนาดและเส้นผ่าศูนย์กลาง 9 mm, 50
   mm และ 62.5 mm
   2.ฉนวนเคลือบ (Codding) เป็นสารเคลือบแก้วให้นาสัญญาณได้ นิยมเคลือบจนแก้วมี
   เส้นผ่าศูนย์กลาง 125 mm
   3.ฉนวนป้องกัน (Coating) เป็นเสมือนผนังของเส้นแก้วทีเ่ คลือบให้ปลอดภัยขึน และใส่สีที่
                                                                          ้
   ผนังชันนี้ ซึงจะเคลือบจนมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 250 mm
         ้      ่
   4.ปลอกสาย (Buffer) เป็นเสมือนปลอกสาย หรือเสื้อชันในทีหมป้องกัน มักมีขนาด
                                                   ้    ่ ุ้
   เส้นผ่าศูนย์กลาง 900 mm (นิยมเรียก Buffer Tube)
   5.ปลอกหุม (Jacket) เป็นเสมือนเสือนอกที่ใส่ให้เกิดความเรียบร้อย ฉนวนชันนีจะมีความแตกต่าง
           ้                       ้                                    ้ ้
   ตามการใช้งานได้แก่ Indoor, Outdoor เป็นต้น
คุณสมบัติของ Fiber Optic
•   Fiber Optic ภายในทาจากแก้วที่มีความบริสุทธิ์สูงมาก
•   มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดเท่าเส้นผมของคนเรา
•   รับส่งสัญญาณได้ระยะไกลมากเป็นกิโลเมตร
•   ต้องใช้ผู้ชานาญ และเครื่องมือเฉพาะในการเข้าหัวสัญญาณ
•   ราคาแพงหลายเท่า เมื่อเทียบกับสายแลนประเภท CAT5
Fiber Optic แบ่งออกได้ 2 ประเภท
• เส้นใยแก้วนาแสงชนิดโหมดเดี่ยว (Singlemode Optical Fibers, SM)
• เส้นใยแก้วนาแสงชนิดหลายโหมด (Multimode Optical Fibers, MM)
การนาไปใช้งานของ Fiber Optic
• ตึกสูงๆ ที่ต้องการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย ทาเป็น Backbone (สายรับส่ง
  สัญญาณข้อมูลหลัก)
• ระบบการรับส่งสัญญาณภาพ วีดีโอ ตามพื้นที่ต่างๆ
• การเชื่อมต่อสัญญาณระยะไกล
• และอื่นๆ อีกมากมาย
ข้อดีของไฟเบอร์ออฟติก
            การนาไฟเบอร์ออปติกมาใช้แทนสายเมนโคแอคเชียลที่มีระยะทางไกลๆ หรือ นามาใช้เป็น
    เสมือนมีสถานีส่งอีกสถานีหนึ่งหรือหลายสถานี สามารถช่วยให้สามารถขยายฐานลูกค้าได้อย่างไม่จากัด
    รวมทั่งยังช่วยให้ลดปริมาณค่าใช้จ่ายในการดูแลห้องส่ง ค่าไฟฟ้า รวมทั้งค่าบารุงรักษา ในกรณีที่มีห้อง
    ส่งหลายๆ สถานีได้อีกด้วย นอกจากนี้แล้วในทางเทคนิคหากจะกล่าวถึงข้อดีของสายไฟเบอร์ออฟติก
    อาจแยกย่อยได้เป็นข้อๆ ดังนี้
•   ค่าการลดทอนสัญญาณต่า โดยความยาวคลื่นแสงในช่วง 1.3-1.5 ไมครอน ลดทอนสัญญาณน้อยกว่า
    0.35 dB/km
•   แบนด์วิดธ์กว้าง ทาให้สามารถส่งสัญญาณเคเบิลทีวีได้มากกว่า 100 ช่อง ผ่านสายไฟเบอร์ออฟติกเพียง
    เส้นเดียว
•   โครงสร้างของสายไฟเบอร์ออฟติกมีขนาดเล็กและน้าหนักเบา
•   ราคาถูก ในปํจจุบันไฟเบอร์ออฟติกเริ่มเป็นที่ต้องการในตลาดมากขึ้นจึงทาให้ราคาถูกลงอย่างมากเมื่อ
    เทียบกับในอดีต
•   เป็นอิสระทางไฟฟ้า สายไฟเบอร์ออฟติกเป็นฉนวนไฟฟ้าหากมีสายไฟฟ้าเปลือยมาสัมผัสไม่สามารถทา
    ให้สายไฟเบอร์ออฟติกเสียหาย
•   ปราศจากสัญญาณรบกวน เนื่องจากคุณสมบัติความเป็นฉนวนไฟฟ้าทาให้ไม่มีสัญญาณรบกวนจาก
    ภายนอกเข้ามารบกวนได้
•   มีความทนทานสูง หากสายไฟเบอร์ออฟติกไม่ถูกทาให้แตกหักเสียหาย อายุการใช้งานสามารถใช้ได้
    นานนับร้อยปี
ข้อเสียของสายไฟเบอร์ออฟติก
• การสูญเสียของสัญญาณแสงในสาย Fiber Optic
• เป็นส่วนสาคัญที่ทาให้เกิดความผิดพลาดของข้อมูลข่าวสาร ทาให้การ เชื่อมต่อสื่อสารด้วยระยะทางไม่เป็นไปตามที่
  คาดหวัง (ปกติสาย Fiber Optic สามารถเชื่อมต่อได้ด้วยระยะทางที่ยาวเกินกว่า 1-2 กิโลเมตร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่า ใช้
  สาย Fiber Optic แบบใด รวมทั้งยังขึ้นอยู่กับโปรโตคอลของเครือข่าย อย่างไรก็ดีการสูญเสียของ กาลังแสงในสาย
  มีหลายประการดังนี้
  1. ความสูญเสีย Power ของ Fiber Optic นั้นขึ้นอยู่กับ ความยาวคลื่นที่ใช้ ความยาวคลื่นยิ่งมาก อัตราการสูญเสีย
  ของ แสงจะน้อยลง เช่น การสูญเสียกาลังแสง บนความยาวคลื่น 1300 nm ได้แก่ <0.5 dB/กิโลเมตร
  2. สาหรับ Silica Glass นั้น ความยาวคลื่นสั้นที่สุด จะมีอัตราการสูญเสียมากที่สุด
  3. อัตราการสูญเสีย Power ที่น้อยที่สุด ได้แก่ ความยาวคลื่น 1550 nm
  4. หน่วยวัดที่แสดงการสูญเสียของ Power ได้แก่ Decibel (dB) โดยมีหน่วยคิดเป็น dB ต่อกิโลเมตร
  5. ค่านี้ ถูกนามาคานวณ โดยเอาความยาวทั้งหมดของสาย Fiber Optic คิดเป็น Km
  6. การสูญเสียของ Fiber Optic สามารถมีสาเหตุหลายประการดังนี้
  - Extrinsic
  - Bending Loss เนื่องจากการโค้งงอของสาย เกินค่ามาตรฐานที่ผู้ผลิตกาหนด
  - การสูญเสียอันเนื่องมาจากการ ทา Splice รวมทั้งการเข้าหัวสายที่ไม่สมบูรณ์
  - การสูญเสียเนื่องจากรอยแตกหักเกิดขึ้นทีพื้นผิว
                                              ่
  - การสูญเสียอันเนื่องจาก มุมแสงไม่เป็นไปตามคุณลักษณะจาเพาะของผู้ผลิต (Numeric Aperture Mismatch)
คาถาม
1.   ชื่อภาษาไทยของไฟเบอร์ออฟติกคืออะไร
2.   Fiber optic มีกี่ปรเภท
3.   ข้อดีของ fiber-optic คืออะไร
4.   การนาเอา fiber-optic ไปใช้ใด้อย่างไร
5.   Fiber-optic ทาขึ้นมาเพื่อแทนอะไร
เฉลย
• 1.เรียกว่าเส้นใยแก้วนาแสง
• 2. มี 2ประเภท
อ้างอิง
• http://www.it-guides.com/training-a-tutorial/network-
  system/804-what-is-fiber-optic/

More Related Content

What's hot

สายใยแก้วนำแสง
สายใยแก้วนำแสงสายใยแก้วนำแสง
สายใยแก้วนำแสงsekzazo
 
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404Yamano Yumeyuki
 
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406Arutchapaun Trongsiriwat
 
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสารช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสารPaksorn Runlert
 
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401Blank Jirayusw
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Samakthanyakit Theptas
 

What's hot (6)

สายใยแก้วนำแสง
สายใยแก้วนำแสงสายใยแก้วนำแสง
สายใยแก้วนำแสง
 
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
 
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
 
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสารช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
 
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 

Similar to สายไฟเบอร์ออพติก(ณัทวุฒิ)406

Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Noppanut Bany
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406Panitnun Suwannarat
 
สายโคแอกเชียล(คำนวณ+ธีรภัทร)406
สายโคแอกเชียล(คำนวณ+ธีรภัทร)406สายโคแอกเชียล(คำนวณ+ธีรภัทร)406
สายโคแอกเชียล(คำนวณ+ธีรภัทร)406Kamnuan Jompuk
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407Woraya Ampornpisit
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407Aommy Arpajai
 
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะtuplschool
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)supatra2011
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)Ploy's Sutantirat
 
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่alisa1421
 
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่Paweena Man
 
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406Bu Ba
 
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406Bu Ba
 
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401Mink Chonnikan
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNETระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNETAdisak Kammungkun
 

Similar to สายไฟเบอร์ออพติก(ณัทวุฒิ)406 (20)

Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
 
สายโคแอกเชียล(คำนวณ+ธีรภัทร)406
สายโคแอกเชียล(คำนวณ+ธีรภัทร)406สายโคแอกเชียล(คำนวณ+ธีรภัทร)406
สายโคแอกเชียล(คำนวณ+ธีรภัทร)406
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
 
Media
MediaMedia
Media
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
 
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
 
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
 
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
 
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
 
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
 
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
 
Media
MediaMedia
Media
 
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNETระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
 
มาตรฐาน Ieee
มาตรฐาน Ieeeมาตรฐาน Ieee
มาตรฐาน Ieee
 

สายไฟเบอร์ออพติก(ณัทวุฒิ)406

  • 1. สายไฟเบอร์ออพติก นาเสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร โดย ณัทวุฒิ สมัย
  • 2. Fiber Optic คืออะไร • Fiber Optic คือ สายสัญญาณของระบบเครือข่ายอีกชนิดหนึ่ง ที่มี ความสามารถในการรับ-ส่งสัญญาณได้ไกลๆ เป็นกิโลเมตร และมีการ สูญเสียของสัญญาณน้อยมาก เมื่อเทียบกับสายแลนทั่วๆ ไป (CAT5, CAT5e, CAT6, CAT7 เป็นต้น) • Fiber Optic เรียกเป็นภาษาไทยว่า "เส้นใยแก้วนาแสง"
  • 3. สายไฟเบอร์ ประกอบด้วยอะไรบ้าง? โครงสร้างของสาย Fiber Optic นัน จะมีชนของ Jacket ทีละชัน มีดงนี้ ้ ั้ ้ ั 1.เส้นแก้ว (Optical Core) ซึง่ เป็นตัวนาสัญญาณ จะมีขนาดและเส้นผ่าศูนย์กลาง 9 mm, 50 mm และ 62.5 mm 2.ฉนวนเคลือบ (Codding) เป็นสารเคลือบแก้วให้นาสัญญาณได้ นิยมเคลือบจนแก้วมี เส้นผ่าศูนย์กลาง 125 mm 3.ฉนวนป้องกัน (Coating) เป็นเสมือนผนังของเส้นแก้วทีเ่ คลือบให้ปลอดภัยขึน และใส่สีที่ ้ ผนังชันนี้ ซึงจะเคลือบจนมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 250 mm ้ ่ 4.ปลอกสาย (Buffer) เป็นเสมือนปลอกสาย หรือเสื้อชันในทีหมป้องกัน มักมีขนาด ้ ่ ุ้ เส้นผ่าศูนย์กลาง 900 mm (นิยมเรียก Buffer Tube) 5.ปลอกหุม (Jacket) เป็นเสมือนเสือนอกที่ใส่ให้เกิดความเรียบร้อย ฉนวนชันนีจะมีความแตกต่าง ้ ้ ้ ้ ตามการใช้งานได้แก่ Indoor, Outdoor เป็นต้น
  • 4. คุณสมบัติของ Fiber Optic • Fiber Optic ภายในทาจากแก้วที่มีความบริสุทธิ์สูงมาก • มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดเท่าเส้นผมของคนเรา • รับส่งสัญญาณได้ระยะไกลมากเป็นกิโลเมตร • ต้องใช้ผู้ชานาญ และเครื่องมือเฉพาะในการเข้าหัวสัญญาณ • ราคาแพงหลายเท่า เมื่อเทียบกับสายแลนประเภท CAT5
  • 5. Fiber Optic แบ่งออกได้ 2 ประเภท • เส้นใยแก้วนาแสงชนิดโหมดเดี่ยว (Singlemode Optical Fibers, SM) • เส้นใยแก้วนาแสงชนิดหลายโหมด (Multimode Optical Fibers, MM)
  • 6. การนาไปใช้งานของ Fiber Optic • ตึกสูงๆ ที่ต้องการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย ทาเป็น Backbone (สายรับส่ง สัญญาณข้อมูลหลัก) • ระบบการรับส่งสัญญาณภาพ วีดีโอ ตามพื้นที่ต่างๆ • การเชื่อมต่อสัญญาณระยะไกล • และอื่นๆ อีกมากมาย
  • 7. ข้อดีของไฟเบอร์ออฟติก การนาไฟเบอร์ออปติกมาใช้แทนสายเมนโคแอคเชียลที่มีระยะทางไกลๆ หรือ นามาใช้เป็น เสมือนมีสถานีส่งอีกสถานีหนึ่งหรือหลายสถานี สามารถช่วยให้สามารถขยายฐานลูกค้าได้อย่างไม่จากัด รวมทั่งยังช่วยให้ลดปริมาณค่าใช้จ่ายในการดูแลห้องส่ง ค่าไฟฟ้า รวมทั้งค่าบารุงรักษา ในกรณีที่มีห้อง ส่งหลายๆ สถานีได้อีกด้วย นอกจากนี้แล้วในทางเทคนิคหากจะกล่าวถึงข้อดีของสายไฟเบอร์ออฟติก อาจแยกย่อยได้เป็นข้อๆ ดังนี้ • ค่าการลดทอนสัญญาณต่า โดยความยาวคลื่นแสงในช่วง 1.3-1.5 ไมครอน ลดทอนสัญญาณน้อยกว่า 0.35 dB/km • แบนด์วิดธ์กว้าง ทาให้สามารถส่งสัญญาณเคเบิลทีวีได้มากกว่า 100 ช่อง ผ่านสายไฟเบอร์ออฟติกเพียง เส้นเดียว • โครงสร้างของสายไฟเบอร์ออฟติกมีขนาดเล็กและน้าหนักเบา • ราคาถูก ในปํจจุบันไฟเบอร์ออฟติกเริ่มเป็นที่ต้องการในตลาดมากขึ้นจึงทาให้ราคาถูกลงอย่างมากเมื่อ เทียบกับในอดีต • เป็นอิสระทางไฟฟ้า สายไฟเบอร์ออฟติกเป็นฉนวนไฟฟ้าหากมีสายไฟฟ้าเปลือยมาสัมผัสไม่สามารถทา ให้สายไฟเบอร์ออฟติกเสียหาย • ปราศจากสัญญาณรบกวน เนื่องจากคุณสมบัติความเป็นฉนวนไฟฟ้าทาให้ไม่มีสัญญาณรบกวนจาก ภายนอกเข้ามารบกวนได้ • มีความทนทานสูง หากสายไฟเบอร์ออฟติกไม่ถูกทาให้แตกหักเสียหาย อายุการใช้งานสามารถใช้ได้ นานนับร้อยปี
  • 8. ข้อเสียของสายไฟเบอร์ออฟติก • การสูญเสียของสัญญาณแสงในสาย Fiber Optic • เป็นส่วนสาคัญที่ทาให้เกิดความผิดพลาดของข้อมูลข่าวสาร ทาให้การ เชื่อมต่อสื่อสารด้วยระยะทางไม่เป็นไปตามที่ คาดหวัง (ปกติสาย Fiber Optic สามารถเชื่อมต่อได้ด้วยระยะทางที่ยาวเกินกว่า 1-2 กิโลเมตร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่า ใช้ สาย Fiber Optic แบบใด รวมทั้งยังขึ้นอยู่กับโปรโตคอลของเครือข่าย อย่างไรก็ดีการสูญเสียของ กาลังแสงในสาย มีหลายประการดังนี้ 1. ความสูญเสีย Power ของ Fiber Optic นั้นขึ้นอยู่กับ ความยาวคลื่นที่ใช้ ความยาวคลื่นยิ่งมาก อัตราการสูญเสีย ของ แสงจะน้อยลง เช่น การสูญเสียกาลังแสง บนความยาวคลื่น 1300 nm ได้แก่ <0.5 dB/กิโลเมตร 2. สาหรับ Silica Glass นั้น ความยาวคลื่นสั้นที่สุด จะมีอัตราการสูญเสียมากที่สุด 3. อัตราการสูญเสีย Power ที่น้อยที่สุด ได้แก่ ความยาวคลื่น 1550 nm 4. หน่วยวัดที่แสดงการสูญเสียของ Power ได้แก่ Decibel (dB) โดยมีหน่วยคิดเป็น dB ต่อกิโลเมตร 5. ค่านี้ ถูกนามาคานวณ โดยเอาความยาวทั้งหมดของสาย Fiber Optic คิดเป็น Km 6. การสูญเสียของ Fiber Optic สามารถมีสาเหตุหลายประการดังนี้ - Extrinsic - Bending Loss เนื่องจากการโค้งงอของสาย เกินค่ามาตรฐานที่ผู้ผลิตกาหนด - การสูญเสียอันเนื่องมาจากการ ทา Splice รวมทั้งการเข้าหัวสายที่ไม่สมบูรณ์ - การสูญเสียเนื่องจากรอยแตกหักเกิดขึ้นทีพื้นผิว ่ - การสูญเสียอันเนื่องจาก มุมแสงไม่เป็นไปตามคุณลักษณะจาเพาะของผู้ผลิต (Numeric Aperture Mismatch)
  • 9. คาถาม 1. ชื่อภาษาไทยของไฟเบอร์ออฟติกคืออะไร 2. Fiber optic มีกี่ปรเภท 3. ข้อดีของ fiber-optic คืออะไร 4. การนาเอา fiber-optic ไปใช้ใด้อย่างไร 5. Fiber-optic ทาขึ้นมาเพื่อแทนอะไร